SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ขอบข่ายและพัฒนาการของ
เทคโนโลยีการศึกษา
นางสาวจีราวรรณ โลหะมาศ
นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รหัสนักศึกษา 565050038-1
ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมายขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา
•ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง สิ่งที่แสดงถึงขอบเขต หรือ
กรอบของสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาที่ระบุว่าบุคคลผู้ที่ศึกษาด้านนี้
หรือปฏิบัติงานในวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษาต้องศึกษา ปฏิบัติงาน
และต้องมีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาชีพในด้านใดบ้าง
แนวคิดการแบ่งขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา
•แนวคิดของสมาคมสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษาแห่งสหรัฐอเมริกา
(Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)
แบ่งขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษาตาม Seels and Richey ได้ศึกษาไว้ประกอบด้วย 5
ขอบข่ายใหญ่และแต่ละขอบข่ายแยกเป็น 4 ขอบข่ายย่อย รวมเป็นขอบข่ายย่อยทั้งหมด
20 ขอบข่าย ดังนี้
ความสัมพันธ์ของขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา
แผนภาพแสดงขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาตามการศึกษาของ AECT
(Seels and Richey,1994)
ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา
•การออกแบบ
•การพัฒนา
•การใช้
•การจัดการ
•การประเมิน
1. การออกแบบ (Design)
•คือ กระบวนการในการกาหนดสภาพของการเรียนรู้ เป็น
ขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึงกรอบหรือโครงร่างที่แสดงความเชื่อมโยง
ระหว่างหลักการและทฤษฎีพื้นฐานต่างๆที่จะนาไปสร้างและพัฒนางาน
ทางด้านเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา แบ่งเป็น 4 ขอบข่ายย่อย ดังนี้
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
การออกแบบการสอน
(Instructional systems design)
การออกแบบระบบการสอน (instructional systems design) เป็นวิธีการ
จัดการที่รวมขั้นตอนของการสอนประกอบด้วย
•การวิเคราะห์ (analysis)
•การออกแบบ (design)
•การพัฒนา (development)
•การนาไปใช้ (implementation)
•การประเมินการเรียนการสอน (evaluation)
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
ออกแบบสาร (Message design)
ออกแบบสาร (message design) เป็นการวางแผน เปลี่ยนแปลงสาร
เน้นทฤษฎีการเรียนที่ประยุกต์ความรู้บนพื้นฐานของความสนใจ
การรับรู้ ความจา การออกแบบสารมีจุดประสงค์เพื่อการสื่อความหมาย
กับผู้เรียน
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
กลยุทธ์การสอน
(instructional strategies)
กลยุทธ์การสอน (instructional strategies) เน้นที่การเลือก ลาดับ
เหตุการณ์ และกิจกรรมในบทเรียน การเลือกยุทธศาสตร์การสอนและ
โมเดลการสอนต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์การเรียน รวมถึงลักษณะผู้เรียน
ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา และจุดประสงค์ของผู้เรียน
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
ลักษณะผู้เรียน
(Learner characteristics)
ลักษณะผู้เรียน (learner characteristics) คือลักษณะและประสบการณ์
เดิมหรือพื้นฐานของผู้เรียนที่จะมีผลต่อกระบวนการเรียน การสอน
การเลือก และการใช้ยุทธศาสตร์การสอน
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
2. การพัฒนา (Development)
•เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนการออกแบบ เป็นขอบข่ายของการ
สร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อต่างๆ โดยนาพื้นฐานที่ได้ออกแบบมา
พัฒนาเป็นสื่อต่างๆ ดังนี้
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์
(Print Technologies)
•เป็นการผลิต หรือส่งสาร สื่อด้านวัสดุ เช่น หนังสือ โสตทัศนวัสดุ
พื้นฐานประเภทภาพนิ่ง ภาพถ่าย รวมถึงสื่อข้อความ กราฟิก วัสดุภาพ
สิ่งพิมพ์ ทัศนวัสดุ สิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานของการพัฒนา การใช้สื่อวัสดุ
การสอนอื่น ๆ
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีโสตทัศน์
(Audiovisual Technologies)
•เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายสาร โดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์ หรือ
เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อนาเสนอสารต่าง ๆ ด้วยเสียง และภาพ โสต
ทัศน์จะช่วยแสดงสิ่งที่เป็นธรรมชาติจริง ความคิดที่เป็นนามธรรม
เพื่อผู้สอนนาไปใช้ให้มีปฏิสัมพันธ์กับกับผู้เรียน
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
(Computer-based Technologies)
•เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายสารโดยการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
เป็นพื้นฐาน ที่มีการนาคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ใน
ปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์จัดการสอน
โทรคมนาคม การสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ การเข้าถึงและใช้
แหล่งข้อมูลในเครือข่าย
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยีบูรณาการ
(Integrated Technologies)
•เป็นวิธีการในการจัดหา หรือส่งถ่ายข้อมูลกับสื่อหลาย ๆ รูปแบบภายใต้
การควบคุมโดยคอมพิวเตอร์
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
3. การใช้ (Utilization)
เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องคานึงถึงความง่ายในการใช้งานระหว่างผู้เรียนและสื่อ
การเรียนการสอน หรือระบบที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
•การใช้สื่อ (media utilization)
•การแพร่กระจายนวัตกรรม (diffusion of innovations)
•วิธีการนาไปใช้ และการจัดการ (implementation and institutionalization)
•นโยบาย หลักการและกฎระเบียบข้อบังคับ (policies and regulations)
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
4. การจัดการ (Management)
เป็นขอบข่ายหลักสาคัญของสาขาเทคโนโลยีการศึกษา เพราะเกี่ยวกับการ
บริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องนาไปสนับสนุนในทุกๆขอบข่าย
ประกอบด้วย
•การจัดการโครงการ (project management
•การจัดการแหล่งทรัพยากร (resource management) )
•การจัดการระบบขนส่ง (delivery system management)
•การจัดการสารสนเทศ (information management) )
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
5. การประเมิน (Evaluation)
ขอบข่ายด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุง(Formative
Evaluation) โดย มุ่งเน้นการประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์ เพื่อแสดง
ให้เห็นถึงคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย
•การวิเคราะห์ปัญหา (problem analysis)
•เกณฑ์การประเมิน (criterion-referenced measurement)
•การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation)
•การประเมินผลสรุป (summative evaluation)
ขอบข่าบเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ยุคกรีก กลุ่มครูผู้สอนชาวกรีก เรียก กลุ่มโซฟิสต์(Sophist) ออกทาการ
สอนความรู้ต่างๆ ให้ชนรุ่นเยาว์ เป็นกลุ่มที่ได้รับการยอมรับว่ามีความ
ฉลาดปราดเปรื่องในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนาน
นามว่าเป็น “นักเทคโนโลยี” กลุ่มแรก
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius ค.ศ. 1592-1670)
นาวัสดุ สิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพมาช่วยในการสอนอย่างจริงจัง
รวมทั้งสร้างแนวคิดในวิธีการสอนใหม่ที่ให้ความสาคัญต่อการใช้วัสดุ
ของจริงมาใช้ในการสอน เป็นผู้แต่งหนังสือที่มีภาพประกอบบทเรียน ถูก
ขนานนามว่าเป็น “บิดาแห่งโสตทัศนศึกษา”
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา สามารถจาแนกออกเป็นด้าน
ต่างๆ ซึ่งมีส่วนประกอบหลักที่สาคัญ ดังนี้
•ด้านการออกแบบการสอน
•ด้านสื่อการสอน
•ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
•เริ่มได้รับความสนใจในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากความจาเป็น
ในการฝึกอบรมบุคลากรในกองทัพ
•ในปี 1950 – 1960 เป็นช่วงสาคัญของสาขาวิชาออกแบบการสอน
(Instructional Design)
•นาพื้นฐานทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้มาใช้ในการออกแบบการสอน
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านการออกแบบการสอน (Instructional Design Roots)
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
•วิธีระบบ (Systematic Approach) เน้นลาดับขั้นในการเรียนรู้
• ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) ของธอร์นไดค์ เน้นที่
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่าง สิ่งเร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง
(Response)
• ทฤษฎีเงื่อนไขแบบอาการกระทา (Operant Conditioning) ของ สกิน
เนอร์ กล่าวว่า "การกระทาใด ๆ ถ้าได้รับการเร้าด้วยการเสริมแรง อัตรา
ความเข้มแข็งของการตอบสนองจะมีโอกาสสูงขึ้น"
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านการออกแบบการสอน (Instructional Design Roots)
ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
•ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing)
•เน้นการออกแบบที่เชื่อมโยงถึงกระบวนการพุทธิปัญญา
•ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถประมวลผลสารสนเทศที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้
อย่างเป็นระบบในหน่วยความจา (Memory)
•ผู้เรียนสามารถเรียกข้อมูลสารสนเทศที่เก็บไว้ในหน่วยความจากลับมา
ใช้โดยไม่ลืม
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านการออกแบบการสอน (Instructional Design Roots)
ทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism)
•ความรู้ไม่สามารถส่งผ่านไปสู่ผู้เรียนได้ แต่ผู้เรียนสร้างความรู้ขึ้นได้ด้วย
