SlideShare a Scribd company logo
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
หลักการออกแบบและ พัฒนานวัตกรรม สื่อ
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้
หลักการเลือกและใช้นวัตกรรม สื่อ
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
กรณีศึกษาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ
นวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
หลักการออกแบบและ พัฒนานวัตกรรม สื่อและ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้
หลักการออกแบบและ พัฒนานวัตกรรม สื่อและ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้
กระบวนการออกแบบ กระบวนการประเมิน
กระบวนการพัฒนา
กระบวนการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนวรรณกรรม
(Literature review) ศึกษาหลักการ ทฤษฎี
และงานวิจัย
ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาสภาพบริบท (Contextual
study) เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพการจัดการ
เรียนรู้ในสภาพจริงในด้านต่างๆ
ขั้นตอนที่ 3 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
(Theoretical framework) จากทฤษฎีและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องในขั้นตอนที่ 1 และ 2
ขั้นตอนที่ 4 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดการ
ออกแบบ (Designing framework) จะแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 ส่วนด้วยกันคือ
หลักการ พื้นฐานทฤษฎี และองค์ประกอบ
กระบวนการพัฒนา
ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้ในบริบทจริง เป็นการนานวัตกรรมฯที่สร้างขึ้นไป
ใช้จริงกับกลุ่มทดสอบเพื่อศึกษาความสมบูรณ์ของนวัตกรรม
ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาได้แก่ผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎี (Theorists) ผู้ออกแบบ
(Designers) ผู้พัฒนา (Developers) ผู้ประเมิน (Evaluators) ผู้วิจัย
(Researchers) ผู้สอน (Teacher) ผู้เรียน (Learners)
ขั้นตอนที่ 1 นาองค์ประกอบของนวัตกรรมฯที่ได้ออกแบบไว้มาลงสู่การปฏิบัติเพื่อ
สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ (Product) ที่สามารถใช้งานได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม
ความรู้และความเข้าใจงานกราฟิก งานภาพเคลื่อนไหว งานตัดต่อวีดีทัศน์ ตลอดจน
ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
กระบวนการประเมิน
จะอาศัยพื้นฐานการประเมินที่สาคัญ 5 ด้าน ประกอบด้วย
(1) การประเมินด้านผลผลิต
(2) การประเมินบริบทการใช้
(3) การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา
(4) การประเมินด้านความคิดเห็น
(5) การประเมินผลสัมฤทธิ์
หลักการเลือกและใช้นวัตกรรม สื่อ
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
หลักการเลือกและใช้นวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
การวิเคราะห์ผู้เรียน
(Analyze Leaner
Characteristics)
การกาหนดวัตถุประสงค์
(State Objectives)
การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ
(Select method, media and Materials)
การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุand
(Utilize method, Media Materials)
การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน
(Require Learner Response)
การประเมินและการปรับ
(Evaluation and revise)
A S S U R E
การวิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Leaner Characteristics)
3. แบบการเรียน (Learning styles) ผู้สอนควรตรวจสอบเกี่ยวกับ
3.1 การรับรู้ของผู้เรียน ในลักษณะต่างๆ เช่น รับรู้ด้วยการฟัง การมองเห็น การสัมผัส และการเคลื่อนไหว
3.2 กระบวนการประมวลสารสนเทศของผู้เรียนว่ามีลักษณะอย่างไร
3.3 การสร้างปัจจัยทางด้านแรงจูงใจภายในและทางด้านกายภาพ เช่น ความวิตกกังวล แรงจูงใจทางด้านผลสัมฤทธิ์ ทางด้าน
สังคมหรือการแข่งขัน
1. คุณลักษณะทั่วไป – จานวนผู้เรียน ระดับชั้น อายุ เพศ สถานภาพทางสังคม
และเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ฯลฯ
