SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคกลัวความรัก
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อนางสาวธนภร สุขนิรันดร์ เลขที่27 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่อนางสาวศุภมาส ศรีสวัสดิ์ เลขที่32 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1. นางสาวศุภมาส ศรีสวัสดิ์ เลขที่32
2. นางสาวธนภร สุขนิรันดร์ เลขที่27
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคกลัวความรัก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Philophobia
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทา นางสาวศุภมาส ศรีสวัสดิ์
นางสาวธนภร สุขนิรันดร์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน -
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
บนโลกใบนี้ที่เต็มไปด้วยโรคมากมาย หนึ่งในโรคที่สาคัญคือ “โรคทางจิต” ที่คนมักจะมองข้าม ละเลย และ
ไม่ได้ใส่ใจ เพราะมัวแต่ให้ความสาคัญกับ “ร่างกาย” ทั้งที่จริงแล้ว สิ่งที่กาหนดตัวตนของเราจริงๆก็คือ “จิตใจ” ซึ่ง
โรคบางชนิดผู้ป่วยอาจจะไม่รู้สึกตัวเลยด้วยซ้า ว่าตนกาลังเป็นโรคชนิดนี้อยู่ และหนึ่งในโรคทางจิตใจ ที่อาจส่งผลต่อ
ร่างกาย และส่งผลต่อหลายๆด้านก็คือ โรคกลัวความรัก (Philophobia) ซึ่งจัดเป็นโรคกลัวชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยจะรู้สึก
กลัวการมีความรักหรือ ความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งกับผู้อื่นจนไม่กล้าเริ่มต้น หรืออาจรุนแรงถึงขั้นส่งผลต่อการใช้ชีวิต ซึ่ง
ความกลัวที่เกิดขึ้น อาจส่งผลให้บางคนมีอาการทางร่างกาย เช่น ตื่นกลัว มีเหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว หายใจลาบาก
คลื่นไส้ เป็นต้น หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจส่งผลต่อสุขภาพจิตและเสี่ยงทาให้ผู้ป่วยแยกตัวออกจากสังคม
ได้ดังนั้นผู้จัดทาจึงอยากจะเสนอและกระจายความรู้เกี่ยวกับวิธีป้องกันบุคคลที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคกลัวความรัก และ
แนวทางการรักษาโรคกลัวความรักอย่างถูกวิธี เพราะในบางครั้งผู้ป่วยก็ไม่ต้องการจะบอกว่าตนเป็นโรค กลัวความรัก
3
เพราะฉะนั้น จึงต้องอาศัยความเข้าใจและเวลา เพื่อที่จะเข้าไปอยู่ในโลกของผู้ป่วยและทาให้เขา ไม่รู้สึกว่าอยู่เพียง
ลาพัง และผู้ป่วยดังกล่าวจะสามารถหายขาดจากโรคกลัวความรักได้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเสนอวิธีการวิธีป้องกันบุคคลที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคกลัวความรัก
2.เพื่อเสนอแนวทางการรักษาโรคกลัวความรักอย่างถูกวิธี
3.เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดใจที่จะรักษาและมีสภาพจิตใจที่ดีขึ้น
4.เพื่อให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคกลัวความรัก
ขอบเขตโครงงาน
โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการรักษาโรคกลัวความรักที่ถูกวิธีเพื่อให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคกลัวความรัก
โดยโครงงานนี้จากัดขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี
Philophobia คืออะไร
คาว่า Philo ที่มาจากภาษากรีก แปลว่า ความรัก ดังนั้นมันก็คือ โรคกลัวความรัก นั่นเอง ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็นโรค
นี้ จะพยายามหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความรัก พยายามที่จะไม่ให้ตัวเองรู้สึกว่ารักใคร หรือรู้สึกพิเศษกับใครเลยสัก
คน ต่อให้ในบางครั้งจะรู้สึกดีกับใครขึ้นมาบ้าง แต่สุดท้ายก็จะไม่ยอมเปิดใจและถอยห่างออกมาโดยไม่ทราบสาเหตุ
สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง
1.เหตุการณ์ในแง่ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่เด็ก
โดยเฉพาะคนที่โตมาในครอบครัวที่มีความแตกแยกเกิดขึ้น พ่อแม่หย่าร้าง ทะเลาะตบตีกันให้เห็น หรือคน
ใกล้ตัวที่มีชีวิตรักไปในทางที่ไม่ค่อยดีนัก จะทาให้เราจาภาพนั้นและฝังเข้าไปในความคิดของตัวเองได้โดยไม่รู้ตัว
2.วัฒนธรรม หรือศาสนา ที่มีข้อห้ามเกี่ยวกับความรัก
ศาสนาหรือขนบประเพณีของบางแห่ง อาจมีข้อห้ามหรือกรอบกฎเกณฑ์บังคับเอาไว้ให้กับความรักอย่าง
ชัดเจน เหมือนอย่างที่เราเคยเห็นในละคร เวลาที่พ่อแม่ของฝ่ายหญิงกีดกัน ทาให้ไม่สามารถรักกันได้ สิ่งนั้นอาจสร้าง
ความกลัวและทาให้เราไม่กล้าเสี่ยงที่จะมีความรักกับใครอีก
3.การล้มเหลวในความรักซ้าๆ
มีรักเมื่อไหร่ก็ต้องเจ็บปวดและเลิกรากันไปทุกที เมื่อต้องเป็นอย่างนั้นอยู่ตลอด อาจทาให้คุณปฏิเสธที่จะมีรัก
