SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ความเศร้าจากโรคไบโพล่าร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นางสาว อชิรญา ปันศิริ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .
1 นางสาว อชิรญา ปันศิริ เลขที่ 34
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ความเศร้าจากโรคไบโพล่าร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
sadness form Bipolar
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อชิรญา ปันศิริ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เทอม
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
" โรคไบโพลาร์ (Bipolar)" เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า คือ โรคอารมณ์ที่
ชัดเจน ที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะรื่นเริง สนุกสนานสลับกับ
อารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่งโรคไบโพลาร์ มีสาเหตุมาจากความผิดปกติทางสมอง เนื่องจากการสื่อสารระหว่างเซลล์
ประสาทของสมองและสารเคมีในสมองที่ไม่ปกติ มีความแปรปรวน ทาให้เมื่อเจอเหตุการณ์หรือตกอยู่ในสภาวะมี
ความกดดันด้านจิตใจ หรือ การใช้สารกระตุ้นต่างๆ ก็จะทาให้โรคที่แฝงตัวอยู่แสดงอาการออกมา มีคนมากมายใน
สังคมเราที่ไม่ได้มีอาการเจ็บป่วยทางจิต แต่ก็สร้างความเดือดร้อนให้สังคม ซึ่งคนเหล่านั้นจิตแพทย์หรือใครๆก็รักษา
ไม่ได้ ตรงนี้หมอว่าน่าเหนื่อยใจกว่ามาก แต่คนไข้ไบโพล่าร์ หรือคนไข้โรคทางจิตเวช ซึ่งเกี่ยวกับสมดุลของสารเคมีตัว
ต่างๆในสมองนั้น รักษาให้หายได้ และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขได้ ถ้าทุกคนในสังคมให้โอกาส ถ้าเลือกได้คงไม่มีใคร
จะเจ็บป่วย โดยเฉพาะป่วยทางสมอง ที่มีผลกระทบต่อความคิด อารมณ์ และพฤติกรรม แต่ชีวิตคนเราก็ไม่ได้ง่าย
พอที่จะเลือกได้ทุกเรื่อง และไม่แน่ว่าในอนาคต อาจจะเป็นตัวเราเองหรือคนที่เรารักก็ได้ ที่จะต้องประสบกับโรค
เหล่านี้ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่างๆที่ตามมาอีกด้วย การจัดทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อที่จะศึกษาเกี่ยวกับโรคไบโพล่าโตย
ตรง และทาความเข้าใจกับโรคนี้ และหาวิธีแก้ไข เพื่อจะทาให้ผู้ป่วยสามารถหายจากโรคและกลับมาเป็นคนปกติ และ
มีสภาพจิตใจแจ่มใส
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อที่จะศึกษาเกี่ยวกับโรคไบโพล่า
2.เพื่อที่จะหาวิธีแก้ปัญาหาของโรค
3.เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่จะศึกษาอีกต่อไป
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
3
1. สามารถนาเสนอให้ผู้ที่ไม่เข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้ได้เข้าใจมากขึ้น
2. เพื่อศึกษาความรู้จากโรค
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
" โรคไบโพลาร์ (Bipolar)" เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า คือ โรค
อารมณ์ที่ชัดเจน
ที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะรื่นเริง สนุกสนานสลับกับ
อารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง
โรคนี้มีหลายชื่อ เช่น โรคอารมณ์แปรปรวน , manic-depressive disorder, bipolar affective
disorder, bipolar disorder ในปัจจุบันชื่อเป็นทางการคือ โรคไบโพล่าร์ (bipolar disorder) ลักษณะสาคัญ
ของโรคนี้คืออาการผิดปกติของอารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้นอาจเป็นแบบซึมเศร้า (depression) หรือตรงข้ามกับซึมเศร้า
คืออารมณ์ดีผิดปกติ (mania) ก็ได้
สาเหตุของโรคไบโพลาร์ (Bipolar)
หากจะพูดถึงความผิดปกติด้านอารมณ์ หลายคนอาจจะคิดว่าโรคนี้มีสาเหตุมาจากความเครียด หรือความวิตก