2. สมรรถนะเฉพาะที่มีมาก่อน – ความรู้เดิมของผู้เรียน ทักษะ
ทางปัญญา ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
การกาหนดวัตถุประสงค์(State Objectives)
ต้องมีความชัดเจนว่าผู้เรียนต้องได้รับอะไร สามารถวัดและประเมินค่าได้
1. มุ่งเน้นผู้เรียน (ไม่ใช่ผู้สอน) คือ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
2. วัตถุประสงค์เป็นการอธิบายผลการเรียนรู้ ให้ครอบคลุม
ทั้งด้านความรู้ (Knowledge) ด้านความสามารถในการ
ปฏิบัติ (Performance) ด้านเจคติ (Attitude)
การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ (Select method, media and Materials)
ควรเลือกบนพื้นฐานความต้องการของผู้เรียน
จะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งกระบวนการ
ควรเป็นไปตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้
ควรสอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและแบบการเรียน
ควรพิจารณาว่าสื่อที่ดีที่สุดที่สามารถทาให้บรรลุลัพธ์การเรียนรู้
สื่อเพียงชนิดเดียวไม่เพียงพอทาให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้
จะต้องสอดคล้องกับหลักสูตร
จะต้องช่วยกระตุ้นแรงจูงในและความสนใจในการเรียนรู้
ต้องคานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ
เป็นสื่อที่มีคุณภาพในเชิงเทคนิคที่ช่วยในการเรียนการสอน
เป็นสื่อที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
เป็นสื่อที่มีเนื้อหาที่มีความชัดเจนและภาษาอ่านเข้าใจง่าย
การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุ (Utilize method, Media and Materials)
การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนควรจะต้องจัดเตรียมความพร้อมของสื่อและวัสดุ อุปกรณ์
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ความพร้อมของผู้เรียน และการดาเนินตามบทเรียนที่วางไว้ดังนี้
การเตรียมสื่อการเรียนรู้
3 ช่วง
ก่อนการจัดการเรียนรู้
ระหว่างการจัดการเรียนรู้
หลังการจัดการเรียนรู้
การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การเตรียมผู้เรียน การดาเนินการตามบทเรียน
ผู้สอนแบบมืออาชีพ จะต้อง
กาหนดหรือจัดเตรียมสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน
สามารถสร้างประสบการณ์
เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
เริ่มด้วยการให้มโนมิติทางการ
เรียน (Advance organizer)
ล่วงหน้าก่อนเรียน โดยการจัด
ทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียน
ศึกษาล่วงหน้า
เตรียมความพร้อมเพื่อการเรียนรู้ที่ดี (Warm Up) ให้กับผู้เรียน
- การนาเสนอให้ผู้เรียนทราบถึงสาระสาคัญของการสอน
- การจัดกิจกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความ
เกี่ยวข้องกับบทเรียนกับประสบการณ์เดิมและหัวข้อหรือ
เนื้อหาที่จะเรียนรู้ในอนาคต
- การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน
- การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้
- การสร้างแรงจูงใจในการเรียน
- การตั้งคาถามในระหว่างเรียน
การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน(Require Learner Response)
มุ่งเน้นที่การตอบสนองที่มาจากกระบวนการภายใน (Mental process)
และการตอบสนองที่แสดงออกมา (Performance)
ขั้นตอนแรก ขั้นเริ่มต้นกิจกรรมและการถามปัญหา (Initial
activities and questions to ask)
ขั้นตอนที่สอง ขั้นดาเนินตามกิจกรรมและการถามปัญหา
(Follow-up activities and questions to ask)
ขั้นตอนที่สาม ขั้นลงมือปฏิบัติกิจกรรม (Activities to do)
ขั้นตอนที่สี่ ขั้นการพัฒนาทักษะสู่การปฏิบัติ (Follow-up skills to practice)
การประเมินและการปรับ(Evaluation and revise)
การประเมินความสามารถของผู้เรียน
(Evaluate student performance)
การประเมินองค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้
(Evaluate media components)
การประเมินความสามารถของผู้สอน
(Evaluate instructor performance)
ความสามารถของผู้เรียนอาจกาหนดจาก
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้ง
ด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถทางพุทธิ
ปัญญาทั้งหลาย เช่น การคิดขั้นสูง ทักษะ