ครั้งใหม่ไปเลยก็ได้
4.รู้สึกว่าตัวเองหดหู่ เห็นคุณค่าในตัวเองต่า
ถ้าเป็นอย่างนั้นจะทาให้คุณคิดว่า ตัวเราเองไม่มีค่าพอที่จะเหมาะสมกับใครสักคน เลือกที่จะไม่สร้าง
ความสัมพันธ์กับใครอย่างลึกซึ้ง ต่อให้คนคนนั้นเป็นคนที่ชอบก็ตาม
4
อาการไหนบ้างที่จะบอกว่าคุณป่วยเป็นโรคนี้
1.รู้สึกกังวลใจ หรือทนรับความรู้สึกไม่ได้ ทุกครั้งที่เริ่มหวั่นไหวไปกับความรัก จนบางทีอาจทาให้เกิดความเครียด
2.จะพยายามอย่างสุดโต่ง หักห้ามใจตัวเองไม่ให้จมดิ่งลงไปกับความรู้สึกรัก
3.หลีกเลี่ยงสถานที่ที่เหล่าคู่รักชอบไปกัน เช่น โรงหนัง สวนสาธารณะ
4.ชอบใช้ชีวิตคนเดียว แต่ไม่ใช่เพราะว่ารักสันโดษ ทาไปเพื่อป้องกันไม่ให้ตัวเองต้องไปเจอกับคน ที่อาจทาให้รู้สึก
หวั่นไหวได้
5.ไม่เปิดใจ ปิดกั้นตัวเองไม่ให้ใครสามารถเข้ามาทาให้รู้สึกว่ารักได้
6.ประเมินคนรอบข้างว่าจริงใจ หรือรักเรามากแค่ไหน และจะมอบความรู้สึกเดียวกันกลับไปให้คนคนนั้น เพราะกลัว
ว่าถ้าให้ไปมากกว่าคนอื่น อาจต้องเจอกับความผิดหวังได้
7.เวลาที่ต้องเจอกับบรรยากาศโรแมนติกหวานๆ หรือมีคนพยายามตามจีบเราอย่างชัดเจน อาจมีอาการที่แสดง
ออกมาทางร่างกาย เช่นหัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออก หายใจติดขัด คลื่นไส้ หรือโดนเข้าหาหนักๆ ก็อาจเป็นลมได้
อาการที่เป็นต้องอยู่ในระดับไหน ถึงควรไปปรึกษาแพทย์
ผู้ป่วยบางรายที่มีอาการรุนแรง อาจทาให้มีปัญหาในการใช้ชีวิตประจาวันได้ อย่างเช่น การหลีกหนีออกจาก
สังคม เก็บกด อยู่แต่กับตัวเอง เงียบขรึม เป็นต้น เพราะว่าความกลัวไม่ได้มีเพียงชีวิตคู่เท่านั้น แต่รวมถึงความรักที่มี
ให้กับคนในครอบครัว เพื่อน และคนรอบข้างอีกด้วย
ทั้งหมดอาจทาให้เกิดความเครียด ความกดดันจนเป็นบ่อเกิดให้กับปัญหาสุขภาพที่ตามมาทีหลังได้
เพราะฉะนั้นเมื่อรู้สึกว่าตัวเองมีอาการดังกล่าวมากๆ เข้า ก็ควรที่จะลองไปพบแพทย์ดูก่อน
โรคนี้รักษาได้อย่างไรบ้าง
แนวทางการรักษา สามารถแบ่งได้ 3 วิธีดังต่อไปนี้
1.ความคิดและพฤติกรรมบาบัด (Cognitive Behavioral Therapy)
คือการให้นักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์เข้ามาพูดคุย และสร้างมุมมองให้คนไข้สามารถเข้าใจในสิ่งที่ตัวเองเป็นได้
ดีขึ้น จากการพูดคุยในเรื่องที่กลัว หรือใช้รูปภาพ วิดีโอเกี่ยวกับความรักเข้ามาช่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีทัศนคติในแง่บวก
เกี่ยวกับความรัก และสามารถจัดการกับกับความรู้สึกตัวเองได้ดีขึ้น
2.การเผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัวโดยตรง
เป็นวิธีที่ค่อนข้างได้ผลมากพอสมควร โดยผู้เชี่ยวชาญจะจาลองให้ผู้ป่วยเผชิญกับสถานการณ์โรแมนติก มี
เพศตรงข้ามเข้ามาชวนคุย หรือการเปิดหนังรักหวานซึ้ง เพื่อฝึกให้สามารถลดแรงกดดัน และต้านทานความกลัวของ
ตัวเองได้ดีขึ้น เวลาที่ไปเจอกับสถานการณ์จริง
3.การใช้ยา
5
รักษาด้วยยาคือตัวช่วยเสริมสาหรับคนไข้ที่มีความเครียด หรือวิตกกังวลเวลาที่ต้องเจอกับสิ่งที่กลัว ช่วยให้
พวกเขาสามารถควบคุมอารมณ์และการแสดงออกได้ดีขึ้น
การป้องกันโรคกลัวความรัก
ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของโรคนี้ จึงยากที่จะระบุวิธีป้องกันได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามพ่อแม่
หรือคุณครูอาจมีส่วนช่วยสอดส่องดูแล และเอาใส่ใจเด็ก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนทางจิตใจที่อาจเกิดขึ้น และ
กลายเป็นเรื่องฝังใจที่นาไปสู่โรคกลัวความรักได้เมื่อโตขึ้น
นายแพทย์อภิชาติ จริยาวิลาศ กล่าวว่า “อาการเหล่านี้อาจพบได้กับคนทั่วไป ซึ่งหากได้รับการให้กาลังใจที่ดี
จะสามารถกลับมามีความรักได้ปกติ แต่กรณีคนที่เป็นโรคทางจิตเวชต่าง ๆ ประกอบ โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า ตัวโรคจะ
ทาให้พวกเขามองโลกในแง่ลบ และไม่มั่นใจในตัวเอง กลัวว่าจะไม่สามารถรักษาความสัมพันธ์ หรือรักษาความรักไว้ได้
รวมถึงกลัวความผิดหวัง จึงไม่กล้ามีความสัมพันธ์
หากกลัวมากจนถึงขนาดผิดปกติ จนส่งผลต่อสุขภาพ หรือเกิดความซึมเศร้า และไม่สามารถใช้ชีวิตร่วมกับคน
รอบข้างได้ ถือเป็นสัญญาณว่าควรปรึกษาแพทย์ ถึงสิ่งที่กลัว หรือสิ่งที่กาลังมีปัญหา เพื่อให้แพทย์ช่วยวิเคราะห์ และ
แก้ไขต่อไป หากเกิดจากประสบการณ์ในอดีต แพทย์จะให้คาแนะนาเพื่อการปรับตัวและสร้างความมั่นใจให้สามารถ
ใช้ชีวิตปกติร่วมกับผู้อื่นได้”
โรคกลัวการตกหลุมรัก (Philophobia) หรือ โรคกลัวความรัก เป็นความกลัวเมื่อต้องเริ่มต้นสร้างความสัมพันธ์กับ