กังวลเท่านั้น แต่ในความจริงแล้ว
โรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้วนั้น มีสาเหตุมาจากความผิดปกติทางสมอง เนื่องจากการสื่อสารระหว่าง
เซลล์ประสาทของสมองและสารเคมีในสมองที่ไม่ปกติ มีความแปรปรวน ทาให้เมื่อเจอเหตุการณ์หรือตกอยู่ใน
สภาวะมีความกดดันด้านจิตใจ หรือ การใช้สารกระตุ้นต่างๆ ก็จะทาให้โรคที่แฝงตัวอยู่แสดงอาการออกมา
อาการของโรค
1.สภาวะซึมเศร้า
ผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะนี้ จะมีอาการคล้ายกับโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยมักจะมีอาการเบื่อหน่าย รู้สึกอ่อนไหวง่าย ใน
บางครั้งอยู่ดีๆก็ร้องไห้ มีอาการเบื่ออาหาร หลงๆลืมๆ มีภาวะขาดความมั่นใจในตนเอง รวมถึงมองทุกอย่าง
รอบตัวในแง่ร้ายไปซะหมด บางรายอาจมีภาวะเครียด ปนอยู่ด้วย
2.สภาวะเมเนีย (mania)
สาหรับสภาวะเมเนียนั้น ผู้ป่วยจะมีอาการที่ตรงข้ามกับสภาวะซึมเศร้าอย่างสิ้นเชิง ผู้ป่วยจะอารมณ์ดี มีความ
มั่นใจในตนเองสูง มีความคล่องแคล่วไม่ว่าจะทาอะไร มีมนุษยสัมพันธ์ดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น ในขณะเดียวกันก็มี
ความรู้สึกว่าตัวเองเป็นศูนย์กลาง ไม่ค่อยมีความอดทนต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งนานๆ เป็นคนคิดเร็วทาเร็ว (เมื่อคิดอะไร
จะทาทันที) และเมื่อถูกขัดขวางหรือถูกขัดใจมักจะมีการแสดงอารมณ์ที่รุนแรงออกมา
ใบบางกรณีที่ ผู้ป่วยบางคนจะมีอาการ กลางคืนนอนไม่หลับ อยากเที่ยวกลางคืน ใช้จ่ายเงินมากขึ้น บางรายอาจ
มีอารมณ์ทางเพศที่เพิ่มขึ้น ในบางกรณีผู้ป่วยจะมีอารมณ์ที่ดีมากเกินปกติไม่สมเหตุสมผล ต่อเนื่องยาวนาน
มากกว่า 1 อาทิตย์
แนวทางในการรักษาโรคไบโพลาร์
4
โรคไบโพลาร์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยา ได้แก่ ยาในกลุ่มยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers),
ยาแก้โรคจิต (antipsychotics) และยาแก้โรคซึมเศร้า (antidepressants) ดังนี้
1. ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางานได้อย่างปกติ เรียกชื่อกลุ่มยานี้ว่า กลุ่ม
ปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัวที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้
ช่วงระยะการรักษาช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมาเป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรือ
อย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้นจะเป็นการรักษาต่อเนื่อง อาจต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับ
อาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจมาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ป่วยอาจต้องใช้
ยาเป็นระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็น ๆ หาย ๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกันได้ทั้งอาการ mania และ
อาการซึมเศร้า ยาอื่น ๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ
topiramate
3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine
และ ziprasidone
อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง
ดาเนินชีวิตในทางสายกลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธี
แก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง
การกลับมาเป็นคนปกติ
คนที่มีโรคไบโพล่าร์ หรือเป็นโรคทางจิตเวชใดๆก็ตาม สามารถรักษาให้ดีขึ้นและใช้ชีวิตเป็นปกติได้
ได้ เขาต้องการความเข้าใจ ไม่ต่างจากคนไข้โรคทางกายอื่นๆ ว่าสิ่งที่เขาทาไปนั้นเกิดจากความ
เจ็บป่วย ที่ต้องการการดูแลรักษา แต่น่าเศร้าที่หลายครั้งคนในสังคมมาองคนไข้จิตเวชด้วยอคติ ทั้ง