ทางปัญญา การสื่อสารและการใช้ภาษา
ทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร รวมไปถึงคุณธรรมจริยธรรม
เป็นต้น
การประเมินองค์ประกอบของสื่ออาจ
พิจารณาในมิติต่อไปนี้ คือ
คุณลักษณะของสื่อ ระบบสัญลักษณ์ของสื่อ
เช่น - สื่อนั้นช่วยสื่อความหมายในการเรียน
- สื่อช่วยสนับสนุนการสร้างความรู้และความ
เข้าใจ
- สื่อสนับสนุนการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้เรียนและเนื้อหา รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญ
-สื่อมีการออกแบบที่ง่ายต่อการใช้และกระตุ้น
ความสนใจ
- ความสามารถในการเตรียมสื่อการ
เรียนรู้
- ความสามารถในการเตรียม
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
- ความสามารถในการเตรียมผู้เรียน
- ความสามารถในการดาเนินการตาม
บทเรียน
เพื่อจะได้นาผลการประเมินมาปรับปรุง
การจัดการเรียนรู้ต่อไป
กรณีศึกษาการออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ที่บูรณาการนวัตกรรม สื่อและ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
กรณีศึกษาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการนวัตกรรม สื่อ
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
• การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้โดยอาศัยคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายมาใช้ในการเรียนรู้
• ผลงานการวิจัยของ Kanjug Issara, Chaijaroen Sumalee, Samat Charuni
ต้องการนาเสนอวิธีการใหม่ในการออกแบบการเรียนรู้บนเครือข่ายที่เปิดโอกาสในการสร้างความรู้ที่ผู้เรียน
สร้างขึ้นด้วยตนเองอย่างตื่นตัว
โดยสร้างความเชื่อมโยงกับความรู้หรือประสบการณ์เดิมเพื่อสร้างความรู้ใหม่ที่มีความหมายกับตนเอง
และสามารถประยุกต์วิธีการแก้ปัญหาที่ตนเองได้เรียนรู้ไปสู่สถานการณ์ใหม่ได้
การถ่ายโยงการแก้ปัญหา (Problem-solving transfer)
การวิจัยนี้ใช้แนวคิดการวิจัยเชิงพัฒนา
(Developmental research)
ประกอบด้วย 3 กระบวนการดังนี้
1) กระบวนการออกแบบ
2) กระบวนการพัฒนา
3) กระบวนการประเมิน
ได้ทาการวิจัยเอกสาร วิเคราะห์หลักการ
และทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ทฤษฏีการ
เรียนรู้แบบเปิด (OLEs) ทฤษฏี SOI
และเนื้อหาเพื่อนามาเป็นพื้นฐานในการ
สร้างกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีในการ
ออกแบบนวัตกรรมฯ
กระบวนการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ส่งเสริม
การสร้างความรู้
ตามองค์ประกอบทั้ง 6 องค์ประกอบ
(1) สถานการณ์ปัญหา (Problem Base)
(2) ธนาคารความรู้ (Knowledge bank)
(3) กรณีที่เกี่ยวข้อง (relatedcase)
(4) การร่วมมือกันสร้างความรู้ (Collaboration)
(5) เครื่องมือสร้างความรู้ (Cognitive tools)
(6) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding)
(1) การประเมินด้านผลผลิตผู้เชี่ยวชาญให้
ความเห็นว่าการออกแบบมีองค์ประกอบที่
สนับสนุนการสร้างความรู้
(2) การประเมินบริบทการใช้ พบว่า จานวนผู้ใช้ต่อกลุ่ม
ในการเรียนแบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เหมาะสมคือ 3
คนในการเรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
(3) การประเมินด้านความสามารถทาง
สติปัญญา ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยคะแนนการ
ทดสอบวัดความคงทนเท่ากับ 20.31
(4) การประเมินด้านความคิดเห็น พบว่า
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ช่วยตอบสนอง
การเรียนรู้ด้วยตนเอง
(5) การประเมินผลสัมฤทธิ์ ผู้เรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
แหล่งอ้างอิง
ใบความรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
ภาพตัวการ์ตูนประกอบ
[ ออนไลน์ ] : www.polyvore.com/drawing/collection?id=4646523 เข้าถึงเมื่อ 26 มีนาคม 2559
ภาพพื้นหลัง
[ ออนไลน์ ] : http://board.palungjit.org/f2/%E0%B9%80%E0%B8...%B4-290214.html
เข้าถึงเมื่อ 26 มีนาคม 2559
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
นางสาวธัญวรรณ เหมาะเป็นดี 573050678-2
นางสาวกานต์ชนา ช่างก่อ 573050377-6
นางสาวปาณิศา เทพธวัช 573050378-4