ใคร โรคนี้ไม่ได้น่ากลัวหรืออันตราย แต่หากมีอาการมากเกินไปอาจรบกวนการใช้ชีวิตประจาวัน คือ วิตกกังวล
กระสับกระส่าย เก็บตัว หลบหนีจากผู้คน ไม่กล้าเข้าสังคม
ความรักที่ใครก็ตามหา ทาไมถึงต้องกลัว
1. เจ็บปวดจากครอบครัว เช่น ลูกที่พ่อแม่ทะเลาะกัน หย่ากัน หรือมีความรุนแรงในครอบครัว หรือมีความรู้สึกที่ไม่ดี
ในครอบครัว ก็สร้างรอยแผลทาให้กลัวและไม่เชื่อมั่นในความรักหรือการสร้างครอบครัว กลัวว่ารักที่สวยงามโรแมน
ติกในตอนเริ่ม แต่จุดสิ้นสุดกลับกลายเป็นความเศร้า
2. อกหัก แผลรักจากอดีต คนที่มีประสบการณ์รักผิดหวังรุนแรง หรือ อกหักมาหลายครั้ง ทาให้เข็ดกับความรัก จน
ส่งผลให้เป็นโรคกลัวความรักไปเลย
3. วัฒนธรรมหรือศาสนา ในบางสังคมวัฒนธรรมที่จับคลุมถุงชน โดนบังคับให้แต่งงานทั้งที่ไม่ได้เกิดจากความรัก
หรือเคร่งครัด มีกฏระเบียบเรื่องความสัมพันธ์มากเกินไป โดนกีดกันความรักจากครอบครัว
4. ไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง ขาดความเชื่อมั่น หรือการเคารพตัวเอง ไม่เห็นว่าตัวเองมีคุณค่า เหมาะสมพอที่จะได้รับ
ความรักจากใคร ทาให้เลือกที่จะปิดตัวเอง
เช็กลิสต์ สัญญาณว่าคุณอาจจะเป็นโรคกลัวความรัก
1. ไม่กล้าเริ่มต้นสร้างความความสัมพันธ์กับใคร ไม่เปิดใจเมื่อมีคนมาชอบ
6
2. เมื่อต้องเริ่มความสัมพันธ์ เจอโมเม้นต์หวาน ๆ เช่น มีคนมาจีบ จะมีอาการเครียดวิตกกังวล กระสับกระส่าย
หายใจถี่ หัวใจเต้นเร็ว คลื่นไส้ เหมือนจะเป็นลม
3. เหม็นความรัก ไม่ชอบดูหนังรัก รับไม่ได้กับเรื่องโรแมนติก กลัวการไปงานแต่งงาน
4. เก็บตัว ชอบอยู่คนเดียว ไม่กล้าเข้าสังคม ไม่ไว้ใจใคร
5. บางคนอาจจะมีเซ็กซ์ได้แค่มีความรู้สึกทางกาย แต่จะรู้สึกเครียด วิตกกังวล อึดอัดใจหลังมีเซ็กส์
โรคนี้รักษาได้ ถ้าไม่อยากอยู่ตัวคนเดียวอีกต่อไป
ถ้าเริ่มรู้สึกว่าโรคนี้มีอาการรุนแรง เริ่มส่งผลกับชีวิต อาจจะต้องเริ่มปรึกษาจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยา การรักษา มี 3
แนวทางหลัก ๆ คือ
1. พฤติกรรมบาบัด พูดคุยกับจิตแพทย์ ให้ช่วยปรับทัศนคติต่อความรัก หรือความสัมพันธ์ ทาให้มองความรักในแง่
บวก หาแง่ดีของความรัก
2. เผชิญหน้ากับความกลัว ถ้ากลัวอะไรก็ให้เผชิญหน้าตรงๆ กับสิ่งนั้น แต่ต้องมีจิตแพทย์คอยแนะนา เช่น ถ้ากลัว
ความรัก จิตแพทย์อาจจะให้ลองหักดิบความกลัว เช่น เข้าไปคุยกับเพศตรงข้ามก่อนเลย หรือทาอะไรหวาน ๆ เลี่ยน
ๆ ที่ไม่อยากทา เช่น ไปดูหนังรัก ไปงานแต่งงาน
3. รักษาด้วยการใช้ยา สุดท้ายถ้าลองปรับพฤติกรรมแล้ว แต่อาการวิตกกังวล หวาดกลัวยังไม่ดีขึ้น อาจต้องใช้ยา
รักษา
โรคกลัวความรัก ปล่อยไว้ อันตรายไหม
โดยปกติโรคกลัวความรักไม่ได้อันตราย แต่หากมีอาการรุนแรง หรือมีอาการอื่นแทรกซ้อน และไม่ได้รับการ
บาบัดรักษา อาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดผลกระทบรุนแรง คือ
1. กลายเป็นคนหลีกหนีจากสังคม ไม่พบปะผู้คน
2. เป็นโรคซึมเศร้า วิตกกังวล
3. เสี่ยงติดยาหรือติดแอลกอฮอล์
4. ฆ่าตัวตาย
ธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนต้องการความรัก GedGoodLife ขอเป็นกาลังใจให้ทุกคนที่กาลังหวาดกลัวจาก
ความรัก ให้กล้าเผชิญหน้ากับความกลัว และเริ่มต้นที่จะรักใครสักคนได้อีกครั้ง
สรุป
“โรคกลัวการตกหลุมรัก” ไม่ใช่โรคที่ก่อให้เกิดความอันตรายแก่ผู้อื่น แต่เป็นโรคที่ควรได้รับการรักษา
เพราะอาจกระทบต่อความรู้สึก สภาพจิตใจ ตลอดจนความคิดได้ หากอาการรุนแรง มีแนวโน้มจะเป็นโรคซึมเศร้าร่วม
ได้ในอนาคตด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับคุณครูผู้สอน
7
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง
3. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
8
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง
เหมียวตะปู. (2560). [ออนไลน์]. มารู้จักกับอาการ Philophobia หรือ ‘โรคกลัวความรัก’ สารวจตัวเองว่า คุณก็
เป็น รึเปล่า. เข้าถึงได้จาก : https://www.catdumb.com/what-is-philophobia/ (วันที่สืบค้นข้อมูล :
21 พฤศจิกายน 2562)
เชียงใหม่นิวส์. (2562). [ออนไลน์]. โรคกลัวความรัก ถ้ารักได้…รักไปแล้ว. เข้าถึงได้จาก :
https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/895334 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน
2562)
GedGoodLife. (2562). [ออนไลน์]. เป็นโสดเพราะ “โรคกลัวความรัก” อยู่หรือเปล่า. เข้าถึงได้จาก :
https://www.gedgoodlife.com/health/8111-philophobia/ (วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน
2562)

