SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
1
เปสวตีวิมาน
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๗. เปสวตีวิมาน
ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่หญิงชื่อเปสวดี
(เมื่อพระวังคีสเถระจะไต่ถามถึงบุพกรรมที่เทพธิดานั้นทาแล้วจึงกล่าวสรรเสริญวิ
มานของเธอเสียก่อนเป็นปฐมด้วยคาถา ๗ คาถาว่า)
[๖๔๖] (เทพธิดา) อาตมาได้เห็นวิมานสวยงาม(ของเธอ)นี้
ซึ่งมุงบังด้วยแก้วผลึก ข่ายเงินและข่ายทองคา มีพื้นวิจิตรตระการตาหลากสี
เป็นที่น่ารื่นรมย์ยินดี เป็นที่อยู่อาศัยอันเนรมิตไว้ดีแล้ว ประกอบด้วยซุ้มประตู
ที่ลานวิมานเกลื่อนกราดไปด้วยทรายทอง
[๖๔๗] วิมานของเธอนี้ส่องแสงสว่าง
เหมือนพระอาทิตย์บนท้องฟ้ ามีรัศมีตั้งพัน กาจัดความมืดในฤดูสารทกาล
และสว่างไสวไปทั่วสิบทิศ
เหมือนเปลวเพลิงซึ่งกาลังลุกโชนอยู่บนยอดภูเขาในเวลากลางคืน
[๖๔๘] วิมานนี้ประหนึ่งบาดนัยน์ตาอยู่ คล้ายกับสายฟ้ าแลบ
ลอยอยู่ในอากาศ น่ารื่นรมย์ใจ วิมานเธอนี้ก้องกังวาลไปด้วยเสียงดนตรี
คือพิณเครื่องใหญ่ กลอง ฉิ่งและกังสดาล มั่งคั่งรุ่งเรือง ดุจเมืองพระอินทร์
[๖๔๙] วิมานของเธอนี้อบอวลไปด้วยกลิ่นหอมระรื่น
แห่งไม้ชั้นเลิศนานาพันธุ์ ได้แก่ ดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกอุบล ดอกจงกลนี
ดอกคัดเค้า ดอกชบา ดอกอังกาบ ดอกรัง ดอกอโศก
แย้มกลีบบานสะพรั่งส่งกลิ่นหอมระรื่น
[๖๕๐] เทพธิดาผู้เรืองยศ สระโบกขรณีน่ารื่นรมย์
เรียงรายไปด้วยต้นหูกวาง ขนุนสาปะลอและต้นไม้มีกลิ่นหอม
มีทั้งไม้เลื้อยชูดอกออกช่อบานสะพรั่ง ห้อยย้อย
เกาะก่ายลงมาคล้ายกับข่ายแก้วมณี ปรากฏมีอยู่ใกล้วิมานเธอ
[๖๕๑] บุปผชาติที่เกิดในน้าและบนบกก็มี และพฤกษชาติเหล่าอื่น
ทั้งที่เป็นของมนุษย์ และเป็นทิพย์มิใช่เป็นของมนุษย์ก็มี
ทั้งหมดล้วนเกิดมีอยู่ใกล้วิมานของเธอ
[๖๕๒] นี้เป็ นผลแห่งการสารวมและการฝึก (การสารวมกายเป็นต้น
และการฝึกฝนอินทรีย์เป็นต้น) อย่างไร
เพราะผลกรรมอะไรเธอจึงมาเกิดในวิมานนี้ เทพธิดา ผู้มีขนตาหนางอนงาม
ขอเธอจงเล่าถึงกรรม เป็นเหตุให้เธอได้วิมานนี้ตามที่อาตมาถามตามสมควร
(ลาดับนั้น เทพธิดาตอบว่า)
2
[๖๕๓] วิมานที่ดิฉันได้แล้วนี้ มีฝูงนกกระเรียน
นกยูงและนกเขาไฟเที่ยวบินร่อนร้องไปมา
ทั้งนกนางนวลและพญาหงส์ทองซึ่งเป็ นนกทิพย์เที่ยวบินว่อนไปมาอยู่
และอึงคะนึงไปด้วยฝูงนกเป็ดน้า นกกาน้า นกดุเหว่าและฝูงนกประเภทอื่นๆ
[๖๕๔] มีไม้ดอกและไม้เลื้อยแผ่กิ่งก้านสาขานานาชนิด มีต้นแคฝอย
ต้นหว้า ต้นอโศก ดิฉันจะเล่าเหตุผลที่ดิฉันได้วิมานนี้ถวายพระคุณเจ้า
พระคุณเจ้าโปรดฟังเถิดเจ้าค่ะ
[๖๕๕] ข้าแต่พระคุณเจ้า ในชาติก่อน ดิฉันได้เกิดเป็ นหญิงสะใภ้
ในหมู่บ้านชื่อนาฬกคาม อยู่ทางทิศตะวันออกของแคว้นมคธ อันรุ่งเรือง
ชาวบ้านในหมู่บ้านนั้นรู้จักดิฉันในนามว่า เปสวดี
[๖๕๖] ดิฉันนั้นมีใจเบิกบาน ได้สั่งสมกุศลกรรมไว้ในชาติปางก่อนนั้น
คือได้เกลี่ยดอกคาโรยลงบูชาพระอุปติสสเถระ (พระธรรมเสนาบดี
(พระสารีบุตร)) ที่ทวยเทพและมนุษย์พากันบูชา ผู้มากไปด้วยกุศลธรรม
มีคุณธรรมสุดประมาณซึ่งดับกิเลสแล้ว
[๖๕๗] ครั้นบูชาพระเถระผู้มีคุณอันโอฬาร
ครองเรือนร่างเป็ นชาติสุดท้าย ผู้บรรลุอนุปาทิเสสนิพพานแล้ว
ดิฉันจึงละร่างมนุษย์มาเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครอบครองวิมานในเทวโลกนี้
เปสวตีวิมานที่ ๗ จบ
-----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ
อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปาริฉัตตกวรรคที่ ๓
๗. เสสวดีวิมาน
อรรถกถาเสสวดีวิมาน
เสสวดีวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ใกล้กรุงสาวัตถี.
