SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 1




   Introduction to
 technologies and
educational media
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 2




เทคโนโลยี น วั ต กรรมและ
    สื ่ อ การศึ ก ษา
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 3



เทคโนโลยี น วั ต กรรมและ
สื ่ อ การศึ ก ษา                                   บทที ่
                                                     1
โครงร่ า งเนื ้ อ หาของบท                          คำ า สำ า คั ญ
  1. ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยี        • เทคโนโลยี
      การศึกษาและสื่อการศึกษา            • เทคโนโลยี
   2. ความเป็นมาและพัฒนาการของ             การศึกษา
      เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา           • นวัตกรรมการ
   3. บทบาทและความสำาคัญของ                ศึกษา
      เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
                                         • สื่อการศึกษา
วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย นรู ้         • การออกแบบ
    1 อธิบายความหมายของเทคโนโลยี
     .                                     การสอน
        เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม
        การศึกษาได้                      • ขอบข่ายของ
                                           เทคโนโลยี
    2. วิเคราะห์ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา   การศึกษา
        ได้
    3. เปรียบเทียบพัฒนาการของเทคโนโลยี
        การศึกษาได้
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้
    1. บรรยายเกี่ยวกับมโนทัศน์เชิงทฤษฎี
      หลักการ เรื่องความหมาย พัฒนาการ
      ขอบข่ายของเทคโนโลยีและสื่อการ
      ศึกษา
   2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3
      คน ศึกษาจากสิ่งแวดล้อมทางการ
      เรียนรู้บนเครือข่าย
      ht t p:/ / ednet .kku.ac.t h/ ~sumcha/ web
      -230301 โดยศึกษาสถานการณ์
                  /
      ปัญหาบทที่ 1วิเคราะห์ทำาความเข้าใจ
      ค้นหาคำาตอบจากเอกสารประกอบการ
      สอนและแหล่งเรียนรู้บนเครือข่าย ร่วม
      กันสรุปคำาตอบ แล้วนำาเสนอในรูปแบบ
      Power point
   3. นักศึกษาร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ
      แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้ง
      ประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 4


สถานการณ์ ป ั ญ หา (Problem-based learning)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จะทำาการจัดอบรมสัมมนาครูที่สอนใน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ ในหัวเรื่องเกี่ยวกับการนำา
เทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา คณะ
ศึกษาศาสตร์พิจารณาแล้วเห็นว่าท่านมี
ความเหมาะสมที่จะทำาหน้าที่เป็นผู้ช่วย
วิทยากรให้ความรู้ในงานสัมมนาดังกล่าว
ในหัวข้อความหมาย พัฒนาการและ
ขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และแนวโน้มใน
อนาคต ซึ่งท่านจะต้องคอยให้คำาแนะนำา
ตลอดจนช่วยเหลือครูอาจารย์ที่เข้าร่วม
อบรมภารกิจของผู้ช่วยวิทยากรต้องเตรียม
ความพร้อมให้กับตัวเองโดยการศึกษา
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการ
ศึกษา


ภารกิ จ ของผู ้ ช ่ ว ยวิ ท ยากร
       1. สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี
และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยี
ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
       2. จำาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการ
ศึกษาว่ามีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร
       3. Educational Technology และ Instructional
Technology มีความเหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร
       4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามา
ใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็น
รูปธรรมได้อย่างไร
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 5




ความหมาย
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีการ                       ความเป็ น มาและ
ศึกษา
  ความแตกต่าง                      พั ฒ นาการของ
ระหว่าง เทคโนโลยี                  เทคโนโลยี ก าร
การศึกษากับ
เทคโนโลยีในการ      สาระ           ศึ ก ษา
ศึกษา                               ความเป็นมาและ
ขอบข่ า ยของ       สำ า คั ญ       พัฒนาการของการ
                                   ออกแบบการสอน
เทคโนโลยี ก าร     ในบท             ความเป็นมาและ
ศึ ก ษา                            พัฒนาการของสื่อ
                                   การเรียนการสอน
การออกแบบ                           พื้นฐานของ
การพัฒนา                           คอมพิวเตอร์เพื่อ
การใช้                             การสอน
  การจัดการ                         เทคโนโลยีการ
  การประเมินผล
                                   สอนในปัจจุบัน
  ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาและสื ่ อ
 การศึ ก ษา

        ความเจริญก้าวทางด้านวิทยากรสมัยใหม่ในปัจจุบัน ล้วน
เป็นผลมาจากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง หรือการประดิษฐ์คิดค้น
สิ่งอำานวยความสะดวกทั้งในด้านการทำางาน การติดต่อสื่อสาร
และการดำาเนินชีวิตที่สะดวกสบาย รวดเร็ว ความก้าวหน้าดัง
กล่าวอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และประยุกต์มาใช้ในการ
พัฒนางานทางด้านต่างๆ ที่เรียกว่า “เทคโนโลยี” (Technology)




ความหมายของเทคโนโลยี
       “เทคโนโลยี” หมายถึง
การนำาแนวคิด หลักการ เทคนิค
วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน
ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์
ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุง
ระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น และมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อ
แก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เช่น การเกษตร การแพทย์
อุตสาหกรรม ธุรกิจ และความมั่นคงของประเทศ ต่างก็นำา
เทคโนโลยีมาใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาชีพของตน
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 6


อย่างเต็มที่ อันจะเอื้ออำานวยในด้านต่างๆ ดังนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ,
2551 )
       1. ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การ
ทำางานนั้นถูกต้องและรวดเร็ว มีปริมาณผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นภาย
ใต้ทรัพยากรที่ถูกใช้อย่างจำากัด
       2. ประสิ ท ธิ ผ ล (Effectiveness) เทคโนโลยีจะช่วยให้การ
ทำางานบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำาหนดไว้อย่างมีคุณภาพ
       3. ประหยั ด (Economy) จะช่วยประหยัดเวลา ทรัพยากร
และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทำาให้ราคาของผลิตผลนั้นถูกลง
       4. ปลอดภั ย (Safety) เป็นระบบการทำางานที่ส่งผลให้เกิด
ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
       ปัจจุบัน ได้มีการนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนางาน ใน
หลายวงการ เช่น วงการทหาร เรียกว่า เทคโนโลยีทางการทหาร
(Military Technology) นำามาใช้ในการพัฒนางานการผลิต
เครื่องมือและวิธีการต่างๆในทางการแพทย์ เรียกว่า เทคโนโลยี
ทางการแพทย์ (Medical Technology) ที่ใช้ในการผ่าตัดด้วยแสง
                             เลเซอร์ เทคโนโลยีทางการเกษตร
                             (Agricultural Technology) เช่น
                             การสร้างเครื่องมือสำาหรับเกี่ยวข้าว
                             ไถนา หรือนวดข้าว สิ่งเหล่านี้จะ
                             ช่วยให้การทำางานเป็นไปอย่าง
                             สะดวก รวดเร็ว ประหยัดทั้ง
                             แรงงานและค่าใช้จ่าย สำาหรับงาน
                             ด้านธุรกิจ ได้แก่ การนำา
                             คอมพิวเตอร์มาช่วยจัดระบบงาน
                             ต่างๆ เช่น การเบิกจ่ายเงินธุรกิจ
                             ธนาคาร อาทิ การฝากถอนเงินด้วย
บัตร ATM หรือการโอนเงินด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจน
ระบบการผลิตสินค้าในโรงงาน ฯลฯ จากประโยชน์นานัปการที่
ได้รับจากเทคโนโลยีที่มีต่อการพัฒนาด้านต่างๆดังกล่าวข้างต้น
เช่นเดียวกันทางด้านการศึกษาได้ตระหนักถึงความสำาคัญและ
ความจำาเป็นในการนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาระบบการ
ศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เรียกว่า เทคโนโลยี ก าร
ศึ ก ษา (Educational Technology) ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้นให้การ
ดำาเนินการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นหลักที่สำาคัญในการพัฒนา
ประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายของเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา
      คณะกรรมการกำาหนดศัพท์และความหมายของสมาคม
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาของสหรัฐอเมริกา (AECT, 1979)
อธิบายว่า “เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา ” (Educational Technology)
เป็นกระบวนการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับบุคคล
                                 กรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือ
                                 และองค์กร เพื่อนำาไปใช้ใน
                                 การวิเคราะห์ปัญหา สร้าง
                                 ประยุกต์ใช้ ประเมินผล และ
                                 จัดการแก้ปัญหาต่างๆ ดัง
                                 กล่าวที่เกี่ยวข้องกับการ
                                 เรียนรู้ของมนุษย์ในทุก
                                 ลักษณะ หรืออาจกล่าวได้ว่า
                                 “เทคโนโลยีการศึกษา” และ
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 7


