SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1
เปสการิยวิมาน
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๑๗. เปสการิยวิมาน
ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่ธิดาช่างหูก
(ท้าวสักกะตรัสถามเทพธิดาว่า)
[๑๕๐] วิมานนี้น่ารื่นรมย์ เสาทาด้วยแก้วไพฑูรย์
เปล่งแสงเรืองรองอยู่เป็นนิตย์ จัดไว้เป็ นสัดส่วนอย่างดี มีต้นไม้ทองขึ้นรอบด้าน
เป็นสถานที่เกิดมีเพราะผลกรรมของเรา
[๑๕๑] เทพอัปสรซึ่งมีอยู่ก่อนตั้งแสนเหล่านี้
เกิดในวิมานนั้นด้วยกรรมของตน เธอก็เกิดเองด้วยกรรมของตน มีบริวารยศ
เปล่งรัศมีข่มเหล่าเทพอัปสรผู้เกิดก่อนอยู่
[๑๕๒] เธอผู้ทรงบริวารยศ เปล่งรัศมีรุ่งเรืองข่มหมู่เทพอัปสรนี้อยู่
ประหนึ่งพระจันทร์ ผู้เป็ นราชาแห่งดาวนักษัตร
ส่องแสงสกาวข่มหมู่ดาวอยู่ฉะนั้นเทียว
[๑๕๓] แม่เทพธิดาผู้น่าชม มองแล้วไม่เบื่อ
เธอมาจากไหนหนอจึงอุบัติยังภพของเรานี้ เราทั้งมวลมองดูเธอไม่รู้จักอิ่ม
เหมือนทวยเทพชั้นไตรทศ (ดาวดึงส์)
รวมทั้งพระอินทร์มองดูพระพรหมไม่รู้จักอิ่ม
(เทพธิดาผู้อันท้าวสักกเทวราชตรัสถามอย่างนั้นแล้ว
เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้นจึงกล่าวตอบเป็น ๒ คาถาว่า)
[๑๕๔] ข้าแต่ท้าวสักกะ ข้อที่พระองค์รับสั่งถามหม่อมฉันว่า
เธอจุติจากภพไหนจึงได้มาเกิดที่ภพของเรานี้ หม่อมฉันขอเฉลยว่า
เมื่อชาติก่อนหม่อมฉันเกิดเป็นธิดาของช่างหูก
อยู่ในกรุงพาราณสีซึ่งเป็ นราชธานีแคว้นกาสี
[๑๕๕] หม่อมฉันมีใจเลื่อมใสในพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์
เชื่อมั่นไม่หวั่นไหว หมดความสงสัย ได้รักษาสิกขาบท (ศีล) มิให้ขาด
บรรลุอริยผลมีความแน่นอนที่จะสาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า (สัมโพธิ
ในที่นี้หมายถึง มรรค ๓ เบื้องสูง (สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค
และอรหัตตมรรค)) ไม่มีทุกข์
(เมื่อจะทรงชื่นชมบุญสมบัติและทิพยสมบัติของเทพธิดานั้น
ท้าวสักกเทวราชจึงตรัสคาถาครึ่ง ความว่า)
[๑๕๖] แม่เทพธิดาผู้มีใจเลื่อมใสในพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์
เชื่อมั่นไม่หวั่นไหว หมดความสงสัย รักษาสิกขาบทมิให้ขาด บรรลุอริยผล
มีความแน่นอนที่จะสาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า ไม่มีทุกข์
2
เราขอแสดงความชื่นชมต่อบุญสมบัติและทิพยสมบัติของเธอนั้น
และขอแสดงความยินดีต่อการมาดีของเธอ เธอก็รุ่งเรืองด้วยธรรมและบริวารยศ
เปสการิยวิมานที่ ๑๗ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ
อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปิฐวรรคที่ ๑
๑๗. เปสการิยวิมาน
อรรถกถาเปสการิยวิมาน
เปสการิยวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร?
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมิคทายวัน กรุงพาราณสี.
สมัยนั้น เวลาเช้า ภิกษุเป็นอันมากนุ่งแล้ว
ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงพาราณสี.
ภิกษุเหล่านั้นเดินเข้าไปใกล้ประตูเรือนของพราหมณ์ผู้หนึ่ง.