สมัยนั้น
ได้มีลูกสะใภ้ของตระกูลชื่อเสสวดี ในตระกูลคหบดีมหาศาลตระกูลหนึ่ง ณ
นาลกคาม ในแคว้นมคธ.
ได้ยินว่า นางเสสวดีนั้น
เมื่อเขากาลังสร้างสถูปทองประมาณโยชน์หนึ่งของพระผู้มีพระภาคพระนามว่ากัส
สป เป็นเด็กหญิงได้ไปยังฐานเจดีย์กับมารดา ได้ถามมารดาว่า แม่จ๋า
คนเหล่านี้ทาอะไรกันจ๊ะ
มารดาตอบว่า เขาทาอิฐทองคาเพื่อสร้างเจดีย์ ลูก.
เด็กหญิงได้ฟังดังนั้นมีใจเลื่อมใส บอกกะมารดาว่า แม่จ๋า
3
ที่คอของลูกมีเครื่องประดับเล็กๆ ทาด้วยทองคา
ลูกจะให้เครื่องประดับนี้เพื่อสร้างเจดีย์นะแม่.
มารดาพูดว่า ดีแล้วลูก ให้ไปเถิด
แล้วก็ปลดเครื่องประดับนั้นจากคอมอบให้แก่ช่างทอง กล่าวว่า
เด็กหญิงคนนี้บริจาคเครื่องประดับนี้
ท่านจงใส่เครื่องประดับนี้ลงไปแล้วทาอิฐเถิด.
ช่างทองได้ทาตาม.
ครั้นต่อมา เด็กหญิงนั้นได้ถึงแก่กรรม
ด้วยบุญนั้นเองได้ไปบังเกิดในเทวโลก ท่องเที่ยวไปมาในเทวโลก
ครั้นถึงศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าของเรา ได้มาเกิดในนาลกคามจนอายุได้
๑๒ ขวบตามลาดับ.
วันหนึ่ง เด็กหญิงนั้นได้รับเงินที่มารดาส่งไปให้
จึงไปตลาดแห่งหนึ่งเพื่อซื้อน้ามัน. ก็ที่ตลาดนั้นมีบุตรกุฎุมพีคนหนึ่งเป็ นพ่อค้า
กาลังขุดเพื่อจะเอาเงินทองแก้วมุกดาแก้วมณีเป็นอันมากที่บิดาฝังเก็บไว้
ด้วยกาลังกรรมจึงเห็นสมบัติที่ขุดขึ้นมานั้นเป็ นกระเบื้อง หินและกรวดไปหมด
แต่นั้นจึงเอารวมเป็ นกองไว้ส่วนหนึ่ง เพื่อทดสอบว่าเงินและทองเป็ นต้น
จักเป็นของผู้มีบุญบ้างกระมัง.
ลาดับนั้น เด็กหญิงเห็นพ่อค้าบุตรกุฎุมพีนั้นจึงถามว่า
ทาไมจึงเอาแก้วมากองไว้ที่ตลาดอย่างนี้เล่า ควรจะเอาไปไว้เป็นอย่างดีมิใช่หรือ.
พ่อค้าได้ฟังดังนั้นคิดว่า เด็กหญิงผู้นี้มีบุญมาก
ของทั้งหมดนี้เป็ นเงินเป็ นต้นขึ้นมาได้ด้วยอานาจบุญของเด็กหญิงผู้นี้
เราทั้งสองจักเป็นผู้ครอบครองร่วมกัน เราจักสงเคราะห์เด็กหญิงนั้น
จึงไปหามารดาของเด็กหญิงแล้วขอว่า
ท่านจงให้เด็กหญิงนี้แก่ข้าพเจ้าเพื่อจะได้บุตรเถิด แล้วให้ทรัพย์เป็นอันมาก
ทาพิธีอาวาหวิวาหมงคล นาเด็กหญิงนั้นมาสู่เรือนของตน.
ต่อมา พ่อค้าผู้สามีได้เห็นศีลาจารวัตรของเด็กหญิงผู้เป็นภรรยานั้น
จึงเปิดห้องคลังแล้วถามว่า น้องเห็นอะไรในห้องคลังนี้บ้าง เมื่อภรรยาตอบว่า
น้องเห็นเงิน ทองคา แก้วมณีกองอยู่ จึงกล่าวต่อไปว่า
ของเหล่านี้ได้หายไปด้วยกาลังกรรมของพี่
ด้วยบุญวิเศษของน้องจึงเป็นของวิเศษอย่างเดิม. เพราะฉะนั้นตั้งแต่นี้ไป
น้องคนเดียวจงดูแลสมบัติทั้งหมดในเรือนนี้ พี่จักใช้เฉพาะส่วนที่น้องให้เท่านั้น
ตั้งแต่นั้นมา ชนทั้งหลายจึงตั้งชื่อเด็กหญิงนั้นว่า เสสวดี.