ขั้นตอนการแก้ปัญหาต่างๆ รวมถึงแหล่งการเรียนรู้ที่ได้มีการ
ออกแบบ เลือก และนำามาใช้เพื่อใช้ เพื่อมุ่งสู่จุดมุ่งหมาย คือ การ
เรียนรู้ นั่นเอง
          จากความหมายของสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการ
ศึกษาของสหรัฐอเมริกา ดังกล่าวข้างต้น ได้มีการขยายแนวคิด
เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาเพราะการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมา
จากการเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากพื้นฐานทางท ฤ ษ ฎ ี ก า ร เ ร ี ย น
รู ้ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม น ิ ย ม (Behaviorism) มาสู่พ ุ ท ธ ิ ป ั ญ ญ า น ิ ย ม
(Cognitivism) และค อ น ส ต ร ั ค ต ิ ว ิ ส ต ์ (Constructivism) กอปรทั้ง
ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงได้มีการปรับเปลี่ยน
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให้เหมาะสมกับสภาพความ
เปลี่ยนแปลง (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ดังนี้
          เทคโน โ ล ยีก าร ศึกษ า หรือเท คโ น โ ล ยี กา ร ส อ น
(Instructional Technology) ห ม า ย ถ ึ ง ท ฤ ษ ฎ ี แ ล ะ ก า ร
ปฏิบัติเกี่ยวกับ การออก แ บบ การพัฒ น า การใช้ การ
จัดการ และก าร ป ร ะเ มิน ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ แ ห ล่ ง
เ ร ี ย น ร ู ้ ส ำ า ห ร ั บ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Seels, 1994)
          จากนิยามข้างต้นจะเห็นได้ว่า เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร ศ ึ ก ษ า
ไม่ได้มีขอบเขตของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบหรือ
ผลิตสื่อการสอนเท่านั้น แต่ยังมีขอบเขตที่กว้างขวางที่ครอบคลุม
ถึงการนำาเทคนิค วิธีการ ตลอดจนทั้งสิ่งประดิษฐ์มาใช้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ความหมาย ของนวัตกรรมการศึกษา
        “นวัตกรรมการศึกษา” คือ การทำา สิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะเป็น
ความคิดหรือการกระทำา หรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้น โดยอาศัยหลักการ
ทฤษฎี ที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อ ถือได้ เข้ามาใช้ในการ
ศึ ก ษ า เ พื่ อ เ พิ่ ม พู น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น

                             ล ัก ษ ณ ะ เ ด ่น ท ี่จ ัด ว ่า เ ป ็น
                        นวัตกรร มก าร ศึก ษา
                                       1. จะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมด
                                 หรือบางส่วนอาจใช้เป็นของเก่าที่ใช้
                                 ในอดีตแล้วนำามาปรับปรุงใหม่ให้ดียิ่ง
                                 ขึ้น
                                       2. มี ก าร ศึ ก ษา ทดลอง โดย
                                 อาศัยหลักการ ทฤษฎี มาใช้อย่างเป็น
                                 ระบบ
                                       3. มี การพิ สู จ น์ ด้ ว ยการทดลอง
หรือวิจัย
                                         4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบ
งาน
                          ในปัจจุบัน หากว่า สิ่งใหม่ นั้นได้มีการ
เผยแพร่จนเป็นสิ่งที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แล้วจะกลายเป็น
เทคโนโลยี
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 8




 ขอบข่ า ยของเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา

       มาตรฐานหรือขอบข่ายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาที่
นักการศึกษา หรือผู้ที่ทำางานด้านการศึกษาถือว่าเป็นสิ่งสำาคัญที่
จะต้องรู้จักและทำาความเข้าใจ เพราะจะช่วยให้เราสามารถ
กำาหนด สร้างสรรค์และระบุขอบข่ายงานด้านเทคโนโลยีการ
ศึกษา ซึ่ง International Society for technology in education
(ISTE) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักสำาคัญได้พัฒนาและกำาหนด
มาตรฐานที่สำาคัญสำาหรับครูและผู้เรียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีการ
ศึกษาว่าต้องรู้อะไรบ้าง ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุน
การศึกษาวิจัยจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เพื่อกำาหนดประเด็นต่างๆ
ด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สำาหรับประเทศ
สหรัฐอเมริกา โดยจะมีทั้งมาตรฐานสำาหรับครูว่าจะต้องมีทักษะ
ความรู้ และใช้เทคโนโลยีสนับสนุนผู้เรียนอย่างไร ตลอดจน
มาตรฐานของผู้เรียนที่จะต้องมีทักษะและความรู้ด้านเทคโนโลยี
อย่างไร เพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
       องค์กรทางวิชาชีพของนักเทคโนโลยีการศึกษาที่สำาคัญ
อีกองค์กร คือ Association for educational communication and
technology (AECT) ได้พัฒนามาตรฐานที่เป็นแนวทางสำาหรับครู
ด้านเทคโนโลยีการศึกษาทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่ง Barbara
และ Rita (1994 อ้างถึงในสุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ได้อธิบายนิยาม
ดังกล่าวของเทคโนโลยีการศึกษา คือ ทฤษฎีและการปฏิบัติใน
ขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบ การพัฒนา การใช้การ
จัดการ และประเมินผล ของกระบวนการและแหล่งการเรียน
สำาหรับการเรียนรู้ ดังจะเห็นความสัมพันธ์ของขอบข่ายทั้ง 5
ได้แก่ การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การใช้
(Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน
(Evaluation) ดังแสดงไว้ในภาพและมีรายละเอียดดังนี้
บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา   9




ภ า พ ท ี ่ 1-1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างขอบข่ายของเทคโนโลยี
              การศึกษา (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551)
   ต า ร า ง ท ี ่ 1.1 แสดงการเปรียบเทียบองค์ประกอบต่างๆใน
              ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 ขอบข่ายหลักและขอบ ข่ายย่อยของเท คโนโลยีการ
                   ศึกษ า
  การ     การ     การใช้      การ      การ
ออกแบบ   พัฒ น า            จัดการ    ประเมิน
                                        ผล
- การ       -            - การใช้     - การ        - การ
ออกแบบ      เทคโนโลยี    สื่อ         จัดการ       วิเคราะห์
ระบบการ     สิ่งพิมพ์    - การเผย     โครงการ      ปัญหา
สอน         -            แพร่         - การ        - การวัด
- การ       เทคโนโลยี    นวัตกรรม     จัดการ       ตามเกณฑ์
ออกแบบ      ด้านโสต      - การนำา     ทรัพยากร     - การ
สาร         ทัศน์        ไปใช้        - การ        ประเมิน
- กลยุทธ์   -            สำาหรับ      จัดการ       ระหว่าง
การสอน      เทคโนโลยี    ตนเองและ     ระบบ         กระบวนกา
-           คอมพิวเตอ    ในสถาน       ขนส่ง        ร
คุณลักษณ    ร์           ศึกษา        - การ        - การ
ะของผู้     -            - นโยบาย     จัดการ       ประเมิน
เรียน       เทคโนโลยี    และกฎ        สารสนเทศ     แบบองค์
บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา   10

บูรณาการ   ระเบียบ                   รวม
บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา     11