ในเรือนหลังนั้น ธิดาของพราหมณ์
ชื่อเปสการี กาลังเก็บเหาจากศีรษะของมารดา ใกล้กับประตูเรือน
เห็นภิกษุเหล่านั้นกาลังเดินไป จึงพูดกะมารดาว่า แม่จ๋า
นักบวชเหล่านี้ยังหนุ่มแน่นอยู่ในปฐมวัย สะสวย น่าดูน่าชม ละเอียดอ่อน
ชะรอยจะสูญเสียอะไรบางอย่างไปกระมัง
เหตุไรหนอจึงพากันบวชในวัยนี้นะแม่นะ.
มารดาพูดกะธิดาว่า ลูกเอ๋ย
มีโอรสเจ้าศากยะออกผนวชจากราชตระกูลศากยะเกิดเป็ นพระพุทธเจ้าขึ้นในโลก
. พระองค์ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด
ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ
บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง นักบวชเหล่านี้ฟังธรรมของพระองค์แล้วก็พากันออกบวช
จ้ะลูก.
สมัยนั้น อุบาสกผู้หนึ่งบรรลุผลรู้แจ่มแจ้งคาสั่งสอน
เดินไปตามถนนนั้น ได้ยินคากล่าวนั้นแล้วก็เข้าไปหาสตรีทั้งสองนั้น. ขณะนั้น
พราหมณ์จึงกล่าวกะอุบาสกผู้นั้นว่า ท่านอุบาสก
เดี๋ยวนี้กุลบุตรจานวนมากสละโภคสมบัติเป็นอันมาก สละเครือญาติใหญ่ๆ
พากันบวชในลัทธิสมัยของพระศากยเจ้า
กุลบุตรเหล่านั้นเห็นอานาจประโยชน์อะไรหนอจึงพากันบวช.
อุบาสกฟังคานั้นแล้วกล่าวว่า เห็นโทษในกามทั้งหลาย
เห็นอานิสงส์ในการออกบวช
แล้วจึงขยายความนั้นตามสมควรแก่กาลังความรู้ของตนโดยพิสดาร
พรรณนาคุณของพระรัตนตรัย ประกาศคุณานิสงส์ของศีล ๕ ทั้งปัจจุบัน
3
ทั้งภายหน้า.
ลาดับนั้น ธิดาของพราหมณ์จึงถามอุบาสกนั้นว่า
แม้เราก็สามารถตั้งอยู่ในสรณะและศีล แล้วบรรลุคุณานิสงส์ที่ท่านกล่าวได้หรือ.
อุบาสกนั้นกล่าวว่า ธรรมเหล่านี้
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสทั่วไปแก่คนทุกคน เหตุไรจะไม่สามารถเล่า
แล้วได้ให้สรณะและศีลแก่นาง.
ธิดาพราหมณ์นั้นรับสรณะ สมาทานศีลแล้ว ถามอีกว่า
กิจที่ควรทายิ่งกว่านี้มีอีกไหม.
อุบาสกนั้นกาหนดว่านางเข้าใจ รู้ว่านางคงจักพรักพร้อมด้วยอุปนิสัย
เมื่อจะประกาศสภาวะของร่างกาย จึงบอกกรรมฐานคืออาการ ๓๒
ให้นางเกิดคลายความรักในกายสูงขึ้นไป
ก็ให้สลดใจด้วยธรรมกถาที่ประกอบด้วยไตรลักษณ์มีความไม่เที่ยงเป็นต้น
บอกทางวิปัสสนาให้แล้วก็ไป.
ธิดาของพราหมณ์นั้นสนใจทุกคาที่อุบาสกนั้นกล่าวนัยไว้แล้ว
มีจิตมั่นคงในการใส่ใจปฏิกูลสัญญา เริ่มตั้งวิปัสสนา
เพราะความพรักพร้อมแห่งอุปนิสัย ไม่นานนักก็ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล.
สมัยต่อมา นางก็ตายไปบังเกิดเป็นบริจาริกาของท้าวสักกเทวราช
มีบริวารถึงแสนหนึ่ง.