More Related Content

What's hot

2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
asirwa04
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
KUMBELL
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
NattanichaYRC
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
achirayaRchi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
Panita Tunpama
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
Mai Natthida
 
W.111
W.111W.111
Final project
Final projectFinal project
Final project
ssuser97d070
 
2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)
mrpainaty
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
ssuser015151
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
RungtiwaWongchai
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
sunsumm
 
Activity 1
Activity 1Activity 1
at1
at1at1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
panita aom
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
Ffim Radchasan
 
Pathological gamers
Pathological gamersPathological gamers
Pathological gamers
ssuserab0e2b
 

What's hot (20)

2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project (32)
2562 final-project  (32)2562 final-project  (32)
2562 final-project (32)
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
Activity 1
Activity 1Activity 1
Activity 1
 
at1
at1at1
at1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Pathological gamers
Pathological gamersPathological gamers
Pathological gamers
 

Similar to Computer project-2.pdf

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
Suppamas
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
KanchariyaChuensomba
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
Korakrit Jindadang
 
Work1
Work1Work1
Work1
saliorim
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
ssuser37a5ed
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
MMM_benyapa
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
ssuseraff7e6
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
Narrongdej3110
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
Charinrat Surijan
 
W.1
W.1W.1
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Krittapornn Chanasaen
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
barbeesati
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
mew46716
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนtassanee chaicharoen
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 

Similar to Computer project-2.pdf (20)