        ก า ร อ อ ก แ บ บ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึง
กรอบหรือโครงร่างที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและ
ทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ทีจะนำาไปสร้างและพัฒนางานทางด้าน
                           ่
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม เช่นเดียวกับที่
สถาปนิกสร้างพิมพ์เขียวของอาคาร การออกแบบมีการ
เปลี่ยนแปลงตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้เป็นสำาคัญจาก
พฤติกรรมนิยมมาเป็นพุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัติวิสต์ดังที่
พบเห็นในปัจจุบัน ในการออกแบบงานทางเทคโนโลยีการศึกษา
มี 4 ด้าน คือ การออกแบบระบบการสอน การออกแบบสาร
กลยุทธ์การสอน และคุณลักษณะของผู้เรียน
        การออกแบบระบบการสอน เป็นการกำาหนดระบบการสอน
ทั้งหมด รวมทั้งการจัดระเบียบของกระบวนการ ขั้นตอน ทีหลอม        ่
รวมทั้งขั้นการวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนำาไปใช้
และการประเมินการเรียนการสอน
        การออกแบบสาร เป็นการวางแผนสำาหรับจัดกระทำากับ
สารในทางกายภาพ ทีจะให้ผู้เรียนรับรู้ ใส่ใจ และเรียกสารกลับ
                             ่
มาใช้ได้เมื่อต้องการ
        กลยุทธ์การสอน เป็นการระบุการเลือก และลำาดับ
เหตุการณ์ ตลอดจนกิจกรรมการเรียนรู้สำาหรับบทเรียน
        คุณลักษณะของผู้เรียน เป็นสิ่งสำาคัญในการออกแบบที่
ต้องคำานึงถึงพื้นฐานประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ความแตกต่าง
ของผู้เรียน เช่น เพศ อายุ รูปแบบการเรียน ฯลฯ ซึ่งจะส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพในการออกแบบ
        ก า ร พ ั ฒ น า (Development) เป็นขอบข่ายของการสร้าง
ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆโดยนำาพื้นฐานที่ได้ออกมา
พัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ คือ เทคโนโลยีสิ่ง
พิมพ์ เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยีบูรณาการ
        เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่ง
เนื้อหาไปยังผู้เรียน เช่น หนังสือ และภาพนิ่งต่างๆ เป็นต้น ใน
การพัฒนาสื่อประเภทนี้จะต้องพิจารณาถึงคุณลักษณะของสื่อที่
เป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง และมีความคงที่ (Stability) ที่ผู้อ่าน
สามารถพลิกกลับไปกลับมาอ่านซำ้าได้ตลอดเวลาหากต้องการ
ทำาความเข้าใจเพิ่มเติม เป็นต้น หลักการทฤษฎีที่เกี่ยวกับการรับรู้
ทางการมองเห็น การอ่าน และกระบวนการประมวลสารสนเทศ
ของมนุษย์ซึ่งหมายถึงทฤษฎีการเรียนรู้
        เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เป็นแนวทางในการผลิตหรือ
ขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้เครื่องมือกลไกอิเล็กทรอนิกส์ใน
การนำาเสนอสารทั้งเสียงและภาพ เช่น วีดิทัศน์ โทรทัศน์
ภาพยนตร์ เป็นต้น ข้อดีของเทคโนโลยีด้านนี้คือการให้ความ
เป็นสภาพจริง บริบทในการเรียนรู้ แต่ยังมุ่งเน้นครูเป็นหลักใน
การถ่ายทอด
        เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นแนวทางในการผลิตหรือ
ขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นฐาน ที่มี
การนำาคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเรียนการ
สอน ซึ่งที่ผ่านมาอาศัยพื้นฐานทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมและการ
สอนแบบโปรแกรม แต่ในปัจจุบันนี้ได้เปลี่ยนมาใช้พื้นฐานทฤษฎี
การเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัคติวิสต์มากขึ้น
        เทคโนโลยีบูรณาการ เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่ง
เนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้คุณลักษณะของสื่อหลายชนิดภายใต้
การควบคุมโดยคอมพิวเตอร์
        ก า ร ใ ช ้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ
การนำาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องคำาถึง
ถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียนการ
สอน หรือระบบที่เกี่ยวข้อง การใช้นั้นเป็นการปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
กับกระบวนการใช้และทรัพยากรในการเรียนรู้ ซึ่งต้องการเกี่ยว
บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา                 12

กับระบบการใช้ นโยบาย กฎ ระเบียบ รวมทั้งการแพร่กระจาย
นวัตกรรมไปสู่การใช้ที่แพร่หลาย
       ก า ร จ ั ด ก า ร (Management) เป็นขอบข่ายหลักสำาคัญของ
สาขาเทคโนโลยีการศึกษา เพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับการบริหาร
จัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องนำาไปสนับสนุนในทุกๆขอบข่าย
ซึ่งจะต้องมีการจัดระเบียบและแนะนำา หรือการจัดการทรัพยากร
ทางการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการในด้านต่างๆคือ การ
จัดการโครงการ การจัดการทรัพยากร การจัดการระบบขนส่ง
และการจัดการสารสนเทศ
       ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น (Evaluation) ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้อง
กับการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation) ในการ
ประเมินนั้นจะมุ่งเน้นการประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์
เพื่อแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อที่
ออกแบบขึ้นมา
ข อ บ ข ่ า ย ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Process
and Resource)
        ก ร ะ บ ว น ก า ร ในที่นี้ หมายถึง ลำาดับของการปฏิบัติการ
หรือกิจกรรมที่มีผลโดยตรงต่อเทคโนโลยีการสอน ประกอบด้วย
ทั้งด้านการออกแบบ และกระบวนการส่งข้อมูลข่าวสาร ความรู้
กระบวนการ หมายถึง ลำาดับที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลป้อนเข้า (Input)
การกระทำา (Action) และผล ซึ่งการวิจัยในปัจจุบันจะมุ่งเน้น
ยุทธวิธีการสอนและความสัมพันธ์ของรูปแบบการเรียนรู้และสื่อ
ยุทธวิธีการสอน (Instruction strategies) เป็นวิธีการสำาหรับการ
เลือกและจัดลำาดับกิจกรรม ตัวอย่างของกระบวนการเป็นระบบ
การส่ง เช่น การประชุมทางไกล (Teleconferencing) รูปแบบการ
สอน เช่น การศึกษาอิสระ รูปแบบการสอน (Model of teaching)
ได้แก่ การสอนแบบอุปนัย (Inductive) และรูปแบบสำาหรับการ
พัฒนาการสอน ได้แก่ การออกแบบระบบการสอน
(Instructional systemdesign) กระบวนการ (Process) ส่วนใหญ่
จะเป็นลำาดับขั้นตอนแต่ไม่เสมอไป
        แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Resources) เป็นแหล่งที่จะสนับสนุน
การเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงสนับสนุนระบบ และวัสดุการสอน
ตลอดจนสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา หรือวิชา
เทคโนโลยีการสอน ได้พัฒนาและเจริญก้าวหน้ามาจากความ
สนใจเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอนและกระบวนการสื่อสาร แต่
แหล่งการเรียนรู้จะไม่ใช่เพียงเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ใน
กระบวนการเรียนรู้และการสอนเท่านั้น แต่ยังรวมถึง บุคคล งบ
ประมาณ สิ่งอำานวยความสะดวก ตลอดจนสิ่งที่ช่วยให้เกิดการ
เรียนรู้เป็นรายบุคคลได้
        ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Learning) วัตถุประสงค์ของเทคโนโลยีการ
สอนเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลและส่งผลต่อการเรียนรู้ โดยเพิ่ม
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้ และทำาให้เกิดความ
กระจ่างชัดในการเรียนรู้ เป็นวัตถุประสงค์ของการสอน ซึ่งจะ
หมายถึงการเรียนรู้นั่นเอง การเรียนรู้ เป็นสิ่งที่มีหลักฐานเชิง
ประจักษ์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่
เป็นเกณฑ์ในการสอนหรือในนิยามที่ว่า “การเรียนรู้ หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในด้านความรู้ของบุคคลหรือ
พฤติกรรม รวมถึงประสบการณ์ต่างๆ
ค ว า ม เ ป ็ น ม า แ ล ะ พ ั ฒ น า ก า ร ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร ศ ึ ก ษ า

       รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนานโดย
เริ่มจากสมัยกรีก กลุ่มโซฟิสต์ (Sophist) เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาว
กรีก ได้ออกทำาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ ได้รับการ
บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา   13

ยอมรับว่าเป็นผู้ที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้
แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยีการ
ศึกษากลุ่มแรก
       บุคคลที่สำาคัญอีกท่านหนึ่ง คือ โจฮัน อะมอส คอมินิอุส
(JohannesAmos Comeniusค.ศ. 1592-1670) เป็นผู้ที่ใช้วัสดุ
สิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพ เข้ามาช่วยในการสอนอย่าง
จริงจัง รวมทั้งแนวคิดในเรื่องวิธีการสอนใหม่ที่ให้ความสำาคัญ
ต่อการใช้วัสดุ ของจริงมาใช้ในการสอน ตลอดจนการรวบรวม
หลักการสอนจากประสบการณ์ที่ทำาการสอนมา 40 ปี นอกจากนี้
ได้แต่งหนังสือที่สำาคัญอีกมากมายและที่สำาคัญ คือ Obis
SensualiumPictus หรือที่เรียกว่า โลกในรูปภาพ ซึ่งเป็นหนังสือที่
มีภาพประกอบบทเรียนต่างๆ ผลงานของคอมินิอุส ได้มีอิทธิพล
ต่อการพัฒนาตลอดมา จนได้รับการขนานนามว่า เป็น “บิ ดาแห่ง
โสตทัศนศึกษา”
       ต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาซึ่ง
สามารถจำาแนกออกเป็นด้านต่างๆ ในที่นี้จะกล่าวเกี่ยวกับ
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ในส่วนประกอบหลักที่
สำาคัญ ได้แก่ ด้านการออกแบบการสอน ด้านสื่อการสอน และ
ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ความเป็นมาและพัฒนาก าร ของก าร ออก แบบก าร สอน
(Instructional Design Roots)
        การออกแบบการสอนได้รับความสนใจตั้งแต่ในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 2 อันเนื่องมาจากสาเหตุของความจำาเป็นใน
การฝึกอบรมบุคลากรในกองทัพ และได้รับความสนใจเพิ่มมาก
ขึ้นในช่วงปี 1950 – 1960 เป็นช่วงที่
สำาคัญของสาขาวิชาออกแบบการสอน
(Instructional design) และได้มีนักวิจัย
พัฒนาศาสตร์ทางด้านนี้อย่างต่อเนื่อง
โดยนำาฐานทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้
เข้ามาเป็นพื้นฐานในการออกแบบโดย
เริ่มจากทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม งาน
ที่โดดเด่นในช่วงนี้เช่น สกินเนอร์ ธ
อร์นไดค์ ซึ่งเป็นที่มาของวิธีระบบ
(Systematic approach) ในลักษณะการ
ออกแบบเชิงเส้น ที่เน้นลำาดับขั้นในการ
เรียนรู้ ต่อมาทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญา
นิยมได้รับความนิยมมากขึ้น โดย
เฉพาะ ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ได้
เข้ามามีบทบาทในช่วงนี้ก็จะเน้นการออกแบบที่เชื่อมโยงถึง
กระบวนการทางพุทธิปัญญาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถประมวล
ผลสารสนเทศที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้อย่างเป็นระบบในหน่วยความ
จำา (Memory) และสารมารถเรียกกลับมาใช้ได้โดยไม่ลืม และใน
ปัจจุบันทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) กำาลังได้รับ
ความสนใจจากนักการศึกษาอย่างกว้างขวาง แนวคิดพื้นฐาน
ของทฤษฎีนี้ คือ ความรู้ไม่สามารถส่งผ่านไปสู่ผู้เรียนได้ แต่ผู้
เรียนต้องสร้างความรู้ขึ้นด้วยตนเองในบริบทของสังคม การมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่เป็นสภาพจริง (Authentic) แม้ว่าการ
ออกแบบการสอนมีการเชื่อมโยงกับการรู้คิดในสมองมนุษย์ หรือ
จิตใจของมนุษย์ไปจนกระทั่งพื้นฐานจากพฤติกรรมนิยม แต่ภาย
ใต้กระแสงความปัจจุบันที่เปลี่ยนไปซึ่งทวีความซับซ้อนในเชิง
สังคม ตลอดจนความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
อิทธิพลของกระแสแห่งข้อมูลข่าวสารที่มีมากมาย เป็นผลให้งาน
ส่วนใหญ่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา (Instructional Technolo
gists)ในปัจจุบันมีการยอมรับแนวคิดของกลุ่มพุทธิปัญญา
นิยม(Cognitivism) และคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ดังที่
บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา    14