ท้าวสักกเทวราชเห็นนางแล้ว เกิดอัศจรรย์จิตมีหฤทัยบันเทิง
จึงตรัสถามถึงกรรมที่นางทาด้วย ๔ คาถาว่า
วิมานนี้น่ารัก มีรัศมีสว่างเป็นประจา มีเสาแก้วไพฑูรย์
เนรมิตไว้ดีแล้ว ต้นไม้ทองทั้งหลายปกคลุมโดยรอบ
เป็นสถานที่เกิดด้วยวิบากกรรมของเรา อัปสรที่มีอยู่ก่อนเหล่านี้
เกิดอยู่แล้วในที่นั้นจานวนแสนหนึ่ง ด้วยกรรมของตนเอง
ตัวเจ้าผู้มียศ ก็เกิดในที่นั้น ส่องรัศมีข่มเหล่าเทวดาเก่าๆ ดวงจันทร์
ราชาแห่งดวงดาว รุ่งโรจน์ข่มหมู่ดาวฉันใด
ตัวเจ้ารุ่งเรืองอยู่ด้วยยศก็รุ่งโรจน์ข่มอัปสรหมู่นี่ ฉันนั้นเหมือนกัน.
ดูก่อนเทพธิดาผู้มีพักตร์ชวนพิศ ตัวเจ้ามาจากไหน
จึงมาถึงภพนี้ของเรา พวกเราทุกองค์ไม่อิ่มด้วยการเห็นเจ้าเลย
เหมือนทรงเทพชั้นไตรทศพร้อมด้วยองค์อินทร์
ไม่อิ่มด้วยการเห็นองค์พระพรหมฉะนั้น.
ก็เทวดาองค์นั้นถูกท้าวสักกะจอมทวยเทพตรัสถามอย่างนี้แล้ว
เมื่อจะประกาศความนั้นจึงกล่าว ๒ คาถาว่า
ข้าแต่ท่านท้าวสักกะ
พระองค์ทรงพระกรุณาตรัสถามข้าพระบาทถึงปัญหาข้อนี้ได้ว่า
4
เจ้าจุติจากที่ไหนจึงมา ณ ที่นี้ ข้าพระบาทขอทูลตอบปัญหาข้อนั้นว่า
ราชธานีของแคว้นกาสีมีอยู่ชื่อว่า พาราณสี ข้าพระบาทเกิดในราชธานีนั้น
มีชื่อว่า เปสการี เพคะ.
ข้าพระบาทมีใจเลื่อมใส มีความเชื่อมั่นส่วนเดียว
ไม่สงสัยในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ รักษาสิกขาบทไม่ขาดวิ่น
บรรลุผลแล้ว เป็นผู้แน่นอนในธรรม คือการตรัสรู้ ไม่มีโรคภัย.
ท้าวสักกะ เมื่อจะทรงอนุโมทนาบุญสมบัติและทิพย์สมบัตินั้นของนาง
จึงตรัสว่า
ดูก่อนนวลนาง ผู้มีใจเลื่อมใส มีความเชื่อมั่นส่วนเดียว
ไม่สงสัยในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ รักษาสิกขาบทไม่ขาดวิ่น
บรรลุผลแล้ว เป็นผู้แน่นอนในธรรมคือการตรัสรู้
ไม่มีโรคภัย เราขอแสดงความยินดีสมบัติของเจ้า และการมาดีของเจ้า
เจ้ารุ่งโรจน์ด้วยธรรมและยศ.
ท้าวสักกเทวราชตรัสบอกเรื่องนั้นถวายท่านพระมหาโมคคัลลานเถระ.
พระเถระจึงกราบทูลถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทาความข้อนั้นให้เป็ นอัตถุปปัตติเหตุเกิดเรื่อง
จึงทรงแสดงธรรมแก่บริษัทที่ประชุมกัน.
เทศนานั้นเกิดประโยชน์แก่โลกพร้อมทั้งเทวโลกแล.