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

Computer project-2.pdf

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคกลัวความรัก ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อนางสาวธนภร สุขนิรันดร์ เลขที่27 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่อนางสาวศุภมาส ศรีสวัสดิ์ เลขที่32 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1. นางสาวศุภมาส ศรีสวัสดิ์ เลขที่32 2. นางสาวธนภร สุขนิรันดร์ เลขที่27 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคกลัวความรัก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Philophobia ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทา นางสาวศุภมาส ศรีสวัสดิ์ นางสาวธนภร สุขนิรันดร์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน - ที่มาและความสาคัญของโครงงาน บนโลกใบนี้ที่เต็มไปด้วยโรคมากมาย หนึ่งในโรคที่สาคัญคือ “โรคทางจิต” ที่คนมักจะมองข้าม ละเลย และ ไม่ได้ใส่ใจ เพราะมัวแต่ให้ความสาคัญกับ “ร่างกาย” ทั้งที่จริงแล้ว สิ่งที่กาหนดตัวตนของเราจริงๆก็คือ “จิตใจ” ซึ่ง โรคบางชนิดผู้ป่วยอาจจะไม่รู้สึกตัวเลยด้วยซ้า ว่าตนกาลังเป็นโรคชนิดนี้อยู่ และหนึ่งในโรคทางจิตใจ ที่อาจส่งผลต่อ ร่างกาย และส่งผลต่อหลายๆด้านก็คือ โรคกลัวความรัก (Philophobia) ซึ่งจัดเป็นโรคกลัวชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยจะรู้สึก กลัวการมีความรักหรือ ความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งกับผู้อื่นจนไม่กล้าเริ่มต้น หรืออาจรุนแรงถึงขั้นส่งผลต่อการใช้ชีวิต ซึ่ง ความกลัวที่เกิดขึ้น อาจส่งผลให้บางคนมีอาการทางร่างกาย เช่น ตื่นกลัว มีเหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว หายใจลาบาก คลื่นไส้ เป็นต้น หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจส่งผลต่อสุขภาพจิตและเสี่ยงทาให้ผู้ป่วยแยกตัวออกจากสังคม ได้ดังนั้นผู้จัดทาจึงอยากจะเสนอและกระจายความรู้เกี่ยวกับวิธีป้องกันบุคคลที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคกลัวความรัก และ แนวทางการรักษาโรคกลัวความรักอย่างถูกวิธี เพราะในบางครั้งผู้ป่วยก็ไม่ต้องการจะบอกว่าตนเป็นโรค กลัวความรัก
  • 3. 3 เพราะฉะนั้น จึงต้องอาศัยความเข้าใจและเวลา เพื่อที่จะเข้าไปอยู่ในโลกของผู้ป่วยและทาให้เขา ไม่รู้สึกว่าอยู่เพียง ลาพัง และผู้ป่วยดังกล่าวจะสามารถหายขาดจากโรคกลัวความรักได้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเสนอวิธีการวิธีป้องกันบุคคลที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคกลัวความรัก 2.เพื่อเสนอแนวทางการรักษาโรคกลัวความรักอย่างถูกวิธี 3.เพื่อให้ผู้ป่วยเปิดใจที่จะรักษาและมีสภาพจิตใจที่ดีขึ้น 4.เพื่อให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคกลัวความรัก ขอบเขตโครงงาน โครงงานนี้ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการรักษาโรคกลัวความรักที่ถูกวิธีเพื่อให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคกลัวความรัก โดยโครงงานนี้จากัดขอบเขตเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี Philophobia คืออะไร คาว่า Philo ที่มาจากภาษากรีก แปลว่า ความรัก ดังนั้นมันก็คือ โรคกลัวความรัก นั่นเอง ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็นโรค นี้ จะพยายามหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับความรัก พยายามที่จะไม่ให้ตัวเองรู้สึกว่ารักใคร หรือรู้สึกพิเศษกับใครเลยสัก คน ต่อให้ในบางครั้งจะรู้สึกดีกับใครขึ้นมาบ้าง แต่สุดท้ายก็จะไม่ยอมเปิดใจและถอยห่างออกมาโดยไม่ทราบสาเหตุ สาเหตุเกิดจากอะไรได้บ้าง 1.