ก็สมัยนั้น ท่านพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรรู้ว่าตนจะสิ้นอายุ จึงคิดว่า
เราจักให้ค่าเลี้ยงดูแก่นางสารีพราหมณีผู้เป็นมารดาของเราแล้วจึงจักปรินิพพาน
แล้วเข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคเจ้า ขออนุญาตปรินิพพาน
4
ได้แสดงปาฏิหาริย์ครั้งใหญ่ตามพระพุทธบัญชา
สรรเสริญพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยบทสรรเสริญพันบท
แล้วมุ่งหน้าไปจนพ้นทัศนวิสัย แต่ยังไม่หลีกไปกลับมาถวายบังคมอีก
ห้อมล้อมด้วยภิกษุสงฆ์ออกจากวิหาร ให้โอวาทแก่ภิกษุสงฆ์
แล้วปลอบท่านพระอานนท์ ให้บริษัท ๔ กลับไปถึงนาลกคามโดยลาดับ
ให้มารดาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล รุ่งเช้าก็ปรินิพพานที่ห้องที่ท่านเกิดนั่นเอง.
เมื่อพระสารีบุตรปรินิพพานแล้ว
ทวยเทพและมนุษย์ทั้งหลายต่างทาสักการะศพ ล่วงไปถึง ๗ วัน
พากันก่อเจดีย์สูงร้อยศอกด้วยกฤษณาและไม้จันทน์.
นางเสสวดีได้ทราบข่าวการปรินิพพานของพระเถระจึงคิดว่า
เราจักไปบูชาศพ หมายใจว่า
จะให้คนรับใช้ถือผอบเต็มด้วยดอกไม้ทองคาและของหอมไป จึงไปลาพ่อผัว
แม้พ่อผัวจะพูดว่าเจ้ามีข้าวของหนักๆ และจะถูกผู้คนในที่นั้นเหยียบเอา
ส่งดอกไม้และของหอมไปก็พอแล้ว จงอยู่ในบ้านนี้แหละ. นางมีศรัทธากล้าคิดว่า
ถึงแม้เราจะตายลงไปในที่นั้น เราก็จักไปทาบูชาสักการะให้ได้
นางไม่ฟังคาพ่อผัว จึงพร้อมด้วยหญิงรับใช้พากันไป ณ ที่นั้น
ยืนประณมมือบูชาด้วยของหอมและดอกไม้เป็นต้น.
ขณะเมื่อข้าราชบริพารมาเพื่อบูชาพระเถระ
ช้างตกมันเชือกหนึ่งได้เข้าไปยังที่นั้น. เมื่อผู้คนกลัวตายพากันหนี
เพราะเห็นช้างนั้น หมู่ชนได้เหยียบนางเสสวดีซึ่งล้มลงแล้วถูกคนเหยียบจนตาย.
นางเสสวดีนั้นกระทาบูชาสักการะมีจิตถึงพร้อมด้วยความเลื่อมใสในพ
ระเถระ ครั้นถึงแก่กรรมแล้วก็ไปบังเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์.
นางได้มีนางอัปสรหนึ่งพันเป็ นบริวาร.
ในทันทีนั่นเอง นางเทพธิดาแลดูทิพยสมบัติของตน
ใคร่ครวญถึงเหตุแห่งทิพยสมบัตินั้นว่า เราได้สมบัตินี้ด้วยบุญเช่นไรหนอ
ครั้นเห็นการบูชาสักการะที่ตนทาเฉพาะพระเถระ
จึงมีจิตเลื่อมใสในพระรัตนตรัยยิ่งขึ้น
นางประดับร่างกายด้วยเครื่องประดับบรรทุกเกวียนได้ ๖๐ เล่มเกวียน
แวดล้อมด้วยนางอัปสรหนึ่งพันเพื่อถวายบังคมพระศาสดา
ด้วยเทพฤทธิ์อันยิ่งใหญ่ ยังสิบทิศให้สว่างไสวดุจพระจันทร์และดุจพระอาทิตย์
มาพร้อมกับวิมาน ลงจากวิมานยืนประคองอัญชลี
ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า.
ขณะนั้น ท่านพระวังคีสะนั่งอยู่ใกล้พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงทูลกะพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ปัญหาย่อมปรากฏแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะทูลถามถึงกรรมที่เทพธิดานี้กระทาไว้.
5
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า วังคีสะ ปัญหาจงปรากฏแก่เธอเถิด
ดังนี้.