ปรากฏผลงานวิจัยในปัจจุบัน และเป็นส่วนหนึ่งที่สำาคัญของการ
พัฒนาของสาขาวิชา (Newby T.J. and Others, 2000)
ความเป็นมาและพัฒนาก าร ของสื่อการเรียนการสอน
(Instructional Media Roots)
         สื่อการสอน (Instructional media) และการออกแบบการ
สอน (Instructional design) ได้มีการพัฒนามาด้วยกันแต่ก็แยก
ตัวเป็นอิสระแต่ก็มีส่วนมาบรรจบกัน แม้ว่าการใช้ของจริง (Real
object) ภาพวาด (Drawing) และสื่ออื่นๆนับเป็นส่วนหนึ่งของการ
สอน อย่างน้อยที่สุดเป็นการนำามาซึ่งความเจริญก้าวหน้าทาง
ด้านประวัติศาสตร์ของการใช้สื่อการสอน เช่นเดียวกับการ
ออกแบบการสอน เป็นสิ่งที่ปรากฏชัดเจนในศตวรรษที่ 20
         จากผลของการใช้สื่อต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น ระหว่างช่วง
ทศวรรษที่ 1970 และ 1980 สาขาวิชานี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงและ
เติบโตมากขึ้น ดังนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อกลายเป็นผู้ที่มีความ
สำาคัญเพิ่มมากขึ้นในชุมชนโรงเรียน สื่อที่มีรูปแบบใหม่ๆได้รับ
ความสนใจเพิ่มมากขึ้น และความเคลื่อนไหวต่าง ๆ นำามาสู่การ
เปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางด้านโสตทัศนศึกษา การศึกษาทางด้าน
สื่อซึ่งเริ่มประมาณปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 และดำาเนินการต่อ
เนื่องมา สื่อกลายเป็นสิ่งที่ถูกมองว่าไม่สามารถเป็นส่วนที่แยกตัว
ออกมาอย่างโดดเดี่ยวได้ แต่ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
ทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งกว้างขวางกว่าแนวคิดเดิม เช่น
เดียวกับการออกแบบการสอนที่พัฒนาไปเป็นส่วนหนึ่งของการ
ศึกษาในสาขาวิชา และศาสตร์ทางด้านสื่อได้เติบโตพร้อมทั้งมี
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน (Instructional
design) และการสื่อสาร (Communication)
ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร ์ เ พ ื ่ อ ก า ร ส อ น (Instructional Computing
Roots)
       คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับนวัตกรรมการ
ศึกษา(Innovations)ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคแรกจะนำาอิเลค
ทรอนิกส์ดิจิตอลมาใช้ในการสร้าง จากการที่มีการใช้
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกันอย่างกว้างขวางและสมรรถนะของ
คอมพิวเตอร์ที่เพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มปริมาณของซอร์ฟแวร์และ
สามารถจัดหาได้ง่าย โปรแกรม CAI ในรายวิชาต่างๆปรากฏ
มากมาย และซอร์ฟแวร์ ที่มี
คุณภาพเป็นประเด็นที่มีความ
สำาคัญเกี่ยวกับการใช้
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ผลิตผล
ที่นำามาใช้ เช่น เวิร์ด
โปรเซสเซอร์ อิเล็กโทรนิกส์สเปร
ดชีทและการจัดการของ Data
Base ได้รับการพัฒนาและนำามา
ใช้และได้รับความสนใจเพิ่มมาก
ขึ้นในการใช้อย่างมี
ประสิทธิภาพและในช่วงปลาย
ทศวรรษ 1980 ผู้เชี่ยวชาญทาง
ด้านคอมพิวเตอร์การเรียนการสอนได้ล้มเลิกแนวความคิดเกี่ยว
กับการเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์ และแยกมาจัดตั้งเป็นสาขา
ทางการศึกษาใหม่โดยนำาแนวคิดการบูรณาการลงในหลักสูตร
รวมถึงการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในบริบทของ
เนื้อหาวิชา
บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา            15


บ ท บ า ท แ ล ะ ค ว า ม ส ำา ค ั ญ ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ย ี แ ล ะ ส ื ่ อ ก า ร
ศึกษ า

       เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาเป็นสิ่งที่บุคลากรทางการ
ศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูจำาเป็นจะต้องใช้เพื่อการสอนและ
สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน (Le arning p rocess) ดัง
นั้นครูจำาเป็นต้องมีความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการศึกษาในโรงเรียน ตังแต่การออกแบบ การ
                                    ้
พัฒนา การใช้ การจัดการและการประเมิน ภายใต้กระแสความ
เปลี่ยนแปลงทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะก้าวไปอย่างไม่มี
วันหยุด ส่งผลให้วิถีชีวิตจะต้องใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นเพื่อสร้าง
ประโยชน์และสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง การทำาความ
เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา จะต้องเริ่มที่การ
เข้าใจถึงบทบาทที่สำาคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้ นั่นก็
หมายความว่าจะต้องเข้าใจผู้เรียนหรือวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน
(Peopl how to le arn ) ประกอบด้วย การสื่อสารหรือสื่อความ
       e
หมาย และที่สำาคัญคือการทำาความเข้าใจทฤษฎีการเรียนรู้
(Le arning theories)
คำาถ า ม ส ะ ท ้ อ น ค ว า ม ค ิ ด

     ท่านคิดว่าพัฒนาการของสื่อและ
      เทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทยมี
      ความเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
     ท่านคิดว่าสื่อและเทคโนโลยีการศึกษามี
      บทบาทสำาคัญในการจัดการศึกษาของไทยอย่างไรบ้าง
     ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษามีความสำาคัญอย่างไร
      บ้าง

กิ จ ก ร ร ม เ ส น อ แ น ะ

ให้ท่านลองวิเคราะห์สถานการณ์การใช้สื่อและ
เทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทยว่ามีปัญหา
อย่างไรบ้าง โดยเฉพาะในสาระการเรียนรู้วิชา
เอกของท่าน
บร ร ณ า น ุ ก ร ม

สุ ม าลี ชั ย เจริ ญ (2551).เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร ศ ึ ก ษ า :ห ล ั ก ก า ร
        ท ฤ ษ ฎ ี ส ู ่ ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ .ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
Association for Educational Commutations and Technology.
        (1979).The definition of educational technology .
        Washington, D.C. : AECT
Barbara, S.B., Rc.(1994). Instructional technology : The
Field . Washington DC :
        Association for Educational Communications and
        Technology. Frederick G. Knirk.
บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 16


Carter v. Good, Winnifred R.Merkel and Phi Delta
       Kappa(1973). Dictionary of education / prepared
       under the auspices of phi delta Kappa. 3rd ed. New
       York: Mcgraw-Hill.
Dale, Edgar. (1969). Audiovisual methods in teaching.
3rded. New York: Dryden Pr.
Kent L. Gustafson (1986). Technology : a systematic
       approach to education . New York : Holt , Rinehart .
Knirk, F.G. , Gustafson, K.L. (1986). Instructional
       technology: A systematic approach to education. FT.
       Worth , TX : Holt , Rinehart Winston.
Newby T.J. and Others. (2000). Instructional technology
       for Teaching and Learning. Upper Saddle River, NJ :
       Merrill Prentice Hall.
Richey , R.C. (1986). The theoretical and conceptual
       bases of instructional design. London : Kogan Page.