More Related Content

What's hot

การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
khanidthakpt
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
Chainarong Maharak
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
Kruthai Kidsdee
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
DuangdenSandee
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
SAKANAN ANANTASOOK
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
เพ็ญพักตร์ ฉวีวงค์
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
Bhayubhong
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 

What's hot (20)

การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 

Similar to บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Kanatip Sriwarom
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Thamonwan Kottapan
 
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Sattakamon
 
7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ
patmalya
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
นะนาท นะคะ
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นB CH
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
Ronnarit Thanmatikorn
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
Wichit Chawaha
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
Wichit Chawaha
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาWililak Chownuea
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาWililak Chownuea
 

Similar to บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (20)

บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ7 การเลือกวิธีการ
7 การเลือกวิธีการ
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
 
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)บทที่ 3  การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย(รณฤทธิ์)
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ซิก
ซิกซิก
ซิก
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

  • 2. การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ หลักการออกแบบและ พัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้ หลักการเลือกและใช้นวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ กรณีศึกษาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ นวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
  • 4. หลักการออกแบบและ พัฒนานวัตกรรม สื่อและ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรียนรู้ กระบวนการออกแบบ กระบวนการประเมิน กระบวนการพัฒนา
  • 5. กระบวนการออกแบบ ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนวรรณกรรม (Literature review) ศึกษาหลักการ ทฤษฎี และงานวิจัย ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาสภาพบริบท (Contextual study) เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพการจัดการ เรียนรู้ในสภาพจริงในด้านต่างๆ ขั้นตอนที่ 3 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี (Theoretical framework) จากทฤษฎีและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องในขั้นตอนที่ 1 และ 2 ขั้นตอนที่ 4 การสังเคราะห์กรอบแนวคิดการ ออกแบบ (Designing framework) จะแสดง ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 ส่วนด้วยกันคือ หลักการ พื้นฐานทฤษฎี และองค์ประกอบ
  • 6. กระบวนการพัฒนา ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้ในบริบทจริง เป็นการนานวัตกรรมฯที่สร้างขึ้นไป ใช้จริงกับกลุ่มทดสอบเพื่อศึกษาความสมบูรณ์ของนวัตกรรม ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาได้แก่ผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎี (Theorists) ผู้ออกแบบ (Designers) ผู้พัฒนา (Developers) ผู้ประเมิน (Evaluators) ผู้วิจัย (Researchers) ผู้สอน (Teacher) ผู้เรียน (Learners) ขั้นตอนที่ 1 นาองค์ประกอบของนวัตกรรมฯที่ได้ออกแบบไว้มาลงสู่การปฏิบัติเพื่อ สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ (Product) ที่สามารถใช้งานได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม ความรู้และความเข้าใจงานกราฟิก งานภาพเคลื่อนไหว งานตัดต่อวีดีทัศน์ ตลอดจน ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
  • 7. กระบวนการประเมิน จะอาศัยพื้นฐานการประเมินที่สาคัญ 5 ด้าน ประกอบด้วย (1) การประเมินด้านผลผลิต (2) การประเมินบริบทการใช้ (3) การประเมินด้านความสามารถทางสติปัญญา (4) การประเมินด้านความคิดเห็น (5) การประเมินผลสัมฤทธิ์