จึงท่านวังคีสะประสงค์จะถามถึงกรรมที่เทพธิดานั้นทาไว้
เมื่อจะสรรเสริญวิมานของเทพธิดานั้นเสียก่อนเป็นปฐม จึงกล่าวว่า
ดูก่อนเทพธิดา อาตมาได้เห็นวิมานของท่านนี้มุงด้วยแก้วผลึก
ข่ายเงินและข่ายทองคา มีพื้นวิจิตรหลายอย่าง น่ารื่นรมย์ เป็ นภพที่น่าอยู่
เนรมิตไว้เป็ นอย่างดี มีซุ้มประตูแล้วด้วยแก้ว ๗ ประการ
ที่ลานวิมานเรี่ยรายไปด้วยทรายทอง งดงามมาก ส่องแสงไปทั่วสิบทิศ
เหมือนพระอาทิตย์บนท้องฟ้ า มีรัศมีตั้งพัน กาจัดความมืดได้ในสรทกาล
วิมานของท่านนี้ย่อมส่องแสงเหมือนกับแสงเปลวไฟ
ซึ่งกาลังลุกอยู่บนยอดภูเขาในเวลากลางคืน
หรือคล้ายกับการลืมตาขึ้นขณะที่ฟ้ าแลบบนอากาศฉะนั้น
วิมานนี้เป็ นวิมานลอยอยู่บนอากาศ ก้องกังวานไปด้วยเสียงดนตรี คือ
พิณ กลองและกังสดาล ประโคมอยู่มิได้ขาดระยะ
สุทัสนเทพนครอันเป็ นเมืองพระอินทร์ ซึ่งมั่งคั่งไปด้วยสมบัติทิพย์ฉันใด
วิมานของท่านนี้ก็ฉันนั้น
วิมานของท่านนี้ฟุ้ งไปด้วยกลิ่นหอมอย่างเยี่ยมหลายอย่างต่างๆ กัน
คือกลิ่นดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกอุบล ดอกจงกลนี ดอกคัดเค้า ดอกพุดซ้อน
ดอกกุหลาบ ดอกอังกาบ ดอกรัง ดอกอโศก แย้มกลีบส่งกลิ่นหอม
ทั้งตั้งอยู่บนริมฝั่งสระโบกขรณีน่ารื่นรมย์ เรียงรายไปด้วยไม้หูกวาง
ขนุนสามะลอและต้นไม้กลิ่นหอม มีทั้งไม้เลื้อย ชูดอกออกช่อหอมระรื่น
ห้อยย้อยเกาะก่ายลงมาจากใบต้นตาลและมะพร้าว
คล้ายกับข่ายแก้วมณีและแก้วประพาฬ อันเป็นของทิพย์
มีขึ้นสาหรับท่านผู้เรืองยศ
อนึ่ง ต้นไม้และดอกไม้ผลไม้ ซึ่งเกิดอยู่ในน้าและบนบก
ทั้งเป็นรุกขชาติที่มีอยู่ในเมืองมนุษย์และไม่มีในเมืองมนุษย์
ตลอดจนพรรณไม้ทิพย์ประจา เมืองสวรรค์ ก็ได้มีพร้อมอยู่ใกล้วิมานของท่าน
ท่านได้สมบัติทิพย์ ทั้งนี้เป็นผลแห่งการประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ
และการสารวม การฝึกฝนอินทรีย์อย่างไร เพราะผลกรรมอะไร
ท่านจึงมาเกิดในวิมานนี้.
ดูก่อนเทพธิดาผู้มีขนตางอนงาม ขอท่านจงตอบถึงผลกรรม
เป็นเหตุได้วิมานที่ท่านได้แล้วนี้ ตามคาที่อาตมาถามเถิด.
ลาดับนั้น เทพธิดาตอบว่า
ก็วิมานที่ดีฉันได้แล้วนี้ มีฝูงหงส์ นกกระเรียน ไก่ฟ้ า
นกกดและนกเขาไฟ เที่ยวร่อนร้องไปมา ทั้งเต็มไปด้วยหมู่นกนางนวล นกกระทุง
6
พญาหงส์ซึ่งเป็ นนกทิพย์ ซึ่งบินไปมาอยู่ตามลาน้า
และอึงคะนึงไปด้วยฝูงนกประเภทอื่นๆ อีก คือนกเป็ดน้า นกค้อนหอย
นกดุเหว่าลาย นกดุเหว่าขาว มีทั้งต้นไม้ดอก ไม้ต้นไม้ผล อันเกิดเองหลายอย่าง
เช่นต้นแคฝอย ต้นหว้า ต้นอโศก
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ดีฉันได้วิมานนี้มาด้วยเหตุอันใด
ดีฉันจะเล่าเหตุอันนั้นถวาย นิมนต์ฟังเถิด คือมีหมู่บ้านหมู่หนึ่งชื่อว่านาลกคาม
ตั้งอยู่ทางทิศเบื้องหน้าของแคว้นมคธ
ดีฉันเป็ นบุตรสะใภ้ประจาตระกูลของบ้านนั้นอันตั้งอยู่ภายในบุรี
ประชาชนในหมู่บ้านนั้น เรียกดีฉันว่าเสสวดี
ดีฉันมีน้าใจชื่นบาน ได้สร้างกุศลกรรมไว้ในชาตินั้น
คือได้บูชาพระธาตุของพระธรรมเสนาบดี นามว่าอุปติสสะ
ซึ่งเป็ นที่บูชาของทวยเทพและมนุษย์ทั้งหลายผู้มากไปด้วยคุณความดีมีศีลเป็ นต้น
หาประมาณมิได้ ซึ่งนิพพานไปแล้ว ด้วยเครื่องสักการะหลายอย่าง
ล้วนแต่รัตนะและดอกคา ครั้นบูชาพระธาตุของท่านผู้แสวงหาคุณอย่างยอดยิ่ง
ผู้ถึงอนุปาทิเสสนิพพานแล้ว ซึ่งในที่สุดยังเหลือแต่พระธาตุเท่านั้น
ครั้นดีฉันละกายมนุษย์นั้นแล้ว
จึงได้มาเกิดในดาวดึงส์สวรรค์ชั้นไตรทศอยู่ประจาวิมานในเทวโลกนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทากถามรรคที่ท่านพระวังคีสะและเทพธิด
ากล่าวให้เป็ นเรื่องเกิดขึ้น
แล้วจึงทรงแสดงธรรมแก่บริษัทที่ประชุมกันโดยพิสดาร.
เทศนาได้มีประโยชน์แก่มหาชนด้วยประการฉะนี้.