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนWiparat Khangate
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารpataravadee1
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาMarkker Promma
 
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศInam Chatsanova
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationChangnoi Etc
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดงmicnattawat
 

What's hot (18)

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
chapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovationchapter1 Educational innovation
chapter1 Educational innovation
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
 

Similar to บทที่ 1

"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)siri123001
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieKanatip Sriwarom
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 

Similar to บทที่ 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยี นวัตกรรมและการสื่อสาร
 

More from Rathapon Silachan (20)

บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไข
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Story board
Story boardStory board
Story board
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

บทที่ 1

  • 1. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 1 Introduction to technologies and educational media
  • 2. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 2 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและ สื ่ อ การศึ ก ษา
  • 3. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 3 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและ สื ่ อ การศึ ก ษา บทที ่ 1 โครงร่ า งเนื ้ อ หาของบท คำ า สำ า คั ญ 1. ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยี • เทคโนโลยี การศึกษาและสื่อการศึกษา • เทคโนโลยี 2. ความเป็นมาและพัฒนาการของ การศึกษา เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา • นวัตกรรมการ 3. บทบาทและความสำาคัญของ ศึกษา เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา • สื่อการศึกษา วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ • การออกแบบ 1 อธิบายความหมายของเทคโนโลยี . การสอน เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม การศึกษาได้ • ขอบข่ายของ เทคโนโลยี 2. วิเคราะห์ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา การศึกษา ได้ 3. เปรียบเทียบพัฒนาการของเทคโนโลยี การศึกษาได้ กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ 1. บรรยายเกี่ยวกับมโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ เรื่องความหมาย พัฒนาการ ขอบข่ายของเทคโนโลยีและสื่อการ ศึกษา 2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจากสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้บนเครือข่าย ht t p:/ / ednet .kku.ac.t h/ ~sumcha/ web -230301 โดยศึกษาสถานการณ์ / ปัญหาบทที่ 1วิเคราะห์ทำาความเข้าใจ ค้นหาคำาตอบจากเอกสารประกอบการ สอนและแหล่งเรียนรู้บนเครือข่าย ร่วม กันสรุปคำาตอบ แล้วนำาเสนอในรูปแบบ Power point 3. นักศึกษาร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้ง ประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม
  • 4. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 4 สถานการณ์ ป ั ญ หา (Problem-based learning) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จะทำาการจัดอบรมสัมมนาครูที่สอนใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ในหัวเรื่องเกี่ยวกับการนำา เทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์พิจารณาแล้วเห็นว่าท่านมี ความเหมาะสมที่จะทำาหน้าที่เป็นผู้ช่วย วิทยากรให้ความรู้ในงานสัมมนาดังกล่าว ในหัวข้อความหมาย พัฒนาการและ ขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และแนวโน้มใน อนาคต ซึ่งท่านจะต้องคอยให้คำาแนะนำา ตลอดจนช่วยเหลือครูอาจารย์ที่เข้าร่วม อบรมภารกิจของผู้ช่วยวิทยากรต้องเตรียม ความพร้อมให้กับตัวเองโดยการศึกษา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการ ศึกษา ภารกิ จ ของผู ้ ช ่ ว ยวิ ท ยากร 1. สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยี ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ 2. จำาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการ ศึกษาว่ามีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร 3. Educational Technology และ Instructional Technology มีความเหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างไร 4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามา ใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็น รูปธรรมได้อย่างไร
  • 5. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 5 ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยีการ ความเป็ น มาและ ศึกษา ความแตกต่าง พั ฒ นาการของ ระหว่าง เทคโนโลยี เทคโนโลยี ก าร การศึกษากับ เทคโนโลยีในการ สาระ ศึ ก ษา ศึกษา ความเป็นมาและ ขอบข่ า ยของ สำ า คั ญ พัฒนาการของการ ออกแบบการสอน เทคโนโลยี ก าร ในบท ความเป็นมาและ ศึ ก ษา พัฒนาการของสื่อ การเรียนการสอน การออกแบบ พื้นฐานของ การพัฒนา คอมพิวเตอร์เพื่อ การใช้ การสอน การจัดการ เทคโนโลยีการ การประเมินผล สอนในปัจจุบัน  ความหมาย เทคโนโลยี เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาและสื ่ อ การศึ ก ษา ความเจริญก้าวทางด้านวิทยากรสมัยใหม่ในปัจจุบัน ล้วน เป็นผลมาจากการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง หรือการประดิษฐ์คิดค้น สิ่งอำานวยความสะดวกทั้งในด้านการทำางาน การติดต่อสื่อสาร และการดำาเนินชีวิตที่สะดวกสบาย รวดเร็ว ความก้าวหน้าดัง กล่าวอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และประยุกต์มาใช้ในการ พัฒนางานทางด้านต่างๆ ที่เรียกว่า “เทคโนโลยี” (Technology) ความหมายของเทคโนโลยี “เทคโนโลยี” หมายถึง การนำาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจน ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุง ระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น และมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อ แก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เช่น การเกษตร การแพทย์ อุตสาหกรรม ธุรกิจ และความมั่นคงของประเทศ ต่างก็นำา เทคโนโลยีมาใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาชีพของตน
  • 6. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 6 อย่างเต็มที่ อันจะเอื้ออำานวยในด้านต่างๆ ดังนี้ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551 ) 1. ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) เทคโนโลยีจะช่วยให้การ ทำางานนั้นถูกต้องและรวดเร็ว มีปริมาณผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นภาย ใต้ทรัพยากรที่ถูกใช้อย่างจำากัด 2. ประสิ ท ธิ ผ ล (Effectiveness) เทคโนโลยีจะช่วยให้การ ทำางานบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำาหนดไว้อย่างมีคุณภาพ 3. ประหยั ด (Economy) จะช่วยประหยัดเวลา ทรัพยากร และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทำาให้ราคาของผลิตผลนั้นถูกลง 4. ปลอดภั ย (Safety) เป็นระบบการทำางานที่ส่งผลให้เกิด ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น ปัจจุบัน ได้มีการนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนางาน ใน หลายวงการ เช่น วงการทหาร เรียกว่า เทคโนโลยีทางการทหาร (Military Technology) นำามาใช้ในการพัฒนางานการผลิต เครื่องมือและวิธีการต่างๆในทางการแพทย์ เรียกว่า เทคโนโลยี ทางการแพทย์ (Medical Technology) ที่ใช้ในการผ่าตัดด้วยแสง เลเซอร์ เทคโนโลยีทางการเกษตร (Agricultural Technology) เช่น การสร้างเครื่องมือสำาหรับเกี่ยวข้าว ไถนา หรือนวดข้าว สิ่งเหล่านี้จะ ช่วยให้การทำางานเป็นไปอย่าง สะดวก รวดเร็ว ประหยัดทั้ง แรงงานและค่าใช้จ่าย สำาหรับงาน ด้านธุรกิจ ได้แก่ การนำา คอมพิวเตอร์มาช่วยจัดระบบงาน ต่างๆ เช่น การเบิกจ่ายเงินธุรกิจ ธนาคาร อาทิ การฝากถอนเงินด้วย บัตร ATM หรือการโอนเงินด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจน ระบบการผลิตสินค้าในโรงงาน ฯลฯ จากประโยชน์นานัปการที่ ได้รับจากเทคโนโลยีที่มีต่อการพัฒนาด้านต่างๆดังกล่าวข้างต้น เช่นเดียวกันทางด้านการศึกษาได้ตระหนักถึงความสำาคัญและ ความจำาเป็นในการนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาระบบการ ศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เรียกว่า เทคโนโลยี ก าร ศึ ก ษา (Educational Technology) ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้นให้การ ดำาเนินการจัดการศึกษา ซึ่งเป็นหลักที่สำาคัญในการพัฒนา ประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ความหมายของเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา คณะกรรมการกำาหนดศัพท์และความหมายของสมาคม เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาของสหรัฐอเมริกา (AECT, 1979) อธิบายว่า “เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา ” (Educational Technology) เป็นกระบวนการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับบุคคล กรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือ และองค์กร เพื่อนำาไปใช้ใน การวิเคราะห์ปัญหา สร้าง ประยุกต์ใช้ ประเมินผล และ จัดการแก้ปัญหาต่างๆ ดัง กล่าวที่เกี่ยวข้องกับการ เรียนรู้ของมนุษย์ในทุก ลักษณะ หรืออาจกล่าวได้ว่า “เทคโนโลยีการศึกษา” และ