การขาดความรู้และความไม่สนใจจะรู้ อย่างที่เราอาจจะพบเห็นบ่อยๆในสื่อสังคมออนไลน์ปัจจุบัน
ไม่ว่าจะเป็นใครก็มีสิทธิเจ็บป่วยทางสมองได้ ไม่ว่าจะเป็นมหาเศรษฐี ยาจก เชื้อชาติไหน ภาษาใดๆ
คนเหล่านั้นล้วนต้องการความเข้าใจและยอมรับ
มีคนมากมายในสังคมเราที่ไม่ได้มีอาการเจ็บป่วยทางจิต แต่ก็สร้างความเดือดร้อนให้สังคม ซึ่งคน
เหล่านั้นจิตแพทย์หรือใครๆก็รักษาไม่ได้ ตรงนี้หมอว่าน่าเหนื่อยใจกว่ามาก แต่คนไข้ไบโพล่าร์ หรือ
คนไข้โรคทางจิตเวช ซึ่งเกี่ยวกับสมดุลของสารเคมีตัวต่างๆในสมองนั้น รักษาให้หายได้ และอยู่
ร่วมกันอย่างมีความสุขได้ ถ้าทุกคนในสังคมให้โอกาส
ถ้าเลือกได้คงไม่มีใครจะเจ็บป่วย โดยเฉพาะป่วยทางสมอง ที่มีผลกระทบต่อความคิด อารมณ์ และ
พฤติกรรม แต่ชีวิตคนเราก็ไม่ได้ง่ายพอที่จะเลือกได้ทุกเรื่อง และไม่แน่ว่าในอนาคต อาจจะเป็นตัวเรา
เองหรือคนที่เรารักก็ได้ ที่จะต้องประสบกับโรคเหล่านี้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
5
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
6
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanokpimchanokSirichaisop
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นan paan
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4sinekkn
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3ohm11007
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library materialPloykarn Lamdual
 

What's hot (14)

Activity 1
Activity 1Activity 1
Activity 1
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
งานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้นงานคอมเฟินแอ้น
งานคอมเฟินแอ้น
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4
 
2562 final-project panic
2562 final-project panic2562 final-project panic
2562 final-project panic
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3งานนำเสนอIs3
งานนำเสนอIs3
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project panic1
2562 final-project panic12562 final-project panic1
2562 final-project panic1
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ Library material
 

Similar to 2560 project

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 

Similar to 2560 project (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ความเศร้าจากโรคไบโพล่าร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาว อชิรญา ปันศิริ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม . 1 นางสาว อชิรญา ปันศิริ เลขที่ 34 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ความเศร้าจากโรคไบโพล่าร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) sadness form Bipolar ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อชิรญา ปันศิริ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 เทอม ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) " โรคไบโพลาร์ (Bipolar)" เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า คือ โรคอารมณ์ที่ ชัดเจน ที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะรื่นเริง สนุกสนานสลับกับ อารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่งโรคไบโพลาร์ มีสาเหตุมาจากความผิดปกติทางสมอง เนื่องจากการสื่อสารระหว่างเซลล์ ประสาทของสมองและสารเคมีในสมองที่ไม่ปกติ มีความแปรปรวน ทาให้เมื่อเจอเหตุการณ์หรือตกอยู่ในสภาวะมี ความกดดันด้านจิตใจ หรือ การใช้สารกระตุ้นต่างๆ ก็จะทาให้โรคที่แฝงตัวอยู่แสดงอาการออกมา มีคนมากมายใน