จบอรรถกถาเสสวดีวิมาน
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๓๕. เปสวตีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

Similar to ๓๕. เปสวตีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx (20)

๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๗๐. ภิกขาทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๐. ปฐมนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๑. ปฐมปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๑. ปฐมปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๑. ปฐมปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๑. ปฐมปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๖. มัลลิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

More from maruay songtanin

400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

๓๕. เปสวตีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

  • 1. 1 เปสวตีวิมาน พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา ๗. เปสวตีวิมาน ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่หญิงชื่อเปสวดี (เมื่อพระวังคีสเถระจะไต่ถามถึงบุพกรรมที่เทพธิดานั้นทาแล้วจึงกล่าวสรรเสริญวิ มานของเธอเสียก่อนเป็นปฐมด้วยคาถา ๗ คาถาว่า) [๖๔๖] (เทพธิดา) อาตมาได้เห็นวิมานสวยงาม(ของเธอ)นี้ ซึ่งมุงบังด้วยแก้วผลึก ข่ายเงินและข่ายทองคา มีพื้นวิจิตรตระการตาหลากสี เป็นที่น่ารื่นรมย์ยินดี เป็นที่อยู่อาศัยอันเนรมิตไว้ดีแล้ว ประกอบด้วยซุ้มประตู ที่ลานวิมานเกลื่อนกราดไปด้วยทรายทอง [๖๔๗] วิมานของเธอนี้ส่องแสงสว่าง เหมือนพระอาทิตย์บนท้องฟ้ ามีรัศมีตั้งพัน กาจัดความมืดในฤดูสารทกาล และสว่างไสวไปทั่วสิบทิศ เหมือนเปลวเพลิงซึ่งกาลังลุกโชนอยู่บนยอดภูเขาในเวลากลางคืน [๖๔๘] วิมานนี้ประหนึ่งบาดนัยน์ตาอยู่ คล้ายกับสายฟ้ าแลบ ลอยอยู่ในอากาศ น่ารื่นรมย์ใจ วิมานเธอนี้ก้องกังวาลไปด้วยเสียงดนตรี คือพิณเครื่องใหญ่ กลอง ฉิ่งและกังสดาล มั่งคั่งรุ่งเรือง ดุจเมืองพระอินทร์ [๖๔๙] วิมานของเธอนี้อบอวลไปด้วยกลิ่นหอมระรื่น แห่งไม้ชั้นเลิศนานาพันธุ์ ได้แก่ ดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกอุบล ดอกจงกลนี ดอกคัดเค้า ดอกชบา ดอกอังกาบ ดอกรัง ดอกอโศก แย้มกลีบบานสะพรั่งส่งกลิ่นหอมระรื่น [๖๕๐] เทพธิดาผู้เรืองยศ สระโบกขรณีน่ารื่นรมย์ เรียงรายไปด้วยต้นหูกวาง ขนุนสาปะลอและต้นไม้มีกลิ่นหอม มีทั้งไม้เลื้อยชูดอกออกช่อบานสะพรั่ง ห้อยย้อย เกาะก่ายลงมาคล้ายกับข่ายแก้วมณี ปรากฏมีอยู่ใกล้วิมานเธอ [๖๕๑] บุปผชาติที่เกิดในน้าและบนบกก็มี และพฤกษชาติเหล่าอื่น ทั้งที่เป็นของมนุษย์ และเป็นทิพย์มิใช่เป็นของมนุษย์ก็มี ทั้งหมดล้วนเกิดมีอยู่ใกล้วิมานของเธอ [๖๕๒] นี้เป็ นผลแห่งการสารวมและการฝึก (การสารวมกายเป็นต้น และการฝึกฝนอินทรีย์เป็นต้น) อย่างไร เพราะผลกรรมอะไรเธอจึงมาเกิดในวิมานนี้ เทพธิดา ผู้มีขนตาหนางอนงาม ขอเธอจงเล่าถึงกรรม เป็นเหตุให้เธอได้วิมานนี้ตามที่อาตมาถามตามสมควร (ลาดับนั้น เทพธิดาตอบว่า)