เหตุการณ์ในแง่ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่เด็ก โดยเฉพาะคนที่โตมาในครอบครัวที่มีความแตกแยกเกิดขึ้น พ่อแม่หย่าร้าง ทะเลาะตบตีกันให้เห็น หรือคน ใกล้ตัวที่มีชีวิตรักไปในทางที่ไม่ค่อยดีนัก จะทาให้เราจาภาพนั้นและฝังเข้าไปในความคิดของตัวเองได้โดยไม่รู้ตัว 2.วัฒนธรรม หรือศาสนา ที่มีข้อห้ามเกี่ยวกับความรัก ศาสนาหรือขนบประเพณีของบางแห่ง อาจมีข้อห้ามหรือกรอบกฎเกณฑ์บังคับเอาไว้ให้กับความรักอย่าง ชัดเจน เหมือนอย่างที่เราเคยเห็นในละคร เวลาที่พ่อแม่ของฝ่ายหญิงกีดกัน ทาให้ไม่สามารถรักกันได้ สิ่งนั้นอาจสร้าง ความกลัวและทาให้เราไม่กล้าเสี่ยงที่จะมีความรักกับใครอีก 3.การล้มเหลวในความรักซ้าๆ มีรักเมื่อไหร่ก็ต้องเจ็บปวดและเลิกรากันไปทุกที เมื่อต้องเป็นอย่างนั้นอยู่ตลอด อาจทาให้คุณปฏิเสธที่จะมีรัก ครั้งใหม่ไปเลยก็ได้ 4.รู้สึกว่าตัวเองหดหู่ เห็นคุณค่าในตัวเองต่า ถ้าเป็นอย่างนั้นจะทาให้คุณคิดว่า ตัวเราเองไม่มีค่าพอที่จะเหมาะสมกับใครสักคน เลือกที่จะไม่สร้าง ความสัมพันธ์กับใครอย่างลึกซึ้ง ต่อให้คนคนนั้นเป็นคนที่ชอบก็ตาม
  • 4. 4 อาการไหนบ้างที่จะบอกว่าคุณป่วยเป็นโรคนี้ 1.รู้สึกกังวลใจ หรือทนรับความรู้สึกไม่ได้ ทุกครั้งที่เริ่มหวั่นไหวไปกับความรัก จนบางทีอาจทาให้เกิดความเครียด 2.จะพยายามอย่างสุดโต่ง หักห้ามใจตัวเองไม่ให้จมดิ่งลงไปกับความรู้สึกรัก 3.หลีกเลี่ยงสถานที่ที่เหล่าคู่รักชอบไปกัน เช่น โรงหนัง สวนสาธารณะ 4.ชอบใช้ชีวิตคนเดียว แต่ไม่ใช่เพราะว่ารักสันโดษ ทาไปเพื่อป้องกันไม่ให้ตัวเองต้องไปเจอกับคน ที่อาจทาให้รู้สึก หวั่นไหวได้ 5.ไม่เปิดใจ ปิดกั้นตัวเองไม่ให้ใครสามารถเข้ามาทาให้รู้สึกว่ารักได้ 6.ประเมินคนรอบข้างว่าจริงใจ หรือรักเรามากแค่ไหน และจะมอบความรู้สึกเดียวกันกลับไปให้คนคนนั้น เพราะกลัว ว่าถ้าให้ไปมากกว่าคนอื่น อาจต้องเจอกับความผิดหวังได้ 7.เวลาที่ต้องเจอกับบรรยากาศโรแมนติกหวานๆ หรือมีคนพยายามตามจีบเราอย่างชัดเจน อาจมีอาการที่แสดง ออกมาทางร่างกาย เช่นหัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออก หายใจติดขัด คลื่นไส้ หรือโดนเข้าหาหนักๆ ก็อาจเป็นลมได้ อาการที่เป็นต้องอยู่ในระดับไหน ถึงควรไปปรึกษาแพทย์ ผู้ป่วยบางรายที่มีอาการรุนแรง อาจทาให้มีปัญหาในการใช้ชีวิตประจาวันได้ อย่างเช่น การหลีกหนีออกจาก สังคม เก็บกด อยู่แต่กับตัวเอง เงียบขรึม เป็นต้น เพราะว่าความกลัวไม่ได้มีเพียงชีวิตคู่เท่านั้น แต่รวมถึงความรักที่มี ให้กับคนในครอบครัว เพื่อน และคนรอบข้างอีกด้วย ทั้งหมดอาจทาให้เกิดความเครียด ความกดดันจนเป็นบ่อเกิดให้กับปัญหาสุขภาพที่ตามมาทีหลังได้ เพราะฉะนั้นเมื่อรู้สึกว่าตัวเองมีอาการดังกล่าวมากๆ เข้า ก็ควรที่จะลองไปพบแพทย์ดูก่อน โรคนี้รักษาได้อย่างไรบ้าง แนวทางการรักษา สามารถแบ่งได้ 3 วิธีดังต่อไปนี้ 1.ความคิดและพฤติกรรมบาบัด (Cognitive Behavioral Therapy) คือการให้นักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์เข้ามาพูดคุย และสร้างมุมมองให้คนไข้สามารถเข้าใจในสิ่งที่ตัวเองเป็นได้ ดีขึ้น จากการพูดคุยในเรื่องที่กลัว หรือใช้รูปภาพ วิดีโอเกี่ยวกับความรักเข้ามาช่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีทัศนคติในแง่บวก เกี่ยวกับความรัก และสามารถจัดการกับกับความรู้สึกตัวเองได้ดีขึ้น 2.การเผชิญหน้ากับสิ่งที่กลัวโดยตรง เป็นวิธีที่ค่อนข้างได้ผลมากพอสมควร โดยผู้เชี่ยวชาญจะจาลองให้ผู้ป่วยเผชิญกับสถานการณ์โรแมนติก มี เพศตรงข้ามเข้ามาชวนคุย หรือการเปิดหนังรักหวานซึ้ง เพื่อฝึกให้สามารถลดแรงกดดัน และต้านทานความกลัวของ ตัวเองได้ดีขึ้น เวลาที่ไปเจอกับสถานการณ์จริง 3.การใช้ยา