สังคมเราที่ไม่ได้มีอาการเจ็บป่วยทางจิต แต่ก็สร้างความเดือดร้อนให้สังคม ซึ่งคนเหล่านั้นจิตแพทย์หรือใครๆก็รักษา ไม่ได้ ตรงนี้หมอว่าน่าเหนื่อยใจกว่ามาก แต่คนไข้ไบโพล่าร์ หรือคนไข้โรคทางจิตเวช ซึ่งเกี่ยวกับสมดุลของสารเคมีตัว ต่างๆในสมองนั้น รักษาให้หายได้ และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขได้ ถ้าทุกคนในสังคมให้โอกาส ถ้าเลือกได้คงไม่มีใคร จะเจ็บป่วย โดยเฉพาะป่วยทางสมอง ที่มีผลกระทบต่อความคิด อารมณ์ และพฤติกรรม แต่ชีวิตคนเราก็ไม่ได้ง่าย พอที่จะเลือกได้ทุกเรื่อง และไม่แน่ว่าในอนาคต อาจจะเป็นตัวเราเองหรือคนที่เรารักก็ได้ ที่จะต้องประสบกับโรค เหล่านี้ซึ่งอาจจะมีผลกระทบต่างๆที่ตามมาอีกด้วย การจัดทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อที่จะศึกษาเกี่ยวกับโรคไบโพล่าโตย ตรง และทาความเข้าใจกับโรคนี้ และหาวิธีแก้ไข เพื่อจะทาให้ผู้ป่วยสามารถหายจากโรคและกลับมาเป็นคนปกติ และ มีสภาพจิตใจแจ่มใส วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อที่จะศึกษาเกี่ยวกับโรคไบโพล่า 2.เพื่อที่จะหาวิธีแก้ปัญาหาของโรค 3.เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่จะศึกษาอีกต่อไป ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
  • 3. 3 1. สามารถนาเสนอให้ผู้ที่ไม่เข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้ได้เข้าใจมากขึ้น 2. เพื่อศึกษาความรู้จากโรค หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) " โรคไบโพลาร์ (Bipolar)" เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า คือ โรค อารมณ์ที่ชัดเจน ที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ช่วงหนึ่งจะมีลักษณะรื่นเริง สนุกสนานสลับกับ อารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง โรคนี้มีหลายชื่อ เช่น โรคอารมณ์แปรปรวน , manic-depressive disorder, bipolar affective disorder, bipolar disorder ในปัจจุบันชื่อเป็นทางการคือ โรคไบโพล่าร์ (bipolar disorder) ลักษณะสาคัญ ของโรคนี้คืออาการผิดปกติของอารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้นอาจเป็นแบบซึมเศร้า (depression) หรือตรงข้ามกับซึมเศร้า คืออารมณ์ดีผิดปกติ (mania) ก็ได้ สาเหตุของโรคไบโพลาร์ (Bipolar) หากจะพูดถึงความผิดปกติด้านอารมณ์ หลายคนอาจจะคิดว่าโรคนี้มีสาเหตุมาจากความเครียด หรือความวิตก กังวลเท่านั้น แต่ในความจริงแล้ว โรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้วนั้น มีสาเหตุมาจากความผิดปกติทางสมอง เนื่องจากการสื่อสารระหว่าง เซลล์ประสาทของสมองและสารเคมีในสมองที่ไม่ปกติ มีความแปรปรวน ทาให้เมื่อเจอเหตุการณ์หรือตกอยู่ใน สภาวะมีความกดดันด้านจิตใจ หรือ การใช้สารกระตุ้นต่างๆ ก็จะทาให้โรคที่แฝงตัวอยู่แสดงอาการออกมา อาการของโรค 1.สภาวะซึมเศร้า ผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะนี้ จะมีอาการคล้ายกับโรคซึมเศร้า ผู้ป่วยมักจะมีอาการเบื่อหน่าย รู้สึกอ่อนไหวง่าย ใน บางครั้งอยู่ดีๆก็ร้องไห้ มีอาการเบื่ออาหาร หลงๆลืมๆ มีภาวะขาดความมั่นใจในตนเอง รวมถึงมองทุกอย่าง รอบตัวในแง่ร้ายไปซะหมด บางรายอาจมีภาวะเครียด ปนอยู่ด้วย 2.สภาวะเมเนีย (mania) สาหรับสภาวะเมเนียนั้น ผู้ป่วยจะมีอาการที่ตรงข้ามกับสภาวะซึมเศร้าอย่างสิ้นเชิง ผู้ป่วยจะอารมณ์ดี มีความ มั่นใจในตนเองสูง มีความคล่องแคล่วไม่ว่าจะทาอะไร มีมนุษยสัมพันธ์ดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น ในขณะเดียวกันก็มี ความรู้สึกว่าตัวเองเป็นศูนย์กลาง ไม่ค่อยมีความอดทนต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งนานๆ เป็นคนคิดเร็วทาเร็ว (เมื่อคิดอะไร จะทาทันที) และเมื่อถูกขัดขวางหรือถูกขัดใจมักจะมีการแสดงอารมณ์ที่รุนแรงออกมา ใบบางกรณีที่ ผู้ป่วยบางคนจะมีอาการ กลางคืนนอนไม่หลับ อยากเที่ยวกลางคืน ใช้จ่ายเงินมากขึ้น บางรายอาจ มีอารมณ์ทางเพศที่เพิ่มขึ้น ในบางกรณีผู้ป่วยจะมีอารมณ์ที่ดีมากเกินปกติไม่สมเหตุสมผล ต่อเนื่องยาวนาน มากกว่า 1 อาทิตย์ แนวทางในการรักษาโรคไบโพลาร์