  • 7. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 7 ขั้นตอนการแก้ปัญหาต่างๆ รวมถึงแหล่งการเรียนรู้ที่ได้มีการ ออกแบบ เลือก และนำามาใช้เพื่อใช้ เพื่อมุ่งสู่จุดมุ่งหมาย คือ การ เรียนรู้ นั่นเอง จากความหมายของสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษาของสหรัฐอเมริกา ดังกล่าวข้างต้น ได้มีการขยายแนวคิด เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาเพราะการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมา จากการเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากพื้นฐานทางท ฤ ษ ฎ ี ก า ร เ ร ี ย น รู ้ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม น ิ ย ม (Behaviorism) มาสู่พ ุ ท ธ ิ ป ั ญ ญ า น ิ ย ม (Cognitivism) และค อ น ส ต ร ั ค ต ิ ว ิ ส ต ์ (Constructivism) กอปรทั้ง ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงได้มีการปรับเปลี่ยน ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให้เหมาะสมกับสภาพความ เปลี่ยนแปลง (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ดังนี้ เทคโน โ ล ยีก าร ศึกษ า หรือเท คโ น โ ล ยี กา ร ส อ น (Instructional Technology) ห ม า ย ถ ึ ง ท ฤ ษ ฎ ี แ ล ะ ก า ร ปฏิบัติเกี่ยวกับ การออก แ บบ การพัฒ น า การใช้ การ จัดการ และก าร ป ร ะเ มิน ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ แ ห ล่ ง เ ร ี ย น ร ู ้ ส ำ า ห ร ั บ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Seels, 1994) จากนิยามข้างต้นจะเห็นได้ว่า เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร ศ ึ ก ษ า ไม่ได้มีขอบเขตของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบหรือ ผลิตสื่อการสอนเท่านั้น แต่ยังมีขอบเขตที่กว้างขวางที่ครอบคลุม ถึงการนำาเทคนิค วิธีการ ตลอดจนทั้งสิ่งประดิษฐ์มาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ความหมาย ของนวัตกรรมการศึกษา “นวัตกรรมการศึกษา” คือ การทำา สิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะเป็น ความคิดหรือการกระทำา หรือสิ่งประดิษฐ์ขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อ ถือได้ เข้ามาใช้ในการ ศึ ก ษ า เ พื่ อ เ พิ่ ม พู น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ล ัก ษ ณ ะ เ ด ่น ท ี่จ ัด ว ่า เ ป ็น นวัตกรร มก าร ศึก ษา 1. จะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมด หรือบางส่วนอาจใช้เป็นของเก่าที่ใช้ ในอดีตแล้วนำามาปรับปรุงใหม่ให้ดียิ่ง ขึ้น 2. มี ก าร ศึ ก ษา ทดลอง โดย อาศัยหลักการ ทฤษฎี มาใช้อย่างเป็น ระบบ 3. มี การพิ สู จ น์ ด้ ว ยการทดลอง หรือวิจัย 4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบ งาน ในปัจจุบัน หากว่า สิ่งใหม่ นั้นได้มีการ เผยแพร่จนเป็นสิ่งที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แล้วจะกลายเป็น เทคโนโลยี
  • 8. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 8  ขอบข่ า ยของเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา มาตรฐานหรือขอบข่ายเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษาที่ นักการศึกษา หรือผู้ที่ทำางานด้านการศึกษาถือว่าเป็นสิ่งสำาคัญที่ จะต้องรู้จักและทำาความเข้าใจ เพราะจะช่วยให้เราสามารถ กำาหนด สร้างสรรค์และระบุขอบข่ายงานด้านเทคโนโลยีการ ศึกษา ซึ่ง International Society for technology in education (ISTE) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักสำาคัญได้พัฒนาและกำาหนด มาตรฐานที่สำาคัญสำาหรับครูและผู้เรียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีการ ศึกษาว่าต้องรู้อะไรบ้าง ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุน การศึกษาวิจัยจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เพื่อกำาหนดประเด็นต่างๆ ด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนรู้สำาหรับประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยจะมีทั้งมาตรฐานสำาหรับครูว่าจะต้องมีทักษะ ความรู้ และใช้เทคโนโลยีสนับสนุนผู้เรียนอย่างไร ตลอดจน มาตรฐานของผู้เรียนที่จะต้องมีทักษะและความรู้ด้านเทคโนโลยี อย่างไร เพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก องค์กรทางวิชาชีพของนักเทคโนโลยีการศึกษาที่สำาคัญ อีกองค์กร คือ Association for educational communication and technology (AECT) ได้พัฒนามาตรฐานที่เป็นแนวทางสำาหรับครู ด้านเทคโนโลยีการศึกษาทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่ง Barbara และ Rita (1994 อ้างถึงในสุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ได้อธิบายนิยาม ดังกล่าวของเทคโนโลยีการศึกษา คือ ทฤษฎีและการปฏิบัติใน ขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบ การพัฒนา การใช้การ จัดการ และประเมินผล ของกระบวนการและแหล่งการเรียน สำาหรับการเรียนรู้ ดังจะเห็นความสัมพันธ์ของขอบข่ายทั้ง 5 ได้แก่ การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การใช้ (Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน (Evaluation) ดังแสดงไว้ในภาพและมีรายละเอียดดังนี้
  • 9. บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา 9 ภ า พ ท ี ่ 1-1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างขอบข่ายของเทคโนโลยี การศึกษา (สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) ต า ร า ง ท ี ่ 1.1 แสดงการเปรียบเทียบองค์ประกอบต่างๆใน ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา ขอบข่ายหลักและขอบ ข่ายย่อยของเท คโนโลยีการ ศึกษ า การ การ การใช้ การ การ ออกแบบ พัฒ น า จัดการ ประเมิน ผล - การ - - การใช้ - การ - การ ออกแบบ เทคโนโลยี สื่อ จัดการ วิเคราะห์ ระบบการ สิ่งพิมพ์ - การเผย โครงการ ปัญหา สอน - แพร่ - การ - การวัด - การ เทคโนโลยี นวัตกรรม จัดการ ตามเกณฑ์ ออกแบบ ด้านโสต - การนำา ทรัพยากร - การ สาร ทัศน์ ไปใช้ - การ ประเมิน - กลยุทธ์ - สำาหรับ จัดการ ระหว่าง การสอน เทคโนโลยี ตนเองและ ระบบ กระบวนกา - คอมพิวเตอ ในสถาน ขนส่ง ร คุณลักษณ ร์ ศึกษา - การ - การ ะของผู้ - - นโยบาย จัดการ ประเมิน เรียน เทคโนโลยี และกฎ สารสนเทศ แบบองค์
  • 10. บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา 10 บูรณาการ ระเบียบ รวม