  • 2. 2 [๖๕๓] วิมานที่ดิฉันได้แล้วนี้ มีฝูงนกกระเรียน นกยูงและนกเขาไฟเที่ยวบินร่อนร้องไปมา ทั้งนกนางนวลและพญาหงส์ทองซึ่งเป็ นนกทิพย์เที่ยวบินว่อนไปมาอยู่ และอึงคะนึงไปด้วยฝูงนกเป็ดน้า นกกาน้า นกดุเหว่าและฝูงนกประเภทอื่นๆ [๖๕๔] มีไม้ดอกและไม้เลื้อยแผ่กิ่งก้านสาขานานาชนิด มีต้นแคฝอย ต้นหว้า ต้นอโศก ดิฉันจะเล่าเหตุผลที่ดิฉันได้วิมานนี้ถวายพระคุณเจ้า พระคุณเจ้าโปรดฟังเถิดเจ้าค่ะ [๖๕๕] ข้าแต่พระคุณเจ้า ในชาติก่อน ดิฉันได้เกิดเป็ นหญิงสะใภ้ ในหมู่บ้านชื่อนาฬกคาม อยู่ทางทิศตะวันออกของแคว้นมคธ อันรุ่งเรือง ชาวบ้านในหมู่บ้านนั้นรู้จักดิฉันในนามว่า เปสวดี [๖๕๖] ดิฉันนั้นมีใจเบิกบาน ได้สั่งสมกุศลกรรมไว้ในชาติปางก่อนนั้น คือได้เกลี่ยดอกคาโรยลงบูชาพระอุปติสสเถระ (พระธรรมเสนาบดี (พระสารีบุตร)) ที่ทวยเทพและมนุษย์พากันบูชา ผู้มากไปด้วยกุศลธรรม มีคุณธรรมสุดประมาณซึ่งดับกิเลสแล้ว [๖๕๗] ครั้นบูชาพระเถระผู้มีคุณอันโอฬาร ครองเรือนร่างเป็ นชาติสุดท้าย ผู้บรรลุอนุปาทิเสสนิพพานแล้ว ดิฉันจึงละร่างมนุษย์มาเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครอบครองวิมานในเทวโลกนี้ เปสวตีวิมานที่ ๗ จบ ----------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปาริฉัตตกวรรคที่ ๓ ๗. เสสวดีวิมาน อรรถกถาเสสวดีวิมาน เสสวดีวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร ? พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ใกล้กรุงสาวัตถี. สมัยนั้น ได้มีลูกสะใภ้ของตระกูลชื่อเสสวดี ในตระกูลคหบดีมหาศาลตระกูลหนึ่ง ณ นาลกคาม ในแคว้นมคธ. ได้ยินว่า นางเสสวดีนั้น เมื่อเขากาลังสร้างสถูปทองประมาณโยชน์หนึ่งของพระผู้มีพระภาคพระนามว่ากัส สป เป็นเด็กหญิงได้ไปยังฐานเจดีย์กับมารดา ได้ถามมารดาว่า แม่จ๋า คนเหล่านี้ทาอะไรกันจ๊ะ มารดาตอบว่า เขาทาอิฐทองคาเพื่อสร้างเจดีย์ ลูก. เด็กหญิงได้ฟังดังนั้นมีใจเลื่อมใส บอกกะมารดาว่า แม่จ๋า
  • 3. 3 ที่คอของลูกมีเครื่องประดับเล็กๆ ทาด้วยทองคา ลูกจะให้เครื่องประดับนี้เพื่อสร้างเจดีย์นะแม่. มารดาพูดว่า ดีแล้วลูก ให้ไปเถิด แล้วก็ปลดเครื่องประดับนั้นจากคอมอบให้แก่ช่างทอง กล่าวว่า เด็กหญิงคนนี้บริจาคเครื่องประดับนี้ ท่านจงใส่เครื่องประดับนี้ลงไปแล้วทาอิฐเถิด. ช่างทองได้ทาตาม. ครั้นต่อมา เด็กหญิงนั้นได้ถึงแก่กรรม ด้วยบุญนั้นเองได้ไปบังเกิดในเทวโลก ท่องเที่ยวไปมาในเทวโลก ครั้นถึงศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าของเรา ได้มาเกิดในนาลกคามจนอายุได้ ๑๒ ขวบตามลาดับ. วันหนึ่ง เด็กหญิงนั้นได้รับเงินที่มารดาส่งไปให้ จึงไปตลาดแห่งหนึ่งเพื่อซื้อน้ามัน. ก็ที่ตลาดนั้นมีบุตรกุฎุมพีคนหนึ่งเป็ นพ่อค้า กาลังขุดเพื่อจะเอาเงินทองแก้วมุกดาแก้วมณีเป็นอันมากที่บิดาฝังเก็บไว้ ด้วยกาลังกรรมจึงเห็นสมบัติที่ขุดขึ้นมานั้นเป็ นกระเบื้อง หินและกรวดไปหมด แต่นั้นจึงเอารวมเป็ นกองไว้ส่วนหนึ่ง เพื่อทดสอบว่าเงินและทองเป็ นต้น จักเป็นของผู้มีบุญบ้างกระมัง. ลาดับนั้น เด็กหญิงเห็นพ่อค้าบุตรกุฎุมพีนั้นจึงถามว่า ทาไมจึงเอาแก้วมากองไว้ที่ตลาดอย่างนี้เล่า ควรจะเอาไปไว้เป็นอย่างดีมิใช่หรือ. พ่อค้าได้ฟังดังนั้นคิดว่า เด็กหญิงผู้นี้มีบุญมาก ของทั้งหมดนี้เป็ นเงินเป็ นต้นขึ้นมาได้ด้วยอานาจบุญของเด็กหญิงผู้นี้ เราทั้งสองจักเป็นผู้ครอบครองร่วมกัน เราจักสงเคราะห์เด็กหญิงนั้น จึงไปหามารดาของเด็กหญิงแล้วขอว่า ท่านจงให้เด็กหญิงนี้แก่ข้าพเจ้าเพื่อจะได้บุตรเถิด แล้วให้ทรัพย์เป็นอันมาก ทาพิธีอาวาหวิวาหมงคล นาเด็กหญิงนั้นมาสู่เรือนของตน. ต่อมา