SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชา 230301
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning )
กระทรวงศึกษาธิการต ้องการให ้ท่านเลือกและสร ้างนวัตกรรมการ
เรียนรู้ ให ้เหมาะสมกับบริบทโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มี
การเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช ้บ ้าง ซึ่งเป็น
ห ้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต ้องการของโรงเรียนคืออยากจะได ้
สื่อที่มาแก ้ปัญหาการสอนที่ช่วยกระตุ้นให ้เด็กมีความสนใจในการเรียนมาก
ขึ้น สื่อนี้สามารถทาให ้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง ( Realistic ) และเหมาะสม
กับการศึกษารายบุคคลโดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงหรือวิทัศน์ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร ้าง
ความตื่นเต ้นน่าสนใจ และสามารถย ้อนทบทวนส่วนที่ต ้องการได ้โดยไม่มี
ข ้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก ้ไขข ้อบกพร่องของตนเองได ้ อาจจะออกแบบ
มาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให ้ผู้เรียนมีความกระตือรือร ้น
มากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข ้าไว ้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต ้องการนวัตกรรมที่สามารถแก ้ไขข ้อจากัด
ด ้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช ้คุณสมบัติ เวิร์ด ไวด์ เว็บ ที่
โรงเรียนที่มีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล ้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน
สิ่งแรกที่ต ้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านข ้าเรียน หลังจากนั้น
ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่อง
ของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได ้ผู้เรียน
สามารถกาหนดการเรียนได ้ด ้วยตนเอง ( Self-directed ) เปิดโอกาสให ้
เลือกเรียนได ้ตามสะดวก สามารถกาหนดรอบเวลาในการเรียนรู้ได ้
เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการ
เรียนแบบประสานเวลา ( Synchronous Learning ) และไม่ประสานเวลา
( Asynchronous Learning ) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทา
รายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆ ได ้และ
ยังสามารถเข ้าถึงเนื้อหาได ้ทุกที่ทุกเวลา ทุกสถานที่
สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning )
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต ้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้
ที่เน้นให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์
ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให ้ผู้เรียนได ้สืบค ้น เมื่อไม่สามารถแก ้ปัญหาได ้ก็มี
ฐานความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกัน
แก ้ปัญหาสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได ้ตลอดเวลา
นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต ้องสามารถนามาใช ้ได ้ในหลายบริบท
เนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย
บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถ
นาไปใช ้เรียนได ้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต ้ร่มไม ้หรือสถานที่ที่ไม่มี
คอมพิวเตอร์ก็สามารถใช ้เรียนรู้เพื่อให ้เกิดประสิทธิภาพได ้
สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning )
อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้
สิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ ( Learning environment )
สิ่งต่าง ๆ สภาวะแวดล ้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัว ผู้เรียนทั้งที่
เป็นรูปธรรมและนามธรรม ส่งผลต่อผู้เรียนทั้งทางบวกและทางลบ และ
มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิพลการเรียนรู้ของผู้เรียน
หมายถึง
เช่น
การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎี
Constructivistm
ลงมือกระทาด ้วย
ตนเอง
พัฒนาศักยภาพ
ทางความคิด
แสวงหาความรู้
ด ้วยตนเอง
สิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนว
Constructivistm
สุมาลี ชัยเจริญ (2547) กล่าวว่าสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่
พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการออกแบบที่ประสาน
ร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media) ” กับ “วิธีการ (Methods) ”
โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ มาเป็นพื้นฐานในการ
ออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบ
สัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร ้างความรู้ของผู้เรียน
ประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
1. สิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้บน
เครื่อข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
2. มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
3.ชุดสร ้างความรู้
วิเคราะห์เลือกใช ้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให ้สอดคล ้องกับบริบทของ
โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่
ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช ้บ ้าง ซึ่งเป็น
ห ้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน
เลือกใช ้นวัตกรรม “มัลติมีเดีย” และ “หน่วยการเรียนการสอน” เพราะ .....
หน่วยการ
เรียนการสอน
สามารถมองเห็นโครงร่างทั้งหมดของ
โปรแกรม
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการจัดระบบการ
เรียนการสอน
มัลติมีเดีย
นาเสนอได ้ทั้งเสียง ข ้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี
กราฟฟิก ภาพร่าง วัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์และวีดีทัศน์
เสมือนจริง
ผู้เรียนสามารถทดลอง ฝึกปฏิบัติได ้ในสิ่งที่เรียน
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ ต ้องการนวัตกรรมที่สามารถ
แก ้ไขข ้อจากัดด ้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช ้
คุณสมบัติ เวิร์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนที่มีอยู่ ในการจัด
สภาพแวดล ้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต ้อง
มีคือ การลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านข ้าเรียน หลังจากนั้น
ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหา
ลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา
ภายหลังก็ได ้ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได ้ด ้วยตนเอง
( Self-directed ) เปิดโอกาสให ้เลือกเรียนได ้ตามสะดวก
สามารถกาหนดรอบเวลาในการเรียนรู้ได ้เหมาะสมกับ
ความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง
เลือกใช ้นวัตกรรม “การเรียนรู้บนเครือข่าย” และ “E-learning”
เพราะ.....
1.ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.ผู้เรียนเข ้าได ้ทุกเวลา ผู้เรียนสามารถกาหนดเองได ้
3.สามารถอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาหรือสิ่งพิมพ์ได ้
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต ้องการออกแบบนวัตกรรม
การเรียนรู้ที่เน้นให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วย
ตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้
ให ้ผู้เรียนได ้สืบค ้น เมื่อไม่สามารถแก ้ปัญหาได ้ก็มีฐาน
ความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการ
ร่วมมือกันแก ้ปัญหาสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ระหว่างกันได ้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่
พัฒนาขึ้นต ้องสามารถนามาใช ้ได ้ในหลายบริบท
เนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน
เลือกใช ้นวัตกรรม “การเรียนรู้บนเครือข่าย” และ “E-learning”
เพราะ .....
1.ผู้เรียนเข ้าได ้ทุกเวลา ทุกสถานที่
2.ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นก็ได ้และร่วมมือกัน
แก ้ปัญหาได ้
3.สามารถอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาหรือสิ่งพิมพ์ได ้
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให ้นักศึกษาเสนอ
นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล ้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติ
หน้าที่สอน พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผล
นวัตกรรม “E-learning”
1. ใช ้เว็บเป็นแหล่งข ้อมูลเพื่อการจาแนก
ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ
2. ใช ้เว็บเป็นสื่อกลางของการร่วมมือ
สนทนา แลกเปลี่ยนและสื่อสาร
3. ใช ้เว็บเป็นสื่อกลางในการมีส่วนร่วมใน
การประสบการณ์จาลอง การทดลอง
ฝึกหัดและการมีส่วนร่วมคิด
1. สะดวก รวดเร็ว
2. ผู้เรียนเข ้าเว็บได ้ทุกเวลา และเป็นผู้กาหนดลาดับ
การเข ้าเว็บนั้นหรือตามลาดับที่ผู้ออกแบบได ้ให ้
แนวทางไว ้
3. การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะเป็นไปได ้ดีถ ้า
เป็นไปตามสภาพแวดล ้อมตามแนวคิดของนักคอน
สตรัคติวิสต์ กล่าวคือมีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์
และเรียนรู้ร่วมกัน
4. ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็นผู้กระจาย
ถ่ายทอดข ้อมูลมาเป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการ
ค ้นหา การประเมิน และการใช ้ประโยชน์จาก
สารสนเทศที่ค ้นมาจากสื่อหลากหลาย
5. การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะเกี่ยวข ้องันหลายวิชา
(Interdisciplinary) และไม่กาหนดว่าจะต ้องบรรลุ
จุดประสงค์การเรียนรู้ในเวลาที่กาหนด
6. ผู้เรียนสามารถอ่านบนจอหรือโหลดเก็บไว ้หรอสั่ง
พิมพ์ได ้
สมาชิก....
นางสาวนิศารัตน์ แท่นสัมฤทธิ์ 533050433-8
นางสาวพิมพ์ชนก มังตา 533050437-0
นายอิศรภัทร พรหมภัทร 533050453-2

More Related Content

What's hot

บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 

What's hot (13)

บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 

Similar to Chapter 7

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาpohn
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาN'Fern White-Choc
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้Nichaya100376
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาSasitorn Seajew
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงFame Suraw
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 

Similar to Chapter 7 (18)

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 

More from boomakung

Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 newboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionboomakung
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyboomakung
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyboomakung
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 

More from boomakung (13)

Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 new
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instructionChapter 5 applying technologies for effective instruction
Chapter 5 applying technologies for effective instruction
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
学习
学习学习
学习
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technology
 
Chapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technologyChapter2the changing of educational technology
Chapter2the changing of educational technology
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 

Chapter 7

  • 2. สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning ) กระทรวงศึกษาธิการต ้องการให ้ท่านเลือกและสร ้างนวัตกรรมการ เรียนรู้ ให ้เหมาะสมกับบริบทโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มี การเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช ้บ ้าง ซึ่งเป็น ห ้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน ความต ้องการของโรงเรียนคืออยากจะได ้ สื่อที่มาแก ้ปัญหาการสอนที่ช่วยกระตุ้นให ้เด็กมีความสนใจในการเรียนมาก ขึ้น สื่อนี้สามารถทาให ้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง ( Realistic ) และเหมาะสม กับการศึกษารายบุคคลโดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงหรือวิทัศน์ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร ้าง ความตื่นเต ้นน่าสนใจ และสามารถย ้อนทบทวนส่วนที่ต ้องการได ้โดยไม่มี ข ้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก ้ไขข ้อบกพร่องของตนเองได ้ อาจจะออกแบบ มาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให ้ผู้เรียนมีความกระตือรือร ้น มากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข ้าไว ้อย่างเหมาะสม
  • 3. โรงเรียนมหาชัย ต ้องการนวัตกรรมที่สามารถแก ้ไขข ้อจากัด ด ้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช ้คุณสมบัติ เวิร์ด ไวด์ เว็บ ที่ โรงเรียนที่มีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล ้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต ้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านข ้าเรียน หลังจากนั้น ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่อง ของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได ้ผู้เรียน สามารถกาหนดการเรียนได ้ด ้วยตนเอง ( Self-directed ) เปิดโอกาสให ้ เลือกเรียนได ้ตามสะดวก สามารถกาหนดรอบเวลาในการเรียนรู้ได ้ เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการ เรียนแบบประสานเวลา ( Synchronous Learning ) และไม่ประสานเวลา ( Asynchronous Learning ) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทา รายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆ ได ้และ ยังสามารถเข ้าถึงเนื้อหาได ้ทุกที่ทุกเวลา ทุกสถานที่ สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning )
  • 4. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต ้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให ้ผู้เรียนได ้สืบค ้น เมื่อไม่สามารถแก ้ปัญหาได ้ก็มี ฐานความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกัน แก ้ปัญหาสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได ้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต ้องสามารถนามาใช ้ได ้ในหลายบริบท เนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถ นาไปใช ้เรียนได ้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต ้ร่มไม ้หรือสถานที่ที่ไม่มี คอมพิวเตอร์ก็สามารถใช ้เรียนรู้เพื่อให ้เกิดประสิทธิภาพได ้ สถานการณ์ปัญหา ( Problem-based learning )
  • 6. สิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ ( Learning environment ) สิ่งต่าง ๆ สภาวะแวดล ้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัว ผู้เรียนทั้งที่ เป็นรูปธรรมและนามธรรม ส่งผลต่อผู้เรียนทั้งทางบวกและทางลบ และ มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิพลการเรียนรู้ของผู้เรียน หมายถึง เช่น