  • 9. หลักการเลือกและใช้นวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Leaner Characteristics) การกาหนดวัตถุประสงค์ (State Objectives) การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ (Select method, media and Materials) การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุand (Utilize method, Media Materials) การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน (Require Learner Response) การประเมินและการปรับ (Evaluation and revise) A S S U R E
  • 10. การวิเคราะห์ผู้เรียน (Analyze Leaner Characteristics) 3. แบบการเรียน (Learning styles) ผู้สอนควรตรวจสอบเกี่ยวกับ 3.1 การรับรู้ของผู้เรียน ในลักษณะต่างๆ เช่น รับรู้ด้วยการฟัง การมองเห็น การสัมผัส และการเคลื่อนไหว 3.2 กระบวนการประมวลสารสนเทศของผู้เรียนว่ามีลักษณะอย่างไร 3.3 การสร้างปัจจัยทางด้านแรงจูงใจภายในและทางด้านกายภาพ เช่น ความวิตกกังวล แรงจูงใจทางด้านผลสัมฤทธิ์ ทางด้าน สังคมหรือการแข่งขัน 1. คุณลักษณะทั่วไป – จานวนผู้เรียน ระดับชั้น อายุ เพศ สถานภาพทางสังคม และเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ชาติพันธุ์ ฯลฯ 2. สมรรถนะเฉพาะที่มีมาก่อน – ความรู้เดิมของผู้เรียน ทักษะ ทางปัญญา ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนที่เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
  • 11. การกาหนดวัตถุประสงค์(State Objectives) ต้องมีความชัดเจนว่าผู้เรียนต้องได้รับอะไร สามารถวัดและประเมินค่าได้ 1. มุ่งเน้นผู้เรียน (ไม่ใช่ผู้สอน) คือ ผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. วัตถุประสงค์เป็นการอธิบายผลการเรียนรู้ ให้ครอบคลุม ทั้งด้านความรู้ (Knowledge) ด้านความสามารถในการ ปฏิบัติ (Performance) ด้านเจคติ (Attitude)
  • 12. การเลือกวิธีการ สื่อ และวัสดุ (Select method, media and Materials) ควรเลือกบนพื้นฐานความต้องการของผู้เรียน จะต้องสอดคล้องกับสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งกระบวนการ ควรเป็นไปตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ควรสอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและแบบการเรียน ควรพิจารณาว่าสื่อที่ดีที่สุดที่สามารถทาให้บรรลุลัพธ์การเรียนรู้ สื่อเพียงชนิดเดียวไม่เพียงพอทาให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ได้ จะต้องสอดคล้องกับหลักสูตร จะต้องช่วยกระตุ้นแรงจูงในและความสนใจในการเรียนรู้ ต้องคานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ เป็นสื่อที่มีคุณภาพในเชิงเทคนิคที่ช่วยในการเรียนการสอน เป็นสื่อที่ทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน เป็นสื่อที่มีเนื้อหาที่มีความชัดเจนและภาษาอ่านเข้าใจง่าย
  • 13. การใช้วิธีการ สื่อและวัสดุ (Utilize method, Media and Materials) การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนั้นผู้สอนควรจะต้องจัดเตรียมความพร้อมของสื่อและวัสดุ อุปกรณ์ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ความพร้อมของผู้เรียน และการดาเนินตามบทเรียนที่วางไว้ดังนี้ การเตรียมสื่อการเรียนรู้ 3 ช่วง ก่อนการจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดการเรียนรู้ หลังการจัดการเรียนรู้ การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ การเตรียมผู้เรียน การดาเนินการตามบทเรียน ผู้สอนแบบมืออาชีพ จะต้อง กาหนดหรือจัดเตรียมสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน สามารถสร้างประสบการณ์ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เริ่มด้วยการให้มโนมิติทางการ เรียน (Advance organizer) ล่วงหน้าก่อนเรียน โดยการจัด ทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียน ศึกษาล่วงหน้า เตรียมความพร้อมเพื่อการเรียนรู้ที่ดี (Warm Up) ให้กับผู้เรียน - การนาเสนอให้ผู้เรียนทราบถึงสาระสาคัญของการสอน - การจัดกิจกรรมที่กระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความ เกี่ยวข้องกับบทเรียนกับประสบการณ์เดิมและหัวข้อหรือ เนื้อหาที่จะเรียนรู้ในอนาคต - การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน - การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ - การสร้างแรงจูงใจในการเรียน - การตั้งคาถามในระหว่างเรียน