พ่อค้าผู้สามีได้เห็นศีลาจารวัตรของเด็กหญิงผู้เป็นภรรยานั้น จึงเปิดห้องคลังแล้วถามว่า น้องเห็นอะไรในห้องคลังนี้บ้าง เมื่อภรรยาตอบว่า น้องเห็นเงิน ทองคา แก้วมณีกองอยู่ จึงกล่าวต่อไปว่า ของเหล่านี้ได้หายไปด้วยกาลังกรรมของพี่ ด้วยบุญวิเศษของน้องจึงเป็นของวิเศษอย่างเดิม. เพราะฉะนั้นตั้งแต่นี้ไป น้องคนเดียวจงดูแลสมบัติทั้งหมดในเรือนนี้ พี่จักใช้เฉพาะส่วนที่น้องให้เท่านั้น ตั้งแต่นั้นมา ชนทั้งหลายจึงตั้งชื่อเด็กหญิงนั้นว่า เสสวดี. ก็สมัยนั้น ท่านพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรรู้ว่าตนจะสิ้นอายุ จึงคิดว่า เราจักให้ค่าเลี้ยงดูแก่นางสารีพราหมณีผู้เป็นมารดาของเราแล้วจึงจักปรินิพพาน แล้วเข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคเจ้า ขออนุญาตปรินิพพาน
  • 4. 4 ได้แสดงปาฏิหาริย์ครั้งใหญ่ตามพระพุทธบัญชา สรรเสริญพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยบทสรรเสริญพันบท แล้วมุ่งหน้าไปจนพ้นทัศนวิสัย แต่ยังไม่หลีกไปกลับมาถวายบังคมอีก ห้อมล้อมด้วยภิกษุสงฆ์ออกจากวิหาร ให้โอวาทแก่ภิกษุสงฆ์ แล้วปลอบท่านพระอานนท์ ให้บริษัท ๔ กลับไปถึงนาลกคามโดยลาดับ ให้มารดาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล รุ่งเช้าก็ปรินิพพานที่ห้องที่ท่านเกิดนั่นเอง. เมื่อพระสารีบุตรปรินิพพานแล้ว ทวยเทพและมนุษย์ทั้งหลายต่างทาสักการะศพ ล่วงไปถึง ๗ วัน พากันก่อเจดีย์สูงร้อยศอกด้วยกฤษณาและไม้จันทน์. นางเสสวดีได้ทราบข่าวการปรินิพพานของพระเถระจึงคิดว่า เราจักไปบูชาศพ หมายใจว่า จะให้คนรับใช้ถือผอบเต็มด้วยดอกไม้ทองคาและของหอมไป จึงไปลาพ่อผัว แม้พ่อผัวจะพูดว่าเจ้ามีข้าวของหนักๆ และจะถูกผู้คนในที่นั้นเหยียบเอา ส่งดอกไม้และของหอมไปก็พอแล้ว จงอยู่ในบ้านนี้แหละ. นางมีศรัทธากล้าคิดว่า ถึงแม้เราจะตายลงไปในที่นั้น เราก็จักไปทาบูชาสักการะให้ได้ นางไม่ฟังคาพ่อผัว จึงพร้อมด้วยหญิงรับใช้พากันไป ณ ที่นั้น ยืนประณมมือบูชาด้วยของหอมและดอกไม้เป็นต้น. ขณะเมื่อข้าราชบริพารมาเพื่อบูชาพระเถระ ช้างตกมันเชือกหนึ่งได้เข้าไปยังที่นั้น. เมื่อผู้คนกลัวตายพากันหนี เพราะเห็นช้างนั้น หมู่ชนได้เหยียบนางเสสวดีซึ่งล้มลงแล้วถูกคนเหยียบจนตาย. นางเสสวดีนั้นกระทาบูชาสักการะมีจิตถึงพร้อมด้วยความเลื่อมใสในพ ระเถระ ครั้นถึงแก่กรรมแล้วก็ไปบังเกิดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์. นางได้มีนางอัปสรหนึ่งพันเป็ นบริวาร. ในทันทีนั่นเอง นางเทพธิดาแลดูทิพยสมบัติของตน ใคร่ครวญถึงเหตุแห่งทิพยสมบัตินั้นว่า เราได้สมบัตินี้ด้วยบุญเช่นไรหนอ ครั้นเห็นการบูชาสักการะที่ตนทาเฉพาะพระเถระ จึงมีจิตเลื่อมใสในพระรัตนตรัยยิ่งขึ้น นางประดับร่างกายด้วยเครื่องประดับบรรทุกเกวียนได้ ๖๐ เล่มเกวียน แวดล้อมด้วยนางอัปสรหนึ่งพันเพื่อถวายบังคมพระศาสดา ด้วยเทพฤทธิ์อันยิ่งใหญ่ ยังสิบทิศให้สว่างไสวดุจพระจันทร์และดุจพระอาทิตย์ มาพร้อมกับวิมาน ลงจากวิมานยืนประคองอัญชลี ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า. ขณะนั้น ท่านพระวังคีสะนั่งอยู่ใกล้พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทูลกะพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ปัญหาย่อมปรากฏแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะทูลถามถึงกรรมที่เทพธิดานี้กระทาไว้.