  • 5. 5 รักษาด้วยยาคือตัวช่วยเสริมสาหรับคนไข้ที่มีความเครียด หรือวิตกกังวลเวลาที่ต้องเจอกับสิ่งที่กลัว ช่วยให้ พวกเขาสามารถควบคุมอารมณ์และการแสดงออกได้ดีขึ้น การป้องกันโรคกลัวความรัก ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของโรคนี้ จึงยากที่จะระบุวิธีป้องกันได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตามพ่อแม่ หรือคุณครูอาจมีส่วนช่วยสอดส่องดูแล และเอาใส่ใจเด็ก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนทางจิตใจที่อาจเกิดขึ้น และ กลายเป็นเรื่องฝังใจที่นาไปสู่โรคกลัวความรักได้เมื่อโตขึ้น นายแพทย์อภิชาติ จริยาวิลาศ กล่าวว่า “อาการเหล่านี้อาจพบได้กับคนทั่วไป ซึ่งหากได้รับการให้กาลังใจที่ดี จะสามารถกลับมามีความรักได้ปกติ แต่กรณีคนที่เป็นโรคทางจิตเวชต่าง ๆ ประกอบ โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า ตัวโรคจะ ทาให้พวกเขามองโลกในแง่ลบ และไม่มั่นใจในตัวเอง กลัวว่าจะไม่สามารถรักษาความสัมพันธ์ หรือรักษาความรักไว้ได้ รวมถึงกลัวความผิดหวัง จึงไม่กล้ามีความสัมพันธ์ หากกลัวมากจนถึงขนาดผิดปกติ จนส่งผลต่อสุขภาพ หรือเกิดความซึมเศร้า และไม่สามารถใช้ชีวิตร่วมกับคน รอบข้างได้ ถือเป็นสัญญาณว่าควรปรึกษาแพทย์ ถึงสิ่งที่กลัว หรือสิ่งที่กาลังมีปัญหา เพื่อให้แพทย์ช่วยวิเคราะห์ และ แก้ไขต่อไป หากเกิดจากประสบการณ์ในอดีต แพทย์จะให้คาแนะนาเพื่อการปรับตัวและสร้างความมั่นใจให้สามารถ ใช้ชีวิตปกติร่วมกับผู้อื่นได้” โรคกลัวการตกหลุมรัก (Philophobia) หรือ โรคกลัวความรัก เป็นความกลัวเมื่อต้องเริ่มต้นสร้างความสัมพันธ์กับ ใคร โรคนี้ไม่ได้น่ากลัวหรืออันตราย แต่หากมีอาการมากเกินไปอาจรบกวนการใช้ชีวิตประจาวัน คือ วิตกกังวล กระสับกระส่าย เก็บตัว หลบหนีจากผู้คน ไม่กล้าเข้าสังคม ความรักที่ใครก็ตามหา ทาไมถึงต้องกลัว 1. เจ็บปวดจากครอบครัว เช่น ลูกที่พ่อแม่ทะเลาะกัน หย่ากัน หรือมีความรุนแรงในครอบครัว หรือมีความรู้สึกที่ไม่ดี ในครอบครัว ก็สร้างรอยแผลทาให้กลัวและไม่เชื่อมั่นในความรักหรือการสร้างครอบครัว กลัวว่ารักที่สวยงามโรแมน ติกในตอนเริ่ม แต่จุดสิ้นสุดกลับกลายเป็นความเศร้า 2. อกหัก แผลรักจากอดีต คนที่มีประสบการณ์รักผิดหวังรุนแรง หรือ อกหักมาหลายครั้ง ทาให้เข็ดกับความรัก จน ส่งผลให้เป็นโรคกลัวความรักไปเลย 3. วัฒนธรรมหรือศาสนา ในบางสังคมวัฒนธรรมที่จับคลุมถุงชน โดนบังคับให้แต่งงานทั้งที่ไม่ได้เกิดจากความรัก หรือเคร่งครัด มีกฏระเบียบเรื่องความสัมพันธ์มากเกินไป โดนกีดกันความรักจากครอบครัว 4. ไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง ขาดความเชื่อมั่น หรือการเคารพตัวเอง ไม่เห็นว่าตัวเองมีคุณค่า เหมาะสมพอที่จะได้รับ ความรักจากใคร ทาให้เลือกที่จะปิดตัวเอง เช็กลิสต์ สัญญาณว่าคุณอาจจะเป็นโรคกลัวความรัก 1. ไม่กล้าเริ่มต้นสร้างความความสัมพันธ์กับใคร ไม่เปิดใจเมื่อมีคนมาชอบ