  • 11. บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา 11 ก า ร อ อ ก แ บ บ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึง กรอบหรือโครงร่างที่แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและ ทฤษฎีพื้นฐานต่างๆ ทีจะนำาไปสร้างและพัฒนางานทางด้าน ่ เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม เช่นเดียวกับที่ สถาปนิกสร้างพิมพ์เขียวของอาคาร การออกแบบมีการ เปลี่ยนแปลงตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้เป็นสำาคัญจาก พฤติกรรมนิยมมาเป็นพุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัติวิสต์ดังที่ พบเห็นในปัจจุบัน ในการออกแบบงานทางเทคโนโลยีการศึกษา มี 4 ด้าน คือ การออกแบบระบบการสอน การออกแบบสาร กลยุทธ์การสอน และคุณลักษณะของผู้เรียน การออกแบบระบบการสอน เป็นการกำาหนดระบบการสอน ทั้งหมด รวมทั้งการจัดระเบียบของกระบวนการ ขั้นตอน ทีหลอม ่ รวมทั้งขั้นการวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนำาไปใช้ และการประเมินการเรียนการสอน การออกแบบสาร เป็นการวางแผนสำาหรับจัดกระทำากับ สารในทางกายภาพ ทีจะให้ผู้เรียนรับรู้ ใส่ใจ และเรียกสารกลับ ่ มาใช้ได้เมื่อต้องการ กลยุทธ์การสอน เป็นการระบุการเลือก และลำาดับ เหตุการณ์ ตลอดจนกิจกรรมการเรียนรู้สำาหรับบทเรียน คุณลักษณะของผู้เรียน เป็นสิ่งสำาคัญในการออกแบบที่ ต้องคำานึงถึงพื้นฐานประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ความแตกต่าง ของผู้เรียน เช่น เพศ อายุ รูปแบบการเรียน ฯลฯ ซึ่งจะส่งผลต่อ ประสิทธิภาพในการออกแบบ ก า ร พ ั ฒ น า (Development) เป็นขอบข่ายของการสร้าง ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆโดยนำาพื้นฐานที่ได้ออกมา พัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ คือ เทคโนโลยีสิ่ง พิมพ์ เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีบูรณาการ เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่ง เนื้อหาไปยังผู้เรียน เช่น หนังสือ และภาพนิ่งต่างๆ เป็นต้น ใน การพัฒนาสื่อประเภทนี้จะต้องพิจารณาถึงคุณลักษณะของสื่อที่ เป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง และมีความคงที่ (Stability) ที่ผู้อ่าน สามารถพลิกกลับไปกลับมาอ่านซำ้าได้ตลอดเวลาหากต้องการ ทำาความเข้าใจเพิ่มเติม เป็นต้น หลักการทฤษฎีที่เกี่ยวกับการรับรู้ ทางการมองเห็น การอ่าน และกระบวนการประมวลสารสนเทศ ของมนุษย์ซึ่งหมายถึงทฤษฎีการเรียนรู้ เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ เป็นแนวทางในการผลิตหรือ ขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้เครื่องมือกลไกอิเล็กทรอนิกส์ใน การนำาเสนอสารทั้งเสียงและภาพ เช่น วีดิทัศน์ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น ข้อดีของเทคโนโลยีด้านนี้คือการให้ความ เป็นสภาพจริง บริบทในการเรียนรู้ แต่ยังมุ่งเน้นครูเป็นหลักใน การถ่ายทอด เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นแนวทางในการผลิตหรือ ขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นฐาน ที่มี การนำาคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเรียนการ สอน ซึ่งที่ผ่านมาอาศัยพื้นฐานทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมและการ สอนแบบโปรแกรม แต่ในปัจจุบันนี้ได้เปลี่ยนมาใช้พื้นฐานทฤษฎี การเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมและคอนสตรัคติวิสต์มากขึ้น เทคโนโลยีบูรณาการ เป็นแนวทางในการผลิตหรือขนส่ง เนื้อหาไปยังผู้เรียนโดยใช้คุณลักษณะของสื่อหลายชนิดภายใต้ การควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ ก า ร ใ ช ้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ การนำาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องคำาถึง ถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียนการ สอน หรือระบบที่เกี่ยวข้อง การใช้นั้นเป็นการปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการใช้และทรัพยากรในการเรียนรู้ ซึ่งต้องการเกี่ยว
  • 12. บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา 12 กับระบบการใช้ นโยบาย กฎ ระเบียบ รวมทั้งการแพร่กระจาย นวัตกรรมไปสู่การใช้ที่แพร่หลาย ก า ร จ ั ด ก า ร (Management) เป็นขอบข่ายหลักสำาคัญของ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา เพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องนำาไปสนับสนุนในทุกๆขอบข่าย ซึ่งจะต้องมีการจัดระเบียบและแนะนำา หรือการจัดการทรัพยากร ทางการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการในด้านต่างๆคือ การ จัดการโครงการ การจัดการทรัพยากร การจัดการระบบขนส่ง และการจัดการสารสนเทศ ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น (Evaluation) ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้อง กับการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation) ในการ ประเมินนั้นจะมุ่งเน้นการประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์ เพื่อแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อที่ ออกแบบขึ้นมา ข อ บ ข ่ า ย ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Process and Resource) ก ร ะ บ ว น ก า ร ในที่นี้ หมายถึง ลำาดับของการปฏิบัติการ หรือกิจกรรมที่มีผลโดยตรงต่อเทคโนโลยีการสอน ประกอบด้วย ทั้งด้านการออกแบบ และกระบวนการส่งข้อมูลข่าวสาร ความรู้ กระบวนการ หมายถึง ลำาดับที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลป้อนเข้า (Input) การกระทำา (Action) และผล ซึ่งการวิจัยในปัจจุบันจะมุ่งเน้น ยุทธวิธีการสอนและความสัมพันธ์ของรูปแบบการเรียนรู้และสื่อ ยุทธวิธีการสอน (Instruction strategies) เป็นวิธีการสำาหรับการ เลือกและจัดลำาดับกิจกรรม ตัวอย่างของกระบวนการเป็นระบบ การส่ง เช่น การประชุมทางไกล (Teleconferencing) รูปแบบการ สอน เช่น การศึกษาอิสระ รูปแบบการสอน (Model of teaching) ได้แก่ การสอนแบบอุปนัย (Inductive) และรูปแบบสำาหรับการ พัฒนาการสอน ได้แก่ การออกแบบระบบการสอน (Instructional systemdesign) กระบวนการ (Process) ส่วนใหญ่ จะเป็นลำาดับขั้นตอนแต่ไม่เสมอไป แ ห ล ่ ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Resources) เป็นแหล่งที่จะสนับสนุน การเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงสนับสนุนระบบ และวัสดุการสอน ตลอดจนสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา หรือวิชา เทคโนโลยีการสอน ได้พัฒนาและเจริญก้าวหน้ามาจากความ สนใจเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอนและกระบวนการสื่อสาร แต่ แหล่งการเรียนรู้จะไม่ใช่เพียงเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุที่ใช้ใน กระบวนการเรียนรู้และการสอนเท่านั้น แต่ยังรวมถึง บุคคล งบ ประมาณ สิ่งอำานวยความสะดวก ตลอดจนสิ่งที่ช่วยให้เกิดการ เรียนรู้เป็นรายบุคคลได้ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ (Learning) วัตถุประสงค์ของเทคโนโลยีการ สอนเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลและส่งผลต่อการเรียนรู้ โดยเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้ และทำาให้เกิดความ กระจ่างชัดในการเรียนรู้ เป็นวัตถุประสงค์ของการสอน ซึ่งจะ หมายถึงการเรียนรู้นั่นเอง การเรียนรู้ เป็นสิ่งที่มีหลักฐานเชิง ประจักษ์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่ เป็นเกณฑ์ในการสอนหรือในนิยามที่ว่า “การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในด้านความรู้ของบุคคลหรือ พฤติกรรม รวมถึงประสบการณ์ต่างๆ ค ว า ม เ ป ็ น ม า แ ล ะ พ ั ฒ น า ก า ร ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร ศ ึ ก ษ า รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนานโดย เริ่มจากสมัยกรีก กลุ่มโซฟิสต์ (Sophist) เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาว กรีก ได้ออกทำาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ ได้รับการ
  • 13. บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา 13 ยอมรับว่าเป็นผู้ที่มีความฉลาดปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้ แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่า เป็นนักเทคโนโลยีการ ศึกษากลุ่มแรก บุคคลที่สำาคัญอีกท่านหนึ่ง คือ โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (JohannesAmos Comeniusค.ศ. 1592-1670) เป็นผู้ที่ใช้วัสดุ สิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพ เข้ามาช่วยในการสอนอย่าง จริงจัง รวมทั้งแนวคิดในเรื่องวิธีการสอนใหม่ที่ให้ความสำาคัญ ต่อการใช้วัสดุ ของจริงมาใช้ในการสอน ตลอดจนการรวบรวม หลักการสอนจากประสบการณ์ที่ทำาการสอนมา 40 ปี นอกจากนี้ ได้แต่งหนังสือที่สำาคัญอีกมากมายและที่สำาคัญ คือ Obis SensualiumPictus หรือที่เรียกว่า โลกในรูปภาพ ซึ่งเป็นหนังสือที่ มีภาพประกอบบทเรียนต่างๆ ผลงานของคอมินิอุส ได้มีอิทธิพล ต่อการพัฒนาตลอดมา จนได้รับการขนานนามว่า เป็น “บิ ดาแห่ง โสตทัศนศึกษา” ต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาซึ่ง สามารถจำาแนกออกเป็นด้านต่างๆ ในที่นี้จะกล่าวเกี่ยวกับ พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา ในส่วนประกอบหลักที่ สำาคัญ ได้แก่ ด้านการออกแบบการสอน ด้านสื่อการสอน และ ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ความเป็นมาและพัฒนาก าร ของก าร ออก แบบก าร สอน (Instructional Design Roots) การออกแบบการสอนได้รับความสนใจตั้งแต่ในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 อันเนื่องมาจากสาเหตุของความจำาเป็นใน การฝึกอบรมบุคลากรในกองทัพ และได้รับความสนใจเพิ่มมาก ขึ้นในช่วงปี 1950 – 1960 เป็นช่วงที่ สำาคัญของสาขาวิชาออกแบบการสอน (Instructional design) และได้มีนักวิจัย พัฒนาศาสตร์ทางด้านนี้อย่างต่อเนื่อง โดยนำาฐานทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้ เข้ามาเป็นพื้นฐานในการออกแบบโดย