  • 5. 5 พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า วังคีสะ ปัญหาจงปรากฏแก่เธอเถิด ดังนี้. จึงท่านวังคีสะประสงค์จะถามถึงกรรมที่เทพธิดานั้นทาไว้ เมื่อจะสรรเสริญวิมานของเทพธิดานั้นเสียก่อนเป็นปฐม จึงกล่าวว่า ดูก่อนเทพธิดา อาตมาได้เห็นวิมานของท่านนี้มุงด้วยแก้วผลึก ข่ายเงินและข่ายทองคา มีพื้นวิจิตรหลายอย่าง น่ารื่นรมย์ เป็ นภพที่น่าอยู่ เนรมิตไว้เป็ นอย่างดี มีซุ้มประตูแล้วด้วยแก้ว ๗ ประการ ที่ลานวิมานเรี่ยรายไปด้วยทรายทอง งดงามมาก ส่องแสงไปทั่วสิบทิศ เหมือนพระอาทิตย์บนท้องฟ้ า มีรัศมีตั้งพัน กาจัดความมืดได้ในสรทกาล วิมานของท่านนี้ย่อมส่องแสงเหมือนกับแสงเปลวไฟ ซึ่งกาลังลุกอยู่บนยอดภูเขาในเวลากลางคืน หรือคล้ายกับการลืมตาขึ้นขณะที่ฟ้ าแลบบนอากาศฉะนั้น วิมานนี้เป็ นวิมานลอยอยู่บนอากาศ ก้องกังวานไปด้วยเสียงดนตรี คือ พิณ กลองและกังสดาล ประโคมอยู่มิได้ขาดระยะ สุทัสนเทพนครอันเป็ นเมืองพระอินทร์ ซึ่งมั่งคั่งไปด้วยสมบัติทิพย์ฉันใด วิมานของท่านนี้ก็ฉันนั้น วิมานของท่านนี้ฟุ้ งไปด้วยกลิ่นหอมอย่างเยี่ยมหลายอย่างต่างๆ กัน คือกลิ่นดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกอุบล ดอกจงกลนี ดอกคัดเค้า ดอกพุดซ้อน ดอกกุหลาบ ดอกอังกาบ ดอกรัง ดอกอโศก แย้มกลีบส่งกลิ่นหอม ทั้งตั้งอยู่บนริมฝั่งสระโบกขรณีน่ารื่นรมย์ เรียงรายไปด้วยไม้หูกวาง ขนุนสามะลอและต้นไม้กลิ่นหอม มีทั้งไม้เลื้อย ชูดอกออกช่อหอมระรื่น ห้อยย้อยเกาะก่ายลงมาจากใบต้นตาลและมะพร้าว คล้ายกับข่ายแก้วมณีและแก้วประพาฬ อันเป็นของทิพย์ มีขึ้นสาหรับท่านผู้เรืองยศ อนึ่ง ต้นไม้และดอกไม้ผลไม้ ซึ่งเกิดอยู่ในน้าและบนบก ทั้งเป็นรุกขชาติที่มีอยู่ในเมืองมนุษย์และไม่มีในเมืองมนุษย์ ตลอดจนพรรณไม้ทิพย์ประจา เมืองสวรรค์ ก็ได้มีพร้อมอยู่ใกล้วิมานของท่าน ท่านได้สมบัติทิพย์ ทั้งนี้เป็นผลแห่งการประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ และการสารวม การฝึกฝนอินทรีย์อย่างไร เพราะผลกรรมอะไร ท่านจึงมาเกิดในวิมานนี้. ดูก่อนเทพธิดาผู้มีขนตางอนงาม ขอท่านจงตอบถึงผลกรรม เป็นเหตุได้วิมานที่ท่านได้แล้วนี้ ตามคาที่อาตมาถามเถิด. ลาดับนั้น เทพธิดาตอบว่า ก็วิมานที่ดีฉันได้แล้วนี้ มีฝูงหงส์ นกกระเรียน ไก่ฟ้ า นกกดและนกเขาไฟ เที่ยวร่อนร้องไปมา ทั้งเต็มไปด้วยหมู่นกนางนวล นกกระทุง
  • 6. 6 พญาหงส์ซึ่งเป็ นนกทิพย์ ซึ่งบินไปมาอยู่ตามลาน้า และอึงคะนึงไปด้วยฝูงนกประเภทอื่นๆ อีก คือนกเป็ดน้า นกค้อนหอย นกดุเหว่าลาย นกดุเหว่าขาว มีทั้งต้นไม้ดอก ไม้ต้นไม้ผล อันเกิดเองหลายอย่าง เช่นต้นแคฝอย ต้นหว้า ต้นอโศก ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ดีฉันได้วิมานนี้มาด้วยเหตุอันใด ดีฉันจะเล่าเหตุอันนั้นถวาย นิมนต์ฟังเถิด คือมีหมู่บ้านหมู่หนึ่งชื่อว่านาลกคาม ตั้งอยู่ทางทิศเบื้องหน้าของแคว้นมคธ ดีฉันเป็ นบุตรสะใภ้ประจาตระกูลของบ้านนั้นอันตั้งอยู่ภายในบุรี ประชาชนในหมู่บ้านนั้น เรียกดีฉันว่าเสสวดี ดีฉันมีน้าใจชื่นบาน ได้สร้างกุศลกรรมไว้ในชาตินั้น คือได้บูชาพระธาตุของพระธรรมเสนาบดี นามว่าอุปติสสะ ซึ่งเป็ นที่บูชาของทวยเทพและมนุษย์ทั้งหลายผู้มากไปด้วยคุณความดีมีศีลเป็ นต้น หาประมาณมิได้ ซึ่งนิพพานไปแล้ว ด้วยเครื่องสักการะหลายอย่าง ล้วนแต่รัตนะและดอกคา ครั้นบูชาพระธาตุของท่านผู้แสวงหาคุณอย่างยอดยิ่ง ผู้ถึงอนุปาทิเสสนิพพานแล้ว ซึ่งในที่สุดยังเหลือแต่พระธาตุเท่านั้น ครั้นดีฉันละกายมนุษย์นั้นแล้ว จึงได้มาเกิดในดาวดึงส์สวรรค์ชั้นไตรทศอยู่ประจาวิมานในเทวโลกนี้. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทากถามรรคที่ท่านพระวังคีสะและเทพธิด ากล่าวให้เป็ นเรื่องเกิดขึ้น แล้วจึงทรงแสดงธรรมแก่บริษัทที่ประชุมกันโดยพิสดาร. เทศนาได้มีประโยชน์แก่มหาชนด้วยประการฉะนี้. จบอรรถกถาเสสวดีวิมาน -----------------------------------------------------