  • 6. 6 2. เมื่อต้องเริ่มความสัมพันธ์ เจอโมเม้นต์หวาน ๆ เช่น มีคนมาจีบ จะมีอาการเครียดวิตกกังวล กระสับกระส่าย หายใจถี่ หัวใจเต้นเร็ว คลื่นไส้ เหมือนจะเป็นลม 3. เหม็นความรัก ไม่ชอบดูหนังรัก รับไม่ได้กับเรื่องโรแมนติก กลัวการไปงานแต่งงาน 4. เก็บตัว ชอบอยู่คนเดียว ไม่กล้าเข้าสังคม ไม่ไว้ใจใคร 5. บางคนอาจจะมีเซ็กซ์ได้แค่มีความรู้สึกทางกาย แต่จะรู้สึกเครียด วิตกกังวล อึดอัดใจหลังมีเซ็กส์ โรคนี้รักษาได้ ถ้าไม่อยากอยู่ตัวคนเดียวอีกต่อไป ถ้าเริ่มรู้สึกว่าโรคนี้มีอาการรุนแรง เริ่มส่งผลกับชีวิต อาจจะต้องเริ่มปรึกษาจิตแพทย์ หรือนักจิตวิทยา การรักษา มี 3 แนวทางหลัก ๆ คือ 1. พฤติกรรมบาบัด พูดคุยกับจิตแพทย์ ให้ช่วยปรับทัศนคติต่อความรัก หรือความสัมพันธ์ ทาให้มองความรักในแง่ บวก หาแง่ดีของความรัก 2. เผชิญหน้ากับความกลัว ถ้ากลัวอะไรก็ให้เผชิญหน้าตรงๆ กับสิ่งนั้น แต่ต้องมีจิตแพทย์คอยแนะนา เช่น ถ้ากลัว ความรัก จิตแพทย์อาจจะให้ลองหักดิบความกลัว เช่น เข้าไปคุยกับเพศตรงข้ามก่อนเลย หรือทาอะไรหวาน ๆ เลี่ยน ๆ ที่ไม่อยากทา เช่น ไปดูหนังรัก ไปงานแต่งงาน 3. รักษาด้วยการใช้ยา สุดท้ายถ้าลองปรับพฤติกรรมแล้ว แต่อาการวิตกกังวล หวาดกลัวยังไม่ดีขึ้น อาจต้องใช้ยา รักษา โรคกลัวความรัก ปล่อยไว้ อันตรายไหม โดยปกติโรคกลัวความรักไม่ได้อันตราย แต่หากมีอาการรุนแรง หรือมีอาการอื่นแทรกซ้อน และไม่ได้รับการ บาบัดรักษา อาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดผลกระทบรุนแรง คือ 1. กลายเป็นคนหลีกหนีจากสังคม ไม่พบปะผู้คน 2. เป็นโรคซึมเศร้า วิตกกังวล 3. เสี่ยงติดยาหรือติดแอลกอฮอล์ 4. ฆ่าตัวตาย ธรรมชาติของมนุษย์ทุกคนต้องการความรัก GedGoodLife ขอเป็นกาลังใจให้ทุกคนที่กาลังหวาดกลัวจาก ความรัก ให้กล้าเผชิญหน้ากับความกลัว และเริ่มต้นที่จะรักใครสักคนได้อีกครั้ง สรุป “โรคกลัวการตกหลุมรัก” ไม่ใช่โรคที่ก่อให้เกิดความอันตรายแก่ผู้อื่น แต่เป็นโรคที่ควรได้รับการรักษา เพราะอาจกระทบต่อความรู้สึก สภาพจิตใจ ตลอดจนความคิดได้ หากอาการรุนแรง มีแนวโน้มจะเป็นโรคซึมเศร้าร่วม ได้ในอนาคตด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับคุณครูผู้สอน
  • 7. 7 -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้จัดทามีความเข้าใจหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2. สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนได้จริง 3. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้ 4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ 1. ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
  • 8. 8 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง เหมียวตะปู. (2560). [ออนไลน์]. มารู้จักกับอาการ Philophobia หรือ ‘โรคกลัวความรัก’ สารวจตัวเองว่า คุณก็ เป็น รึเปล่า. เข้าถึงได้จาก : https://www.catdumb.com/what-is-philophobia/ (วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน 2562) เชียงใหม่นิวส์. (2562). [ออนไลน์]. โรคกลัวความรัก ถ้ารักได้…รักไปแล้ว. เข้าถึงได้จาก : https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/895334 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน 2562) GedGoodLife. (2562). [ออนไลน์]. เป็นโสดเพราะ “โรคกลัวความรัก” อยู่หรือเปล่า. เข้าถึงได้จาก : https://www.gedgoodlife.com/health/8111-philophobia/ (วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 พฤศจิกายน 2562)