เริ่มจากทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม งาน ที่โดดเด่นในช่วงนี้เช่น สกินเนอร์ ธ อร์นไดค์ ซึ่งเป็นที่มาของวิธีระบบ (Systematic approach) ในลักษณะการ ออกแบบเชิงเส้น ที่เน้นลำาดับขั้นในการ เรียนรู้ ต่อมาทฤษฎีในกลุ่มพุทธิปัญญา นิยมได้รับความนิยมมากขึ้น โดย เฉพาะ ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ได้ เข้ามามีบทบาทในช่วงนี้ก็จะเน้นการออกแบบที่เชื่อมโยงถึง กระบวนการทางพุทธิปัญญาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถประมวล ผลสารสนเทศที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้อย่างเป็นระบบในหน่วยความ จำา (Memory) และสารมารถเรียกกลับมาใช้ได้โดยไม่ลืม และใน ปัจจุบันทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) กำาลังได้รับ ความสนใจจากนักการศึกษาอย่างกว้างขวาง แนวคิดพื้นฐาน ของทฤษฎีนี้ คือ ความรู้ไม่สามารถส่งผ่านไปสู่ผู้เรียนได้ แต่ผู้ เรียนต้องสร้างความรู้ขึ้นด้วยตนเองในบริบทของสังคม การมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่เป็นสภาพจริง (Authentic) แม้ว่าการ ออกแบบการสอนมีการเชื่อมโยงกับการรู้คิดในสมองมนุษย์ หรือ จิตใจของมนุษย์ไปจนกระทั่งพื้นฐานจากพฤติกรรมนิยม แต่ภาย ใต้กระแสงความปัจจุบันที่เปลี่ยนไปซึ่งทวีความซับซ้อนในเชิง สังคม ตลอดจนความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อิทธิพลของกระแสแห่งข้อมูลข่าวสารที่มีมากมาย เป็นผลให้งาน ส่วนใหญ่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา (Instructional Technolo gists)ในปัจจุบันมีการยอมรับแนวคิดของกลุ่มพุทธิปัญญา นิยม(Cognitivism) และคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ดังที่
  • 14. บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา 14 ปรากฏผลงานวิจัยในปัจจุบัน และเป็นส่วนหนึ่งที่สำาคัญของการ พัฒนาของสาขาวิชา (Newby T.J. and Others, 2000) ความเป็นมาและพัฒนาก าร ของสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media Roots) สื่อการสอน (Instructional media) และการออกแบบการ สอน (Instructional design) ได้มีการพัฒนามาด้วยกันแต่ก็แยก ตัวเป็นอิสระแต่ก็มีส่วนมาบรรจบกัน แม้ว่าการใช้ของจริง (Real object) ภาพวาด (Drawing) และสื่ออื่นๆนับเป็นส่วนหนึ่งของการ สอน อย่างน้อยที่สุดเป็นการนำามาซึ่งความเจริญก้าวหน้าทาง ด้านประวัติศาสตร์ของการใช้สื่อการสอน เช่นเดียวกับการ ออกแบบการสอน เป็นสิ่งที่ปรากฏชัดเจนในศตวรรษที่ 20 จากผลของการใช้สื่อต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น ระหว่างช่วง ทศวรรษที่ 1970 และ 1980 สาขาวิชานี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงและ เติบโตมากขึ้น ดังนั้นผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อกลายเป็นผู้ที่มีความ สำาคัญเพิ่มมากขึ้นในชุมชนโรงเรียน สื่อที่มีรูปแบบใหม่ๆได้รับ ความสนใจเพิ่มมากขึ้น และความเคลื่อนไหวต่าง ๆ นำามาสู่การ เปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางด้านโสตทัศนศึกษา การศึกษาทางด้าน สื่อซึ่งเริ่มประมาณปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 และดำาเนินการต่อ เนื่องมา สื่อกลายเป็นสิ่งที่ถูกมองว่าไม่สามารถเป็นส่วนที่แยกตัว ออกมาอย่างโดดเดี่ยวได้ แต่ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งกว้างขวางกว่าแนวคิดเดิม เช่น เดียวกับการออกแบบการสอนที่พัฒนาไปเป็นส่วนหนึ่งของการ ศึกษาในสาขาวิชา และศาสตร์ทางด้านสื่อได้เติบโตพร้อมทั้งมี ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน (Instructional design) และการสื่อสาร (Communication) ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร ์ เ พ ื ่ อ ก า ร ส อ น (Instructional Computing Roots) คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับนวัตกรรมการ ศึกษา(Innovations)ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคแรกจะนำาอิเลค ทรอนิกส์ดิจิตอลมาใช้ในการสร้าง จากการที่มีการใช้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกันอย่างกว้างขวางและสมรรถนะของ คอมพิวเตอร์ที่เพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มปริมาณของซอร์ฟแวร์และ สามารถจัดหาได้ง่าย โปรแกรม CAI ในรายวิชาต่างๆปรากฏ มากมาย และซอร์ฟแวร์ ที่มี คุณภาพเป็นประเด็นที่มีความ สำาคัญเกี่ยวกับการใช้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ผลิตผล ที่นำามาใช้ เช่น เวิร์ด โปรเซสเซอร์ อิเล็กโทรนิกส์สเปร ดชีทและการจัดการของ Data Base ได้รับการพัฒนาและนำามา ใช้และได้รับความสนใจเพิ่มมาก ขึ้นในการใช้อย่างมี ประสิทธิภาพและในช่วงปลาย ทศวรรษ 1980 ผู้เชี่ยวชาญทาง ด้านคอมพิวเตอร์การเรียนการสอนได้ล้มเลิกแนวความคิดเกี่ยว กับการเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์ และแยกมาจัดตั้งเป็นสาขา ทางการศึกษาใหม่โดยนำาแนวคิดการบูรณาการลงในหลักสูตร รวมถึงการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในบริบทของ เนื้อหาวิชา
  • 15. บทที่ 1 เทคโนโล ยีนวัตกรร มแ ล ะ สื่อการศึกษา 15 บ ท บ า ท แ ล ะ ค ว า ม ส ำา ค ั ญ ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ย ี แ ล ะ ส ื ่ อ ก า ร ศึกษ า เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาเป็นสิ่งที่บุคลากรทางการ ศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูจำาเป็นจะต้องใช้เพื่อการสอนและ สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน (Le arning p rocess) ดัง นั้นครูจำาเป็นต้องมีความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการศึกษาในโรงเรียน ตังแต่การออกแบบ การ ้ พัฒนา การใช้ การจัดการและการประเมิน ภายใต้กระแสความ เปลี่ยนแปลงทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะก้าวไปอย่างไม่มี วันหยุด ส่งผลให้วิถีชีวิตจะต้องใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นเพื่อสร้าง ประโยชน์และสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง การทำาความ เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา จะต้องเริ่มที่การ เข้าใจถึงบทบาทที่สำาคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้ นั่นก็ หมายความว่าจะต้องเข้าใจผู้เรียนหรือวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน (Peopl how to le arn ) ประกอบด้วย การสื่อสารหรือสื่อความ e หมาย และที่สำาคัญคือการทำาความเข้าใจทฤษฎีการเรียนรู้ (Le arning theories) คำาถ า ม ส ะ ท ้ อ น ค ว า ม ค ิ ด  ท่านคิดว่าพัฒนาการของสื่อและ เทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทยมี ความเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง  ท่านคิดว่าสื่อและเทคโนโลยีการศึกษามี บทบาทสำาคัญในการจัดการศึกษาของไทยอย่างไรบ้าง  ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษามีความสำาคัญอย่างไร บ้าง กิ จ ก ร ร ม เ ส น อ แ น ะ ให้ท่านลองวิเคราะห์สถานการณ์การใช้สื่อและ เทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทยว่ามีปัญหา อย่างไรบ้าง โดยเฉพาะในสาระการเรียนรู้วิชา เอกของท่าน บร ร ณ า น ุ ก ร ม สุ ม าลี ชั ย เจริ ญ (2551).เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร ศ ึ ก ษ า :ห ล ั ก ก า ร ท ฤ ษ ฎ ี ส ู ่ ก า ร ป ฏ ิ บ ั ต ิ .ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา. Association for Educational Commutations and Technology. (1979).The definition of educational technology . Washington, D.C. : AECT Barbara, S.B., Rc.(1994). Instructional technology : The Field . Washington DC : Association for Educational Communications and Technology. Frederick G. Knirk.
  • 16. บทที ่ 1 เทคโนโลยี น วั ต กรรมและสื ่ อ การศึ ก ษา 16 Carter v. Good, Winnifred R.Merkel and Phi Delta Kappa(1973). Dictionary of education / prepared under the auspices of phi delta Kappa. 3rd ed. New York: Mcgraw-Hill. Dale, Edgar. (1969). Audiovisual methods in teaching. 3rded. New York: Dryden Pr. Kent L. Gustafson (1986). Technology : a systematic approach to education . New York : Holt , Rinehart . Knirk, F.G. , Gustafson, K.L. (1986). Instructional technology: A systematic approach to education. FT. Worth , TX : Holt , Rinehart Winston. Newby T.J. and Others. (2000). Instructional technology for Teaching and Learning. Upper Saddle River, NJ : Merrill Prentice Hall. Richey , R.C. (1986). The theoretical and conceptual bases of instructional design. London : Kogan Page.