  • 14. การตอบสนองที่มาจากผู้เรียน(Require Learner Response) มุ่งเน้นที่การตอบสนองที่มาจากกระบวนการภายใน (Mental process) และการตอบสนองที่แสดงออกมา (Performance) ขั้นตอนแรก ขั้นเริ่มต้นกิจกรรมและการถามปัญหา (Initial activities and questions to ask) ขั้นตอนที่สอง ขั้นดาเนินตามกิจกรรมและการถามปัญหา (Follow-up activities and questions to ask) ขั้นตอนที่สาม ขั้นลงมือปฏิบัติกิจกรรม (Activities to do) ขั้นตอนที่สี่ ขั้นการพัฒนาทักษะสู่การปฏิบัติ (Follow-up skills to practice)
  • 15. การประเมินและการปรับ(Evaluation and revise) การประเมินความสามารถของผู้เรียน (Evaluate student performance) การประเมินองค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ (Evaluate media components) การประเมินความสามารถของผู้สอน (Evaluate instructor performance) ความสามารถของผู้เรียนอาจกาหนดจาก วัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ครอบคลุมทั้ง ด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถทางพุทธิ ปัญญาทั้งหลาย เช่น การคิดขั้นสูง ทักษะ ทางปัญญา การสื่อสารและการใช้ภาษา ทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร รวมไปถึงคุณธรรมจริยธรรม เป็นต้น การประเมินองค์ประกอบของสื่ออาจ พิจารณาในมิติต่อไปนี้ คือ คุณลักษณะของสื่อ ระบบสัญลักษณ์ของสื่อ เช่น - สื่อนั้นช่วยสื่อความหมายในการเรียน - สื่อช่วยสนับสนุนการสร้างความรู้และความ เข้าใจ - สื่อสนับสนุนการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เรียนและเนื้อหา รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญ -สื่อมีการออกแบบที่ง่ายต่อการใช้และกระตุ้น ความสนใจ - ความสามารถในการเตรียมสื่อการ เรียนรู้ - ความสามารถในการเตรียม สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ - ความสามารถในการเตรียมผู้เรียน - ความสามารถในการดาเนินการตาม บทเรียน เพื่อจะได้นาผลการประเมินมาปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ต่อไป
  • 17. กรณีศึกษาการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการนวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ • การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้โดยอาศัยคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายมาใช้ในการเรียนรู้ • ผลงานการวิจัยของ Kanjug Issara, Chaijaroen Sumalee, Samat Charuni ต้องการนาเสนอวิธีการใหม่ในการออกแบบการเรียนรู้บนเครือข่ายที่เปิดโอกาสในการสร้างความรู้ที่ผู้เรียน สร้างขึ้นด้วยตนเองอย่างตื่นตัว โดยสร้างความเชื่อมโยงกับความรู้หรือประสบการณ์เดิมเพื่อสร้างความรู้ใหม่ที่มีความหมายกับตนเอง และสามารถประยุกต์วิธีการแก้ปัญหาที่ตนเองได้เรียนรู้ไปสู่สถานการณ์ใหม่ได้ การถ่ายโยงการแก้ปัญหา (Problem-solving transfer)
  • 18. การวิจัยนี้ใช้แนวคิดการวิจัยเชิงพัฒนา (Developmental research) ประกอบด้วย 3 กระบวนการดังนี้ 1) กระบวนการออกแบบ 2) กระบวนการพัฒนา 3) กระบวนการประเมิน ได้ทาการวิจัยเอกสาร วิเคราะห์หลักการ และทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ทฤษฏีการ เรียนรู้แบบเปิด (OLEs) ทฤษฏี SOI และเนื้อหาเพื่อนามาเป็นพื้นฐานในการ สร้างกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีในการ ออกแบบนวัตกรรมฯ กระบวนการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้บนเครือข่ายที่ส่งเสริม การสร้างความรู้ ตามองค์ประกอบทั้ง 6 องค์ประกอบ (1) สถานการณ์ปัญหา (Problem Base) (2) ธนาคารความรู้ (Knowledge bank) (3) กรณีที่เกี่ยวข้อง (relatedcase) (4) การร่วมมือกันสร้างความรู้ (Collaboration) (5) เครื่องมือสร้างความรู้ (Cognitive tools) (6) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) (1) การประเมินด้านผลผลิตผู้เชี่ยวชาญให้ ความเห็นว่าการออกแบบมีองค์ประกอบที่ สนับสนุนการสร้างความรู้ (2) การประเมินบริบทการใช้ พบว่า จานวนผู้ใช้ต่อกลุ่ม ในการเรียนแบบร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เหมาะสมคือ 3 คนในการเรียนจากสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (3) การประเมินด้านความสามารถทาง สติปัญญา ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยคะแนนการ ทดสอบวัดความคงทนเท่ากับ 20.31 (4) การประเมินด้านความคิดเห็น พบว่า สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ช่วยตอบสนอง การเรียนรู้ด้วยตนเอง (5) การประเมินผลสัมฤทธิ์ ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
  • 19. แหล่งอ้างอิง ใบความรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ภาพตัวการ์ตูนประกอบ [ ออนไลน์ ] : www.polyvore.com/drawing/collection?id=4646523 เข้าถึงเมื่อ 26 มีนาคม 2559 ภาพพื้นหลัง [ ออนไลน์ ] : http://board.palungjit.org/f2/%E0%B9%80%E0%B8...%B4-290214.html เข้าถึงเมื่อ 26 มีนาคม 2559