จบอรรถกถาเปสการิยวิมาน
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๑๗. เปสการิยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

Similar to ๑๗. เปสการิยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx (20)

๕๗. ทุติยกรณียวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๗. ทุติยกรณียวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๗. ทุติยกรณียวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๗. ทุติยกรณียวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๖๗. ผลทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๕๕. ทวารปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๕๕. ทวารปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๕๕. ทวารปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๕๕. ทวารปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๘. ปาริจฉัตตกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๕๔. กักกฏกรสทายกวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๕๔. กักกฏกรสทายกวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๕๔. กักกฏกรสทายกวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๕๔. กักกฏกรสทายกวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๖๘. ปฐมอุปัสสยทายกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๙. ทุติยสูจิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๔๑. นาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๔๑. นาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๔๑. นาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๔๑. นาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

More from maruay songtanin

400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

๑๗. เปสการิยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

  • 1. 1 เปสการิยวิมาน พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา ๑๗. เปสการิยวิมาน ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่ธิดาช่างหูก (ท้าวสักกะตรัสถามเทพธิดาว่า) [๑๕๐] วิมานนี้น่ารื่นรมย์ เสาทาด้วยแก้วไพฑูรย์ เปล่งแสงเรืองรองอยู่เป็นนิตย์ จัดไว้เป็ นสัดส่วนอย่างดี มีต้นไม้ทองขึ้นรอบด้าน เป็นสถานที่เกิดมีเพราะผลกรรมของเรา [๑๕๑] เทพอัปสรซึ่งมีอยู่ก่อนตั้งแสนเหล่านี้ เกิดในวิมานนั้นด้วยกรรมของตน เธอก็เกิดเองด้วยกรรมของตน มีบริวารยศ เปล่งรัศมีข่มเหล่าเทพอัปสรผู้เกิดก่อนอยู่ [๑๕๒] เธอผู้ทรงบริวารยศ เปล่งรัศมีรุ่งเรืองข่มหมู่เทพอัปสรนี้อยู่ ประหนึ่งพระจันทร์ ผู้เป็ นราชาแห่งดาวนักษัตร ส่องแสงสกาวข่มหมู่ดาวอยู่ฉะนั้นเทียว [๑๕๓] แม่เทพธิดาผู้น่าชม มองแล้วไม่เบื่อ เธอมาจากไหนหนอจึงอุบัติยังภพของเรานี้ เราทั้งมวลมองดูเธอไม่รู้จักอิ่ม เหมือนทวยเทพชั้นไตรทศ (ดาวดึงส์) รวมทั้งพระอินทร์มองดูพระพรหมไม่รู้จักอิ่ม (เทพธิดาผู้อันท้าวสักกเทวราชตรัสถามอย่างนั้นแล้ว เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้นจึงกล่าวตอบเป็น ๒ คาถาว่า) [๑๕๔] ข้าแต่ท้าวสักกะ ข้อที่พระองค์รับสั่งถามหม่อมฉันว่า เธอจุติจากภพไหนจึงได้มาเกิดที่ภพของเรานี้ หม่อมฉันขอเฉลยว่า เมื่อชาติก่อนหม่อมฉันเกิดเป็นธิดาของช่างหูก อยู่ในกรุงพาราณสีซึ่งเป็ นราชธานีแคว้นกาสี [๑๕๕] หม่อมฉันมีใจเลื่อมใสในพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ เชื่อมั่นไม่หวั่นไหว หมดความสงสัย ได้รักษาสิกขาบท (ศีล) มิให้ขาด บรรลุอริยผลมีความแน่นอนที่จะสาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า (สัมโพธิ ในที่นี้หมายถึง มรรค ๓ เบื้องสูง (สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค)) ไม่มีทุกข์ (เมื่อจะทรงชื่นชมบุญสมบัติและทิพยสมบัติของเทพธิดานั้น ท้าวสักกเทวราชจึงตรัสคาถาครึ่ง ความว่า) [๑๕๖] แม่เทพธิดาผู้มีใจเลื่อมใสในพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ เชื่อมั่นไม่หวั่นไหว หมดความสงสัย รักษาสิกขาบทมิให้ขาด บรรลุอริยผล มีความแน่นอนที่จะสาเร็จสัมโพธิในวันข้างหน้า ไม่มีทุกข์
  • 2. 2 เราขอแสดงความชื่นชมต่อบุญสมบัติและทิพยสมบัติของเธอนั้น และขอแสดงความยินดีต่อการมาดีของเธอ เธอก็รุ่งเรืองด้วยธรรมและบริวารยศ เปสการิยวิมานที่ ๑๗ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ ปิฐวรรคที่ ๑ ๑๗. เปสการิยวิมาน อรรถกถาเปสการิยวิมาน เปสการิยวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร? พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมิคทายวัน กรุงพาราณสี. สมัยนั้น เวลาเช้า ภิกษุเป็นอันมากนุ่งแล้ว ถือบาตรจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงพาราณสี. ภิกษุเหล่านั้นเดินเข้าไปใกล้ประตูเรือนของพราหมณ์ผู้หนึ่ง. ในเรือนหลังนั้น ธิดาของพราหมณ์ ชื่อเปสการี กาลังเก็บเหาจากศีรษะของมารดา ใกล้กับประตูเรือน เห็นภิกษุเหล่านั้นกาลังเดินไป จึงพูดกะมารดาว่า แม่จ๋า นักบวชเหล่านี้ยังหนุ่มแน่นอยู่ในปฐมวัย สะสวย น่าดูน่าชม ละเอียดอ่อน ชะรอยจะสูญเสียอะไรบางอย่างไปกระมัง เหตุไรหนอจึงพากันบวชในวัยนี้นะแม่นะ. มารดาพูดกะธิดาว่า ลูกเอ๋ย มีโอรสเจ้าศากยะออกผนวชจากราชตระกูลศากยะเกิดเป็ นพระพุทธเจ้าขึ้นในโลก . พระองค์ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง นักบวชเหล่านี้ฟังธรรมของพระองค์แล้วก็พากันออกบวช จ้ะลูก. สมัยนั้น อุบาสกผู้หนึ่งบรรลุผลรู้แจ่มแจ้งคาสั่งสอน เดินไปตามถนนนั้น ได้ยินคากล่าวนั้นแล้วก็เข้าไปหาสตรีทั้งสองนั้น. ขณะนั้น พราหมณ์จึงกล่าวกะอุบาสกผู้นั้นว่า ท่านอุบาสก เดี๋ยวนี้กุลบุตรจานวนมากสละโภคสมบัติเป็นอันมาก สละเครือญาติใหญ่ๆ พากันบวชในลัทธิสมัยของพระศากยเจ้า กุลบุตรเหล่านั้นเห็นอานาจประโยชน์อะไรหนอจึงพากันบวช. อุบาสกฟังคานั้นแล้วกล่าวว่า เห็นโทษในกามทั้งหลาย เห็นอานิสงส์ในการออกบวช แล้วจึงขยายความนั้นตามสมควรแก่กาลังความรู้ของตนโดยพิสดาร พรรณนาคุณของพระรัตนตรัย ประกาศคุณานิสงส์ของศีล ๕ ทั้งปัจจุบัน