  • 7. การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivistm ลงมือกระทาด ้วย ตนเอง พัฒนาศักยภาพ ทางความคิด แสวงหาความรู้ ด ้วยตนเอง สิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนว Constructivistm สุมาลี ชัยเจริญ (2547) กล่าวว่าสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่ พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการออกแบบที่ประสาน ร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media) ” กับ “วิธีการ (Methods) ” โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ มาเป็นพื้นฐานในการ ออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบ สัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร ้างความรู้ของผู้เรียน
  • 9. วิเคราะห์เลือกใช ้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให ้สอดคล ้องกับบริบทของ โรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้
  • 10. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช ้บ ้าง ซึ่งเป็น ห ้องคอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียน เลือกใช ้นวัตกรรม “มัลติมีเดีย” และ “หน่วยการเรียนการสอน” เพราะ ..... หน่วยการ เรียนการสอน สามารถมองเห็นโครงร่างทั้งหมดของ โปรแกรม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการจัดระบบการ เรียนการสอน มัลติมีเดีย นาเสนอได ้ทั้งเสียง ข ้อความ ภาพเคลื่อนไหว ดนตรี กราฟฟิก ภาพร่าง วัสดุตีพิมพ์ ภาพยนตร์และวีดีทัศน์ เสมือนจริง ผู้เรียนสามารถทดลอง ฝึกปฏิบัติได ้ในสิ่งที่เรียน
  • 11. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ ต ้องการนวัตกรรมที่สามารถ แก ้ไขข ้อจากัดด ้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช ้ คุณสมบัติ เวิร์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนที่มีอยู่ ในการจัด สภาพแวดล ้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต ้อง มีคือ การลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านข ้าเรียน หลังจากนั้น ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหา ลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษา ภายหลังก็ได ้ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียนได ้ด ้วยตนเอง ( Self-directed ) เปิดโอกาสให ้เลือกเรียนได ้ตามสะดวก สามารถกาหนดรอบเวลาในการเรียนรู้ได ้เหมาะสมกับ ความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง เลือกใช ้นวัตกรรม “การเรียนรู้บนเครือข่าย” และ “E-learning” เพราะ..... 1.ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กัน บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.ผู้เรียนเข ้าได ้ทุกเวลา ผู้เรียนสามารถกาหนดเองได ้ 3.สามารถอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาหรือสิ่งพิมพ์ได ้
  • 12. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต ้องการออกแบบนวัตกรรม การเรียนรู้ที่เน้นให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วย ตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ ให ้ผู้เรียนได ้สืบค ้น เมื่อไม่สามารถแก ้ปัญหาได ้ก็มีฐาน ความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการ ร่วมมือกันแก ้ปัญหาสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างกันได ้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่ พัฒนาขึ้นต ้องสามารถนามาใช ้ได ้ในหลายบริบท เนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน เลือกใช ้นวัตกรรม “การเรียนรู้บนเครือข่าย” และ “E-learning” เพราะ ..... 1.ผู้เรียนเข ้าได ้ทุกเวลา ทุกสถานที่ 2.ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นก็ได ้และร่วมมือกัน แก ้ปัญหาได ้ 3.สามารถอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาหรือสิ่งพิมพ์ได ้
  • 13. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให ้นักศึกษาเสนอ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล ้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติ หน้าที่สอน พร ้อมทั้งอธิบายเหตุผล
  • 14. นวัตกรรม “E-learning” 1. ใช ้เว็บเป็นแหล่งข ้อมูลเพื่อการจาแนก ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ 2. ใช ้เว็บเป็นสื่อกลางของการร่วมมือ สนทนา แลกเปลี่ยนและสื่อสาร 3. ใช ้เว็บเป็นสื่อกลางในการมีส่วนร่วมใน การประสบการณ์จาลอง การทดลอง ฝึกหัดและการมีส่วนร่วมคิด
  • 15. 1. สะดวก รวดเร็ว 2. ผู้เรียนเข ้าเว็บได ้ทุกเวลา และเป็นผู้กาหนดลาดับ การเข ้าเว็บนั้นหรือตามลาดับที่ผู้ออกแบบได ้ให ้ แนวทางไว ้ 3. การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะเป็นไปได ้ดีถ ้า เป็นไปตามสภาพแวดล ้อมตามแนวคิดของนักคอน สตรัคติวิสต์ กล่าวคือมีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ และเรียนรู้ร่วมกัน 4. ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็นผู้กระจาย ถ่ายทอดข ้อมูลมาเป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการ ค ้นหา การประเมิน และการใช ้ประโยชน์จาก สารสนเทศที่ค ้นมาจากสื่อหลากหลาย 5. การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะเกี่ยวข ้องันหลายวิชา (Interdisciplinary) และไม่กาหนดว่าจะต ้องบรรลุ จุดประสงค์การเรียนรู้ในเวลาที่กาหนด 6. ผู้เรียนสามารถอ่านบนจอหรือโหลดเก็บไว ้หรอสั่ง พิมพ์ได ้