  • 4. 4 โรคไบโพลาร์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยา ได้แก่ ยาในกลุ่มยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers), ยาแก้โรคจิต (antipsychotics) และยาแก้โรคซึมเศร้า (antidepressants) ดังนี้ 1. ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางานได้อย่างปกติ เรียกชื่อกลุ่มยานี้ว่า กลุ่ม ปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัวที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้ ช่วงระยะการรักษาช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมาเป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรือ อย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้นจะเป็นการรักษาต่อเนื่อง อาจต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับ อาการคนไข้เป็นสาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจมาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด 2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ป่วยอาจต้องใช้ ยาเป็นระยะเวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็น ๆ หาย ๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกันได้ทั้งอาการ mania และ อาการซึมเศร้า ยาอื่น ๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate 3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และ ziprasidone อย่างไรก็ตาม สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง ดาเนินชีวิตในทางสายกลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธี แก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่าใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง การกลับมาเป็นคนปกติ คนที่มีโรคไบโพล่าร์ หรือเป็นโรคทางจิตเวชใดๆก็ตาม สามารถรักษาให้ดีขึ้นและใช้ชีวิตเป็นปกติได้ ได้ เขาต้องการความเข้าใจ ไม่ต่างจากคนไข้โรคทางกายอื่นๆ ว่าสิ่งที่เขาทาไปนั้นเกิดจากความ เจ็บป่วย ที่ต้องการการดูแลรักษา แต่น่าเศร้าที่หลายครั้งคนในสังคมมาองคนไข้จิตเวชด้วยอคติ ทั้ง การขาดความรู้และความไม่สนใจจะรู้ อย่างที่เราอาจจะพบเห็นบ่อยๆในสื่อสังคมออนไลน์ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นใครก็มีสิทธิเจ็บป่วยทางสมองได้ ไม่ว่าจะเป็นมหาเศรษฐี ยาจก เชื้อชาติไหน ภาษาใดๆ คนเหล่านั้นล้วนต้องการความเข้าใจและยอมรับ มีคนมากมายในสังคมเราที่ไม่ได้มีอาการเจ็บป่วยทางจิต แต่ก็สร้างความเดือดร้อนให้สังคม ซึ่งคน เหล่านั้นจิตแพทย์หรือใครๆก็รักษาไม่ได้ ตรงนี้หมอว่าน่าเหนื่อยใจกว่ามาก แต่คนไข้ไบโพล่าร์ หรือ คนไข้โรคทางจิตเวช ซึ่งเกี่ยวกับสมดุลของสารเคมีตัวต่างๆในสมองนั้น รักษาให้หายได้ และอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุขได้ ถ้าทุกคนในสังคมให้โอกาส ถ้าเลือกได้คงไม่มีใครจะเจ็บป่วย โดยเฉพาะป่วยทางสมอง ที่มีผลกระทบต่อความคิด อารมณ์ และ พฤติกรรม แต่ชีวิตคนเราก็ไม่ได้ง่ายพอที่จะเลือกได้ทุกเรื่อง และไม่แน่ว่าในอนาคต อาจจะเป็นตัวเรา เองหรือคนที่เรารักก็ได้ ที่จะต้องประสบกับโรคเหล่านี้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
  • 5. 5 ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 6. 6 สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________