  • 3. 3 ทั้งภายหน้า. ลาดับนั้น ธิดาของพราหมณ์จึงถามอุบาสกนั้นว่า แม้เราก็สามารถตั้งอยู่ในสรณะและศีล แล้วบรรลุคุณานิสงส์ที่ท่านกล่าวได้หรือ. อุบาสกนั้นกล่าวว่า ธรรมเหล่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสทั่วไปแก่คนทุกคน เหตุไรจะไม่สามารถเล่า แล้วได้ให้สรณะและศีลแก่นาง. ธิดาพราหมณ์นั้นรับสรณะ สมาทานศีลแล้ว ถามอีกว่า กิจที่ควรทายิ่งกว่านี้มีอีกไหม. อุบาสกนั้นกาหนดว่านางเข้าใจ รู้ว่านางคงจักพรักพร้อมด้วยอุปนิสัย เมื่อจะประกาศสภาวะของร่างกาย จึงบอกกรรมฐานคืออาการ ๓๒ ให้นางเกิดคลายความรักในกายสูงขึ้นไป ก็ให้สลดใจด้วยธรรมกถาที่ประกอบด้วยไตรลักษณ์มีความไม่เที่ยงเป็นต้น บอกทางวิปัสสนาให้แล้วก็ไป. ธิดาของพราหมณ์นั้นสนใจทุกคาที่อุบาสกนั้นกล่าวนัยไว้แล้ว มีจิตมั่นคงในการใส่ใจปฏิกูลสัญญา เริ่มตั้งวิปัสสนา เพราะความพรักพร้อมแห่งอุปนิสัย ไม่นานนักก็ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล. สมัยต่อมา นางก็ตายไปบังเกิดเป็นบริจาริกาของท้าวสักกเทวราช มีบริวารถึงแสนหนึ่ง. ท้าวสักกเทวราชเห็นนางแล้ว เกิดอัศจรรย์จิตมีหฤทัยบันเทิง จึงตรัสถามถึงกรรมที่นางทาด้วย ๔ คาถาว่า วิมานนี้น่ารัก มีรัศมีสว่างเป็นประจา มีเสาแก้วไพฑูรย์ เนรมิตไว้ดีแล้ว ต้นไม้ทองทั้งหลายปกคลุมโดยรอบ เป็นสถานที่เกิดด้วยวิบากกรรมของเรา อัปสรที่มีอยู่ก่อนเหล่านี้ เกิดอยู่แล้วในที่นั้นจานวนแสนหนึ่ง ด้วยกรรมของตนเอง ตัวเจ้าผู้มียศ ก็เกิดในที่นั้น ส่องรัศมีข่มเหล่าเทวดาเก่าๆ ดวงจันทร์ ราชาแห่งดวงดาว รุ่งโรจน์ข่มหมู่ดาวฉันใด ตัวเจ้ารุ่งเรืองอยู่ด้วยยศก็รุ่งโรจน์ข่มอัปสรหมู่นี่ ฉันนั้นเหมือนกัน. ดูก่อนเทพธิดาผู้มีพักตร์ชวนพิศ ตัวเจ้ามาจากไหน จึงมาถึงภพนี้ของเรา พวกเราทุกองค์ไม่อิ่มด้วยการเห็นเจ้าเลย เหมือนทรงเทพชั้นไตรทศพร้อมด้วยองค์อินทร์ ไม่อิ่มด้วยการเห็นองค์พระพรหมฉะนั้น. ก็เทวดาองค์นั้นถูกท้าวสักกะจอมทวยเทพตรัสถามอย่างนี้แล้ว เมื่อจะประกาศความนั้นจึงกล่าว ๒ คาถาว่า ข้าแต่ท่านท้าวสักกะ พระองค์ทรงพระกรุณาตรัสถามข้าพระบาทถึงปัญหาข้อนี้ได้ว่า
  • 4. 4 เจ้าจุติจากที่ไหนจึงมา ณ ที่นี้ ข้าพระบาทขอทูลตอบปัญหาข้อนั้นว่า ราชธานีของแคว้นกาสีมีอยู่ชื่อว่า พาราณสี ข้าพระบาทเกิดในราชธานีนั้น มีชื่อว่า เปสการี เพคะ. ข้าพระบาทมีใจเลื่อมใส มีความเชื่อมั่นส่วนเดียว ไม่สงสัยในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ รักษาสิกขาบทไม่ขาดวิ่น บรรลุผลแล้ว เป็นผู้แน่นอนในธรรม คือการตรัสรู้ ไม่มีโรคภัย. ท้าวสักกะ เมื่อจะทรงอนุโมทนาบุญสมบัติและทิพย์สมบัตินั้นของนาง จึงตรัสว่า ดูก่อนนวลนาง ผู้มีใจเลื่อมใส มีความเชื่อมั่นส่วนเดียว ไม่สงสัยในพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ รักษาสิกขาบทไม่ขาดวิ่น บรรลุผลแล้ว เป็นผู้แน่นอนในธรรมคือการตรัสรู้ ไม่มีโรคภัย เราขอแสดงความยินดีสมบัติของเจ้า และการมาดีของเจ้า เจ้ารุ่งโรจน์ด้วยธรรมและยศ. ท้าวสักกเทวราชตรัสบอกเรื่องนั้นถวายท่านพระมหาโมคคัลลานเถระ. พระเถระจึงกราบทูลถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทาความข้อนั้นให้เป็ นอัตถุปปัตติเหตุเกิดเรื่อง จึงทรงแสดงธรรมแก่บริษัทที่ประชุมกัน. เทศนานั้นเกิดประโยชน์แก่โลกพร้อมทั้งเทวโลกแล. จบอรรถกถาเปสการิยวิมาน -----------------------------------------------------