ตนเอง
•ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
•การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิม และความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
•การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีความสาคัญต่อการเรียนรู้
•การจัดสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีความหมาย
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านการออกแบบการสอน (Instructional Design Roots)
•การศึกษาด้านสื่อเริ่มประมาณช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2
•สื่อการสอน (Instructional Media) และการออกแบบการสอน
(Instructional Design) ถูกพัฒนามาด้วยกันแต่ก็ยังแยกตัวเป็นอิสระ
จากกัน และแม้จะแยกกันแต่ก็มีบางส่วนที่มาบรรจบกัน
•สื่อต่างๆ เป็นส่วนหนึ่งของการสอน
•ช่วงทศวรรษที่ 1970 – 1980 สาขาวิชาด้านสื่อมีการเปลี่ยนแปลงและ
เติบโตมากขึ้น
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media Roots)
•ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อมีความสาคัญเพิ่มขึ้นในชุมชนโรงเรียน
•สื่อได้รับความสนใจมากขึ้นจนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางด้าน
โสตทัศนศึกษา
•สื่อ เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการทางเทคโนโลยีการศึกษา
•สื่อมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน (Instructional
Design) และการสื่อสาร (Communication)
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านสื่อการเรียนการสอน (Instructional Media Roots)
•คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับนวัตกรรมการศึกษา (Innovations)
•คอมพิวเตอร์ยุคแรกนาอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลมาใช้ในการสร้าง
•ปัจจุบันสมรรถนะของคอมพิวเตอร์สูงขึ้นและมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง
•มีซอฟต์แวร์ในการสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมากมาย
•เกิดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer Assisted
Instruction) ในรายวิชาต่างๆ มากมาย
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน(Instructional Computing Roots)
THE END

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล EditSiratcha Wongkom
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56krupornpana55
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริjeabjeabloei
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรNontaporn Pilawut
 

What's hot (20)

บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56หลักสูตร Is ม.ปลาย56
หลักสูตร Is ม.ปลาย56
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพรแบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
แบบรายงานการอบรมออนไลน์รองนนทพร
 

Similar to ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยีimmyberry
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
20140612 elearning
20140612 elearning20140612 elearning
20140612 elearningbundith
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีBoonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1Uraiwan Chankan
 
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการแนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการgeorge-tb
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาnilobon66
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1boomakung
 

Similar to ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา (20)

201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
701w2
701w2701w2
701w2
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
 
20140612 elearning
20140612 elearning20140612 elearning
20140612 elearning
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการแนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
แนวคิด ขอบข่าย พัฒนาการ
 
Original etcce1
Original etcce1Original etcce1
Original etcce1
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
AECT W1 704
AECT W1 704AECT W1 704
AECT W1 704
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 

More from jeerawan_l

Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมjeerawan_l
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาjeerawan_l
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาjeerawan_l
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanjeerawan_l
 

More from jeerawan_l (6)

Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawanเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา_jeerawan
 

ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา