SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน
ประโยชน์ของสมุนไพร
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
นาย ณรงค์เดช เป็งวันผูก
เลขที่ 20 ชั้น 6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ
ศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
2
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1 นาย ณรงค์เดช เป็งวันผูก เลขที่ 20
คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อ
ต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ประโยชน์ของสมุนไพร
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Benefits of Herb
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
3
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
___________________________________________________
_________
___________________________________________________
______________________
___________________________________________________
______________________
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน 2 เดือน
ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ
เหตุผล ของการทำาโครงงาน)
เพื่อเสนอจุดเด่นและขยายเผยแผ่ความรู้ให้กว้างขวางกว่าเดิม
โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เป็นตัวช่วยในการเสนอหรือขยายความรู้
เพิ่มเติม ให้ผู้คนที่รักสุขภาพสนใจในการดูแลตนเองได้ศึกษาและ
รับข้อมูลข่าวสารได้สะดวกยิ่งขึ้น
ในโครงงานนี้จะเน้นเพื่อการให้สาระ ข่าวสาร และข้อมูลที่เกิด
ประโยชน์ต่อผู้คนเป็นส่วนใหญ่ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่ครบถ้วน
และสามารถนำ้าไปปรับในในชีวิตประจำาวันได้
โดยการศึกษาข้อมูลของสมุนไพรเป็นวิธีที่สะดวกและง่ายต่อ
การศึกษาค้นคว้า เพราะเราสามาศึกษาหาข้อมูลโดยผ่าน
อินเตอร์เน็ตหรือหนังสือ หรือแหล่งข้อมูลได้หลากหลายช่องทาง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1 เพื่อขยายความรู้ประโยชน์ของสมุนไพร
2 เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3 เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ
4
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัดของการ
ทำาโครงงาน)
การจัดทำาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่องประโยชน์ของสมุนไพร
เป็นกระบวนการสร้างสรรค์ในการ
พัฒนาทางด้านทางคิด ความรู้ประโยชน์ของสมุนไพรที่ควรรู้
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำา
โครงงาน)
สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็น
ยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำารับยา เพื่อบำาบัดโรค บำารุง ร่างกาย หรือใช้
เป็นยาพิษ" หากนำาเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะ
เรียกว่า ยา ในตำารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์
และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้
ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวานกานพลู และจันทน์เทศ
เป็นต้น พืชเหล่านี้ถ้านำามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ
พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เชื่อ
กันอีกด้วยว่า ต้นพืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่
ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยามากน้อยกว่ากันเท่านั้น
พืชสมุนไพร หรือวัตถุธาตุนี้ หรือตัวยาสมุนไพรนี้ แบ่งออกเป็น 5
ประการ ดังนี้
รูป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลือกไม้ แก่นไม้ กระพี้ไม้ รากไม้ เมล็ด
สี มองแล้วเห็นว่าเป็นสีเขียวใบไม้ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีม่วง สีนำ้าตาล สีดำา
กลิ่น ให้รู้ว่ามรกลิ่น หอม เหม็น หรือกลิ่นอย่างไร
รส ให้รู้ว่ามีรสอย่างไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รส
เย็น
5
ชื่อ ต้องรู้ว่ามีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้น ๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่า เป็น
อย่างไร ใบขี้เหล็กเป็นอย่างไร
ประเภทของยาเภสัชวัตถุ
ในพระราชบัญญัติยาฉบับที่ 3 ปีพุทธศักราช 2522 ได้แบ่งยาที่ได้จากเภสัช
วัตถุนี้ไว้เป็น 2 ประเภทคือ ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบ
โรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบำาบัดโรคของสัตว์ ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตำารา
ยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาแผน
โบราณ หรือได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตำารับยาเป็นยาแผนโบราณ
ยาสมุนไพร หมายถึงยาที่ได้จากพืชสัตว์แร่ธาตุที่ยังมิได้ผสมปรุงหรือ
แปรสภาพสมุนไพรนอกจากจะใช้เป็นยาแล้ว ยังใช้ประโยชน์เป็นอาหาร ใช้
เตรียมเป็นเครื่องดื่ม ใช้เป็นอาหารเสริม เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำาอาง
ใช้แต่งกลิ่น แต่งสีอาหารและยา ตลอดจนใช้เป็นยาฆ่าแมลงอีกด้วย ในทาง
ตรงกันข้าม มีสมุนไพรจำานวนไม่น้อยที่มีพิษ ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีหรือใช้เกินขนาด
จะมีพิษถึงตายได้ ดังนั้นการใช้สมุนไพรจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังและ
ใช้อย่างถูกต้อง ปัจจุบันมีการตื่นตัวในการนำาสมุนไพรมาใช้พัฒนาประเทศ
มากขึ้น
บทบาททางเศรษฐกิจ
สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวง
สาธารณสุขได้ดำาเนิน โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้น
การนำาสมุนไพรมาใช้บำาบัดรักษาโรคใน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
มากขึ้น และ ส่งเสริมให้ปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ภายในหมู่บ้านเป็นการ
สนับสนุนให้มีการใช้สมุนไพรมากยิ่งขึ้น อันเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยประเทศชาติ
ประหยัดเงินตราในการสั่งซื้อยาสำาเร็จรูปจากต่างประเทศได้ปีละเป็นจำานวน
มาก
การศึกษาเพิ่มเติม ปัจจุบันมีผู้พยายามศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนายา
สมุนไพรให้สามารถนำามาใช้ในรูปแบบที่สะดวกยิ่งขึ้น เช่น นำามาบดเป็นผง
6
บรรจุแคปซูล ตอกเป็นยาเม็ด เตรียมเป็นครีมหรือยาขี้ผึ้งเพื่อใช้ทาภายนอก
เป็นต้น ในการศึกษาวิจัยเพื่อนำาสมุนไพรมาใช้เป็นยาแผนปัจจุบันนั้น ได้มี
การวิจัยอย่างกว้างขวาง โดยพยายามสกัดสารสำาคัญจากสมุนไพรเพื่อให้ได้
สารที่บริสุทธิ์ ศึกษาคุณสมบัติทางด้านเคมี ฟิสิกส์ของสารเพื่อให้ทราบว่าเป็น
สารชนิดใด ตรวจสอบฤทธิ์ด้านเภสัชวิทยาในสัตว์ทดลองเพื่อดูให้ได้ผลดีใน
การรักษาโรคหรือไม่เพียงใด ศึกษาความเป็นพิษและผลข้างเคียง เมื่อพบว่า
สารชนิดใดให้ผลในการรักษาที่ดี โดยไม่มีพิษหรือมีพิษข้างเคียงน้อยจึงนำา
สารนั้นมาเตรียมเป็นยารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อทดลองใช้ต่อไป
การเก็บรักษาสมุนไพร
1.ควรเก็บยาสมุนไพรไว้ในที่แห้งและเย็น สถานที่เก็บสมุนไพรนั้นต้องมี
อากาศถ่ายเทสะดวกเพื่อขับไล่ความอับชื้นที่อาจจะก่อให้เกิดเชื้อราใน
สมุนไพรได้
2.สมุนไพรที่จะเก็บรักษานั้นต้องแห้งไม่เปียกชื้น หากเสี่ยงต่อการขึ้นราได้
ควรนำาสมุนไพรนั้นออกมาตากแดดอย่างสมำ่าเสมอ
3.ในการเก็บสมุนไพรนั้นควรแยกประเภทของสมุนไพรในการรักษาโรค
เพื่อป้องกันการหยิบยาผิดซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายได้
4.ควรตรวจดูความเรียบร้อยในการเก็บสมุนไพรบ่อย ๆ ว่ามีสัตว์หรือแมลง
ต่างๆ เข้าไปทำาลายหรือก่อความเสียหายกับสมุนไพรที่เก็บรักษาหรือไม่ ถ้ามี
ควรหาทางป้องกันเพื่อรักษาคุณภาพของสมุนไพร
การใช้สมุนไพรที่ถูกต้อง ควรปฏิบัติดังนี้
1. ใช้ให้ถูกต้น สมุนไพรมีชื่อพ้องหรือซำ้ากันมากและบางท้องถิ่นก็เรียกไม่
เหมือนกัน จึงต้องรู้จักสมุนไพร และใช้ให้ถูกต้น
7
2.ใช้ให้ถูกส่วน ต้นสมุนไพรไม่ว่าจะเป็นราก ใบ ดอก เปลือก ผล เมล็ด จะมี
ฤทธิ์ไม่เท่ากัน บางทีผลแก่ ผลอ่อนก็มีฤทธิ์ต่างกันด้วย จะต้องรู้ว่าส่วนใดใช้
เป็นยาได้
3.ใช้ให้ถูกขนาด สมุนไพรถ้าใช้น้อยไป ก็รักษาไม่ได้ผล แต่ถ้ามากไปก็อาจ
เป็นอันตราย หรือเกิดพิษต่อร่างกายได้
4.ใช้ให้ถูกวิธี สมุนไพรบางชนิดต้องใช้สด บางชนิดต้องปนกับเหล้า บาง
ชนิดใช้ต้มจะต้องรู้วิธีใช้ให้ถูกต้อง
5.ใช้ให้ถูกกับโรค เช่น ท้องผูกต้องใช้ยาระบาย ถ้าใช้ยาที่มีฤทธิ์ผาดสมาน
จะทำาให้ท้องผูกยิ่งขึ้น
วิธีการปรุงยาสมุนไพร โดย แพทย์หญิงนันทพร นิลวิเศษ และคน
อื่นๆ
ตำารายาไทยส่วนใหญ่กล่าวถึงวิธีปรุงยาไว้ 24 วิธี แต่บางตำาราเพิ่มวิธี
ที่ 25 คือ วิธีกวนยา ทำาเป็นขี้ผึ้งปิดแผลไว้ด้วย
ในจำานวนวิธีปรุงยาเหล่านี้มีผู้อธิบายรายละเอียดวิธีปรุงที่ใช้บ่อยๆ ไว้
ดังนี้คือ
ยาต้ม
การเตรียม ปริมาณที่ใช้โดยทั่วไป คือ 1 กำามือ เอาสมุนไพรมาขดมัด
รวมกันเป็นท่อนกลมยาวขนาด 1 ฝ่ามือ กว้างขนาดใช้มือกำาได้โดยรอบพอดี
ถ้าสมุนไพรนั้นแข็ง นำามาขดมัดไม่ได้ให้หั่นเป็นท่อนยาว 5-6 นิ้วฟุต กว้าง
๑/๒นิ้วฟุต แล้วเอามารวมกันให้ได้ขนาด 1 กำามือ
การต้ม เทนำ้าลงไปพอให้นำ้าท่วมยาเล็กน้อย(ประมาณ 3-4 แก้ว) ถ้า
ปริมาณยาที่ระบุไว้น้อยมาก เช่น ใช้เพียง 1 หยิบมือ ให้เทนำ้าลงไป 1 แก้ว
(ประมาณ 250 มิลลิลิตร) ต้มให้เดือดนาน 10-30 นาที แล้วแต่ว่าต้องการให้
นำ้ายาเข้มข้นหรือเจือจาง ยาต้มนี้ต้องกินในขณะที่ยายังอุ่นๆ
ยาปั้นลูกกลอน
8
การเตรียม หั่นสมุนไพรสดให้เป็นแว่นบางๆ ผึ่งแดดให้แห้ง บดเป็นผง
ในขณะที่ยายังร้อนแดดอยู่เพราะยาจะกรอบบดได้ง่าย
การปั้นยา ใช้ผงยาสมุนไพร 2 ส่วน ผสมกับนำ้าผึ้งหรือนำ้าเชื่อม 1
ส่วน ตั้งทิ้งไว้ 2-3 ชั่วโมง เพื่อให้ยาปั้นได้ง่ายไม่ติดมือ ปั้นยาเป็นลูกกลมๆ
เล็กๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร เสร็จแล้วผึ่งแดดจน
แห้ง จากนั้นอีก 2 สัปดาห์ ให้นำามาผึ่งแดดซำ้าอีกทีเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อรา
ขึ้นยา
ยาตำาคั้นเอานำ้ากิน
การเตรียม นำาสมุนไพรสดๆ มาตำาให้ละเอียดหรือจนกระทั่งเหลว ถ้า
ตัวยาแห้งไปให้เติมนำ้าลงไปจนเหลว
การคั้น คั้นเอานำ้ายาจากสมุนไพรที่ตำาไว้นั้นมารับประทาน สมุนไพร
บางอย่าง เช่น กระทือกระชายให้นำาไปเผาไฟให้สุกเสียก่อนจึงค่อยตำา
พอก
การเตรียม ใช้สมุนไพรสดตำาให้แหลกที่สุดให้พอเปียกแต่ไม่ถึงกับ
เหลว ถ้ายาแห้งให้เติมนำ้าหรือเหล้าโรงลงไป
การพอก เมื่อพอกยาแล้วต้องคอยหยอดนำ้าให้ยาเปียกชื้นอยู่เสมอ
เปลี่ยนยาวันละ 3 ครั้ง
ศัพท์ที่ใช้ในการปรุงยา
ในการปรุงยาผู้ปรุงยังจำาเป็นต้องรู้เกี่ยวกับคำาบางคำา ได้แก่
ทั้งห้า หมายถึง ต้น ราก ใบ ดอก และผล
ส่วน หมายถึง ส่วนในการตวง (ปริมาตร)ไม่ใช่การชั่งนำ้าหนัก
กระสายยา หมายถึง ตัวละลายยา เช่น นำ้า และนำ้าปูนใส เป็นต้น
9
การสะตุ หมายถึงการแปรรูปลักษณะของบางอย่าง เช่น เกลือ สารส้ม
หรือเครื่องยาให้เป็นผงบริสุทธิ์โดยวิธีทำาให้สลายตัวด้วยไฟ เพื่อให้สิ่งที่ไม่
ต้องการซึ่งเป็นมลทินระเหยหมดไปหรือเพื่อให้เครื่องยามีฤทธิ์อ่อนลงโดย
อาจเติมสารบางอย่าง เช่น นำ้ามะนาว นำ้ามะลิ เป็นต้นทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเครื่องยา
หรือสมุนไพรนั้นๆ
ประสะ มีความหมาย 3 ประการคือ
1. การทำาความสะอาดตัวยา หรือการล้างยา เช่น การทำาความสะอาดเหง้าขิง
เหง้าข่า
2. การใช้ปริมาณยาหลักเท่ากับยาทั้งหลายเช่น ยาประสะกะเพรา มีกะเพรา
เป็นหลัก และตัวยาอื่นๆ อีก ๖ ชนิด การปรุงจะใช้กะเพรา 6 ส่วน ตัวยาอื่นๆ
อย่างละ 1 ส่วน รวม 6 ส่วนเท่ากะเพรา 3. การทำาให้พิษหรือสิ่งที่ไม่ต้องการ
ของตัวยาอ่อนลง โดยที่ตัวยาที่ต้องการคงสภาพเดิม เช่น ประสะมหาหิงคุ์
หมายถึงการทำาให้กลิ่นเหม็นของมหาหิงคุ์ลดลง โดยใช้นำ้าใบกะเพราต้ม
เดือดมาละลายมหาหิงคุ์
ใบเพสลาด หมายถึง ใบไม้ที่จวน
กำาหนดอายุของยา
จะเห็นว่าการปรุงยาไทย มักใช้สมุนไพรหลายชนิด และใช้วิธีการ
ต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้ผลในการรักษา และคำานึงถึงความ
ปลอดภัยไปพร้อมกัน จึงกำาหนดอายุของยาไว้ด้วยดังนี้
1. ยาผงที่ผสมด้วยใบไม้ล้วนๆ มีอายุได้ประมาณ 3-6 เดือน
10
2. ยาผงที่ผสมด้วยแก่นไม้ล้วนๆ มีอายุได้ระหว่าง 6-8 เดือน
3. ยาผงที่ผสมด้วยใบไม้และแก่นไม้อย่างละเท่ากัน มีอายุได้ประมาณ
5-6 เดือน
อายุของยาที่เป็นเม็ดเป็นแท่ง หรือลูกกลอนมีกำาหนดอายุไว้ดังนี้
1. ยาเม็ดที่ผสมด้วยใบไม้ล้วนๆ มีอายุประมาณ 6-8 เดือน
2. ยาเม็ดที่ผสมด้วยแก่นไม้ล้วนๆ มีอายุประมาณ 1 ปี
3. ยาเม็ดที่ผสมด้วยหัวหรือเหง้าของพืช รวมกับแก่นไม้ มีอายุประมาณ 1
ปีครึ่ง
ทั้งยาเม็ดและยาผง ถ้าเก็บรักษาไว้ดีจะมีอายุยืนยาวกว่าที่กำาหนดไว้
และถ้าเก็บรักษาไม่ดีก็อาจเสื่อมเร็วกว่ากำาหนดได้
ข้อควรรู้เกี่ยวกับการปรุงยา
1. ถ้าไม่ได้บอกไว้ว่าให้ใช้สมุนไพรสดหรือแห้ง ให้ถือว่าใช้สมุนไพร
สด
2. ยาที่ใช้กินถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงไว้ ให้เข้าใจว่าใช้วิธีต้ม
3. ยาที่ใช้ภายนอกร่างกายถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงไว้ ให้เข้าใจว่าใช้วิธี
ตำาพอก
4. ยากิน ให้กินวันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร
5. ยาต้ม ให้กินครั้งละ 1/2 - 1 แก้ว ยาดองเหล้า และยาตำาคั้นเอานำ้า
กินครั้งละ 1/2 - 1 ช้อนโต๊ะ ยาผง กินครั้งละ 1-2 ช้อนชา ยาปั้นลูกกลอน
กินครั้งละ 1-2 เม็ด (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร) และยาชง ให้กิน
ครั้งละ 1 แก้ว
11
ว่านหางจระเข้
ไม้ล้มลุกใบใหญ่หนาที่ทุกคนรู้จักกันดี แม้ถิ่นกำาเนิดจะอยู่ไกลถึงฝั่ง
เมดิเตอร์เรเนียน และแอฟริกา แต่ในประเทศไทยก็มีการปลูกว่านหางจระเข้
อย่างแพร่หลาย ซึ่งในตำารับยาไทยก็ใช้ว่านหางจระเข้บำาบัดอาการต่าง ๆ
ได้มากมาย จนเป็นที่รู้จักว่า เป็นพืชอัศจรรย์ที่มีสรรพคุณสารพัดประโยชน์
โดย “วุ้นในใบสด” สามารถนำามาบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ แต่
สรรพคุณเด่น ๆ ที่ทุกคนน่าจะรู้จักก็คือ นำามาพอกแผลนำ้าร้อนลวก ไฟไหม้
แก้ปวดแสบปวดร้อน แผลเรื้อรัง รักษาผิวที่ถูกแดดเผา แผลในกระเพาะ
อาหาร และช่วยถอนพิษได้ เพราะว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยสมานแผล
แต่มีข้อแนะนำาว่า ก่อนใช้ควรทดสอบดูก่อนว่าแพ้หรือไม่ โดยเอาวุ้นทา
บริเวณท้องแขนด้านใน ถ้าผิวไม่คันหรือแดงก็ใช้ได้ นอกจากส่วนวุ้นในใบ
สดแล้ว ส่วน “ยางในใบ” ก็สามารถนำามาทำาเป็นยาระบายได้ และส่วน “เหง้า”
ก็นำาไปต้มนำ้ารับประทาน แก้โรคหนองในได้ด้วย
ขมิ้นชัน
เรียกกันทั่วไปว่า “ขมิ้น” เป็นไม้ล้มลุกมีสีเหลืองอมส้ม มีเหง้าอยู่ใต้ดิน
มีกลิ่นหอม คนนิยมนำา “เหง้า” ทั้ง สดและแห้งมาใช้รักษาอาการที่เกี่ยวกับ
กระเพาะอาหาร รวมทั้งแก้ท้องเสีย ท้องร่วง จุกเสียดแน่นท้อง และสามารถ
นำาขมิ้นชันมาทาภายนอก เพื่อใช้รักษาแผลเรื้อรัง แผลสด โรคผิวหนัง
พุพอง รักษาชันนะตุได้ด้วย
นอกจากนั้น “ขมิ้นชัน” ยังอุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี
และสารต้านอนุมูลอิสระ “คูเคอร์มิน” ที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งตับ อีกทั้งยัง
สร้างภูมิคุ้มกันให้ผิวหนัง หรือใครที่มีแผลอักเสบ “ขมิ้นชัน” ก็มีสรรพคุณ
ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น เพราะมีฤทธิ์ไปลดการอักเสบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่
ทำาให้เกิดหนอง และหากรับประทานขมิ้นชันทุกวัน ตามเวลาจะช่วยให้ความ
จำาดีขึ้น ไม่อ่อนเพลียยามตื่นนอน และช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ้นด้วย
12
ใบกระเพรา
แม้จะเป็นผักที่คนไทยนิยมสั่งมารับประทานเวลาที่นึกไม่ออก แต่ก็มี
น้อยคนที่จะรู้ว่า กะเพรา มีสรรพคุณอะไรบ้าง ที่เห็นชัด ๆ เลยก็คือ ใบ
กะเพรา มีฤทธิ์ขับลม ช่วยแก้จุดเสียด แน่นท้อง แก้ปวดท้องอุจจาระ ส่วนนำ้า
สกัดทั้งต้น สามารถรักษาแผลในกระเพาะอาหาร สำาหรับเมล็ดกะเพรา ก็
สามารถพอกตาให้ผงหรือฝุ่นที่เข้าตาหลุดออกมาได้อย่างง่ายดาย นอกจาก
นั้นแล้ว รากกะเพราแห้ง ๆ ยังนำามาชงกับนำ้าร้อนดื่มแก้โรคธาตุพิการได้ด้วย
และสรรพคุณเด็ดของกะเพราอีกประการก็คือ ช่วยขับไขมันและนำ้าตาล
เคยสงสัยบ้างไหมล่ะ ทำาไมอาหารตามสั่งต้องมีเมนูผัดกะเพราเนื้อ กะเพราไก่
กะเพราหมู นั่นก็เพราะนอกจากใบกะเพราจะช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ได้
แล้ว ยังมีฤทธิ์ขับไขมัน และนำ้าตาลส่วนเกินออกจากร่างกาย อีกทั้ง กะเพรา
จะช่วยขับนำ้าดีในตับออกมาให้ช่วยย่อยไขมันได้ดีขึ้นด้วย เพราะฉะนั้น หาก
บอกว่า รับประทานกะเพราแล้วจะช่วยป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบา
หวาน โรคหลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจ ก็คงไม่ผิดนัก
มะขามป้อม
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลางที่จัดเป็นยาอายุวัฒนะ เพราะมีสรรพคุณ
เพียบในแทบทุกส่วนของต้น แต่ที่รู้จักกันดีก็คือ ผลของมะขามป้อมจะมีรส
เปรี้ยวมาก ๆ แต่ก็ชุ่มคอ และให้วิตามินซีสูงมากเช่นกัน ดังนั้น จึงมีคนนำาผล
มะขามป้อมสดมาใช้เป็นยาแก้หวัด แก้ไอ ละลายเสมหะ รักษาโรคเลือดออก
ตามไรฟัน
นอกจากนั้นแล้ว ส่วน “ราก” ยังแก้พิษตะขาบกัด แก้ร้อนใน ลดความ
ดันโลหิต แก้โรคเรื้อน ส่วนเปลือก แก้โรคบิด และฟกชำ้า ส่วนปมก้าน ใช้เป็น
นำ้ายาบ้วนปาก แก้ปวดฟัน “ผลแห้ง” ใช้รักษาอาการท้องเสียง หนองใน เยื่อ
บุตาอักเสบ แก้ตกเลือด และส่วน “เมล็ด” ก็สามารถนำาไปเผาไฟผสมกับนำ้ามัน
พืช ทาแก้คัน แก้หืด หรือจะตำาเมล็ดให้เป็นผง ชงกับนำ้าร้อนดื่มแก้โรคเบา
หวาน หอบหืด หลอดลมอักเสบก็ได้
13
ใบย่านาง
ย่านางเป็นสมุนไพรรสจืด เป็นยาเย็น มีฤทธิ์ดับพิษร้อน คนจึงนำาใบ
ย่านางไปคั้นเป็นนำ้าคลอโรฟิลล์ เพื่อเพิ่มความสดชื่น ปรับอุณหภูมิใน
ร่างกาย และยังนำาใบย่านางไปช่วยดับพิษไข้ ดับพิษของอาหาร แก้อาการ
ผิดสำาแดง แก้พิษเมา แก้เลือดตก แก้กำาเดา ลดความร้อนได้ด้วย นอกจากใบ
แล้ว ส่วนอื่น ๆ ของย่านางก็มีประโยชน์เช่นกัน ทั้ง “ราก” ที่ใช้แก้ไข้พิษ ไข้
หัด ไข้ฝีดาษ ไข้กาฬ ไข้ทับระดู “เถาย่านาง” ใช้แก้ไข ลดความร้อนใน
ร่างกายขณะที่ข้อมูลทางเภสัชวิทยาระบุว่า ย่านาง ยังช่วยต้านมาลาเรีย
ยับยั้งการหดเกร็งของลำาไส้ ต้านฮีสตามีน ส่วน ข้อมูลทางโภชนาการระบุว่า
ย่านางมีเบต้าแคโรทีนในปริมาณสูง ซึ่งจะช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอ
ความเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย แถมยังอุดมไปด้วยเส้นในอาหาร แคลเซียม
เหล็ก ฟอสฟอรัส ย่านางจึงเป็นหนึ่งในจำานวนผักพื้นบ้านที่นักวิจัยแนะนำาให้
นำามาใช้ในรูปแบบ อาหารเพื่อรักษาโรคมะเร็ง
มะรุง
พืชสมุนไพรสุดแสนมหัศจรรย์ เพราะนอกจากจะนำามาปรุงอาหารรับ
ประทานแล้วได้รับสารอาหารอย่างวิตามินเอ วิตามินซี แคลเซียม
โพแทสเซียม ใยอาหาร แล้ว มะรุม ยังเป็นยาวิเศษรักษาที่ทุกส่วนสามารถใช้
รักษาได้สารพัดโรค
เริ่มจาก “ราก” ที่จะช่วยบำารุงไฟธาตุ แก้อาการบวม “เปลือก” ใช้
ประคบแก้โรคปวดหลัง ปวดข้อ รับประทานเป็นยาขับลมในลำาไส้ “กระพี้” ใช้
แก้ไขสันนิบาด “ใบ” มีแคลเซียม วิตามินซี และสารต้านอนุมูลอิสระสูงมาก
ใช้แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้อักเสบ มีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ “ดอก” ช่วย
บำารุงร่างกาย ขับปัสสาวะ ขับนำ้าตา ใช้ต้มทำานำ้าชาดื่มช่วยให้นอนหลับสบาย
“ฝัก” ใช้แก้ไข้หัวลม “เมล็ด” นำามาสกัดเป็นนำ้ามันใช้รักษาโรคปวดข้อ โรค
เกาท์ รักษาโรคผิวหนังจากเชื้อรา และ “เนื้อในเมล็ดมะรุม” ใช้แก้ไอได้ดี
14
รวมทั้งยังเพิ่มภูมิต้านทานให้ร่างกายได้ด้วย หากรับประทานเป็นประจำา แต่
สำาหรับคนที่เป็นโรคเลือด G6PD ไม่ควรรับประทานมะรุม
แนวทางการดำาเนินงาน
1. ปรึกษาและขอคำาแนะนำาจาอาจาร์ยที่ปรึกษาโครงงาน
2.ประชุมกลุ่มโครงงาน
3.ออกสำารวจสถานที่ และสอบถามข้อมูล
4.แบ่งงานและค้นหาข้อมูลกับโครงงานที่จัดทำา
5.ติดต่อองค์กรที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่จัดทำา
6.ประชุมวางแผนปฏิบัติงานเบื้องต้น
7.ลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้
8.ประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน
ลำา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทำาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
15
6 การทำาเอกสาร
รายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำา
โครงงาน)
1 ทุกคนสามารถนำาไปประกอบอาชีพได้
2 ทุกคนใช้เวลาว่างอย่างเกิดประโยชน์
3 ทุกคนได้รับข้อมูลข่าวสารได้ง่ายขึ้น
สถานที่ดำาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การอกแบบและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำาโครง
งาน)
http://xn--o3cepkej9b3gpeg.net/
http://www.namsongkram.com/2014/07/blog-post_20.html
http://www.slideshare.net/siriwanza/ss

More Related Content

What's hot

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
Mai Natthida
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Assa Bouquet
 
Work1
Work1Work1
Work1
saliorim
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Daranpop Doungdetch
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
pornkanok02
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
mew46716
 
Com project
Com projectCom project
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Supansa Tomdaeng
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
panita aom
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
Manop Amphonyothin
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
at1
at1at1
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
Popeye Kotchakorn
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
ssuser8b5bea
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kiattipong Sriwichai
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
Mai Natthida
 
ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้
Narrongdej3110
 
Punisa
PunisaPunisa
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
Wichai Likitponrak
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
Jah Jadeite
 

What's hot (20)

โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
at1
at1at1
at1
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
 

Similar to สมุนไพรไทย

ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
Korakrit Jindadang
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
pimchanokSirichaisop
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
Jaturaphun
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
MaryW6
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Preawpraow Klinhomm
 
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยเครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
Waraporn Chiangbun
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
mewsanit
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
phailinthaoninmani
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)
NKSJT
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักJorJames Satawat
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Thanwarath Khemthong
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
MewBesty
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
Ffim Radchasan
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
tangkwakamonwan
 

Similar to สมุนไพรไทย (20)

ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
work
workwork
work
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทยเครื่องดื่มสมุนไพรไทย
เครื่องดื่มสมุนไพรไทย
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

สมุนไพรไทย

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน ประโยชน์ของสมุนไพร ชื่อผู้ทำาโครงงาน นาย ณรงค์เดช เป็งวันผูก เลขที่ 20 ชั้น 6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ ศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. 2 สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1 นาย ณรงค์เดช เป็งวันผูก เลขที่ 20 คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อ ต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ประโยชน์ของสมุนไพร ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Benefits of Herb ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
  • 3. 3 ชื่อผู้ทำาโครงงาน ___________________________________________________ _________ ___________________________________________________ ______________________ ___________________________________________________ ______________________ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน 2 เดือน ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และ เหตุผล ของการทำาโครงงาน) เพื่อเสนอจุดเด่นและขยายเผยแผ่ความรู้ให้กว้างขวางกว่าเดิม โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เป็นตัวช่วยในการเสนอหรือขยายความรู้ เพิ่มเติม ให้ผู้คนที่รักสุขภาพสนใจในการดูแลตนเองได้ศึกษาและ รับข้อมูลข่าวสารได้สะดวกยิ่งขึ้น ในโครงงานนี้จะเน้นเพื่อการให้สาระ ข่าวสาร และข้อมูลที่เกิด ประโยชน์ต่อผู้คนเป็นส่วนใหญ่ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่ครบถ้วน และสามารถนำ้าไปปรับในในชีวิตประจำาวันได้ โดยการศึกษาข้อมูลของสมุนไพรเป็นวิธีที่สะดวกและง่ายต่อ การศึกษาค้นคว้า เพราะเราสามาศึกษาหาข้อมูลโดยผ่าน อินเตอร์เน็ตหรือหนังสือ หรือแหล่งข้อมูลได้หลากหลายช่องทาง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1 เพื่อขยายความรู้ประโยชน์ของสมุนไพร 2 เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3 เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ
  • 4. 4 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัดของการ ทำาโครงงาน) การจัดทำาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่องประโยชน์ของสมุนไพร เป็นกระบวนการสร้างสรรค์ในการ พัฒนาทางด้านทางคิด ความรู้ประโยชน์ของสมุนไพรที่ควรรู้ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำา โครงงาน) สมุนไพร หมายถึง "ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็น ยา หรือผสมกับสารอื่นตามตำารับยา เพื่อบำาบัดโรค บำารุง ร่างกาย หรือใช้ เป็นยาพิษ" หากนำาเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะ เรียกว่า ยา ในตำารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์ และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวานกานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น พืชเหล่านี้ถ้านำามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เชื่อ กันอีกด้วยว่า ต้นพืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยามากน้อยกว่ากันเท่านั้น พืชสมุนไพร หรือวัตถุธาตุนี้ หรือตัวยาสมุนไพรนี้ แบ่งออกเป็น 5 ประการ ดังนี้ รูป ได้แก่ ใบไม้ ดอกไม้ เปลือกไม้ แก่นไม้ กระพี้ไม้ รากไม้ เมล็ด สี มองแล้วเห็นว่าเป็นสีเขียวใบไม้ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีม่วง สีนำ้าตาล สีดำา กลิ่น ให้รู้ว่ามรกลิ่น หอม เหม็น หรือกลิ่นอย่างไร รส ให้รู้ว่ามีรสอย่างไร รสจืด รสฝาด รสขม รสเค็ม รสหวาน รสเปรี้ยว รส เย็น
  • 5. 5 ชื่อ ต้องรู้ว่ามีชื่ออะไรในพืชสมุนไพรนั้น ๆ ให้รู้ว่า ขิงเป็นอย่างไร ข่า เป็น อย่างไร ใบขี้เหล็กเป็นอย่างไร ประเภทของยาเภสัชวัตถุ ในพระราชบัญญัติยาฉบับที่ 3 ปีพุทธศักราช 2522 ได้แบ่งยาที่ได้จากเภสัช วัตถุนี้ไว้เป็น 2 ประเภทคือ ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบ โรคศิลปะแผนโบราณหรือในการบำาบัดโรคของสัตว์ ซึ่งมีปรากฏอยู่ในตำารา ยาแผนโบราณที่รัฐมนตรีประกาศ หรือยาที่รัฐมนตรีประกาศให้เป็นยาแผน โบราณ หรือได้รับอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนตำารับยาเป็นยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร หมายถึงยาที่ได้จากพืชสัตว์แร่ธาตุที่ยังมิได้ผสมปรุงหรือ แปรสภาพสมุนไพรนอกจากจะใช้เป็นยาแล้ว ยังใช้ประโยชน์เป็นอาหาร ใช้ เตรียมเป็นเครื่องดื่ม ใช้เป็นอาหารเสริม เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำาอาง ใช้แต่งกลิ่น แต่งสีอาหารและยา ตลอดจนใช้เป็นยาฆ่าแมลงอีกด้วย ในทาง ตรงกันข้าม มีสมุนไพรจำานวนไม่น้อยที่มีพิษ ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีหรือใช้เกินขนาด จะมีพิษถึงตายได้ ดังนั้นการใช้สมุนไพรจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังและ ใช้อย่างถูกต้อง ปัจจุบันมีการตื่นตัวในการนำาสมุนไพรมาใช้พัฒนาประเทศ มากขึ้น บทบาททางเศรษฐกิจ สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวง สาธารณสุขได้ดำาเนิน โครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้น การนำาสมุนไพรมาใช้บำาบัดรักษาโรคใน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ มากขึ้น และ ส่งเสริมให้ปลูกสมุนไพรเพื่อใช้ภายในหมู่บ้านเป็นการ สนับสนุนให้มีการใช้สมุนไพรมากยิ่งขึ้น อันเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยประเทศชาติ ประหยัดเงินตราในการสั่งซื้อยาสำาเร็จรูปจากต่างประเทศได้ปีละเป็นจำานวน มาก การศึกษาเพิ่มเติม ปัจจุบันมีผู้พยายามศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนายา สมุนไพรให้สามารถนำามาใช้ในรูปแบบที่สะดวกยิ่งขึ้น เช่น นำามาบดเป็นผง
  • 6. 6 บรรจุแคปซูล ตอกเป็นยาเม็ด เตรียมเป็นครีมหรือยาขี้ผึ้งเพื่อใช้ทาภายนอก เป็นต้น ในการศึกษาวิจัยเพื่อนำาสมุนไพรมาใช้เป็นยาแผนปัจจุบันนั้น ได้มี การวิจัยอย่างกว้างขวาง โดยพยายามสกัดสารสำาคัญจากสมุนไพรเพื่อให้ได้ สารที่บริสุทธิ์ ศึกษาคุณสมบัติทางด้านเคมี ฟิสิกส์ของสารเพื่อให้ทราบว่าเป็น สารชนิดใด ตรวจสอบฤทธิ์ด้านเภสัชวิทยาในสัตว์ทดลองเพื่อดูให้ได้ผลดีใน การรักษาโรคหรือไม่เพียงใด ศึกษาความเป็นพิษและผลข้างเคียง เมื่อพบว่า สารชนิดใดให้ผลในการรักษาที่ดี โดยไม่มีพิษหรือมีพิษข้างเคียงน้อยจึงนำา สารนั้นมาเตรียมเป็นยารูปแบบที่เหมาะสมเพื่อทดลองใช้ต่อไป การเก็บรักษาสมุนไพร 1.ควรเก็บยาสมุนไพรไว้ในที่แห้งและเย็น สถานที่เก็บสมุนไพรนั้นต้องมี อากาศถ่ายเทสะดวกเพื่อขับไล่ความอับชื้นที่อาจจะก่อให้เกิดเชื้อราใน สมุนไพรได้ 2.สมุนไพรที่จะเก็บรักษานั้นต้องแห้งไม่เปียกชื้น หากเสี่ยงต่อการขึ้นราได้ ควรนำาสมุนไพรนั้นออกมาตากแดดอย่างสมำ่าเสมอ 3.ในการเก็บสมุนไพรนั้นควรแยกประเภทของสมุนไพรในการรักษาโรค เพื่อป้องกันการหยิบยาผิดซึ่งอาจจะก่อให้เกิดอันตรายได้ 4.ควรตรวจดูความเรียบร้อยในการเก็บสมุนไพรบ่อย ๆ ว่ามีสัตว์หรือแมลง ต่างๆ เข้าไปทำาลายหรือก่อความเสียหายกับสมุนไพรที่เก็บรักษาหรือไม่ ถ้ามี ควรหาทางป้องกันเพื่อรักษาคุณภาพของสมุนไพร การใช้สมุนไพรที่ถูกต้อง ควรปฏิบัติดังนี้ 1. ใช้ให้ถูกต้น สมุนไพรมีชื่อพ้องหรือซำ้ากันมากและบางท้องถิ่นก็เรียกไม่ เหมือนกัน จึงต้องรู้จักสมุนไพร และใช้ให้ถูกต้น
  • 7. 7 2.ใช้ให้ถูกส่วน ต้นสมุนไพรไม่ว่าจะเป็นราก ใบ ดอก เปลือก ผล เมล็ด จะมี ฤทธิ์ไม่เท่ากัน บางทีผลแก่ ผลอ่อนก็มีฤทธิ์ต่างกันด้วย จะต้องรู้ว่าส่วนใดใช้ เป็นยาได้ 3.ใช้ให้ถูกขนาด สมุนไพรถ้าใช้น้อยไป ก็รักษาไม่ได้ผล แต่ถ้ามากไปก็อาจ เป็นอันตราย หรือเกิดพิษต่อร่างกายได้ 4.ใช้ให้ถูกวิธี สมุนไพรบางชนิดต้องใช้สด บางชนิดต้องปนกับเหล้า บาง ชนิดใช้ต้มจะต้องรู้วิธีใช้ให้ถูกต้อง 5.ใช้ให้ถูกกับโรค เช่น ท้องผูกต้องใช้ยาระบาย ถ้าใช้ยาที่มีฤทธิ์ผาดสมาน จะทำาให้ท้องผูกยิ่งขึ้น วิธีการปรุงยาสมุนไพร โดย แพทย์หญิงนันทพร นิลวิเศษ และคน อื่นๆ ตำารายาไทยส่วนใหญ่กล่าวถึงวิธีปรุงยาไว้ 24 วิธี แต่บางตำาราเพิ่มวิธี ที่ 25 คือ วิธีกวนยา ทำาเป็นขี้ผึ้งปิดแผลไว้ด้วย ในจำานวนวิธีปรุงยาเหล่านี้มีผู้อธิบายรายละเอียดวิธีปรุงที่ใช้บ่อยๆ ไว้ ดังนี้คือ ยาต้ม การเตรียม ปริมาณที่ใช้โดยทั่วไป คือ 1 กำามือ เอาสมุนไพรมาขดมัด รวมกันเป็นท่อนกลมยาวขนาด 1 ฝ่ามือ กว้างขนาดใช้มือกำาได้โดยรอบพอดี ถ้าสมุนไพรนั้นแข็ง นำามาขดมัดไม่ได้ให้หั่นเป็นท่อนยาว 5-6 นิ้วฟุต กว้าง ๑/๒นิ้วฟุต แล้วเอามารวมกันให้ได้ขนาด 1 กำามือ การต้ม เทนำ้าลงไปพอให้นำ้าท่วมยาเล็กน้อย(ประมาณ 3-4 แก้ว) ถ้า ปริมาณยาที่ระบุไว้น้อยมาก เช่น ใช้เพียง 1 หยิบมือ ให้เทนำ้าลงไป 1 แก้ว (ประมาณ 250 มิลลิลิตร) ต้มให้เดือดนาน 10-30 นาที แล้วแต่ว่าต้องการให้ นำ้ายาเข้มข้นหรือเจือจาง ยาต้มนี้ต้องกินในขณะที่ยายังอุ่นๆ ยาปั้นลูกกลอน
  • 8. 8 การเตรียม หั่นสมุนไพรสดให้เป็นแว่นบางๆ ผึ่งแดดให้แห้ง บดเป็นผง ในขณะที่ยายังร้อนแดดอยู่เพราะยาจะกรอบบดได้ง่าย การปั้นยา ใช้ผงยาสมุนไพร 2 ส่วน ผสมกับนำ้าผึ้งหรือนำ้าเชื่อม 1 ส่วน ตั้งทิ้งไว้ 2-3 ชั่วโมง เพื่อให้ยาปั้นได้ง่ายไม่ติดมือ ปั้นยาเป็นลูกกลมๆ เล็กๆ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร เสร็จแล้วผึ่งแดดจน แห้ง จากนั้นอีก 2 สัปดาห์ ให้นำามาผึ่งแดดซำ้าอีกทีเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อรา ขึ้นยา ยาตำาคั้นเอานำ้ากิน การเตรียม นำาสมุนไพรสดๆ มาตำาให้ละเอียดหรือจนกระทั่งเหลว ถ้า ตัวยาแห้งไปให้เติมนำ้าลงไปจนเหลว การคั้น คั้นเอานำ้ายาจากสมุนไพรที่ตำาไว้นั้นมารับประทาน สมุนไพร บางอย่าง เช่น กระทือกระชายให้นำาไปเผาไฟให้สุกเสียก่อนจึงค่อยตำา พอก การเตรียม ใช้สมุนไพรสดตำาให้แหลกที่สุดให้พอเปียกแต่ไม่ถึงกับ เหลว ถ้ายาแห้งให้เติมนำ้าหรือเหล้าโรงลงไป การพอก เมื่อพอกยาแล้วต้องคอยหยอดนำ้าให้ยาเปียกชื้นอยู่เสมอ เปลี่ยนยาวันละ 3 ครั้ง ศัพท์ที่ใช้ในการปรุงยา ในการปรุงยาผู้ปรุงยังจำาเป็นต้องรู้เกี่ยวกับคำาบางคำา ได้แก่ ทั้งห้า หมายถึง ต้น ราก ใบ ดอก และผล ส่วน หมายถึง ส่วนในการตวง (ปริมาตร)ไม่ใช่การชั่งนำ้าหนัก กระสายยา หมายถึง ตัวละลายยา เช่น นำ้า และนำ้าปูนใส เป็นต้น
  • 9. 9 การสะตุ หมายถึงการแปรรูปลักษณะของบางอย่าง เช่น เกลือ สารส้ม หรือเครื่องยาให้เป็นผงบริสุทธิ์โดยวิธีทำาให้สลายตัวด้วยไฟ เพื่อให้สิ่งที่ไม่ ต้องการซึ่งเป็นมลทินระเหยหมดไปหรือเพื่อให้เครื่องยามีฤทธิ์อ่อนลงโดย อาจเติมสารบางอย่าง เช่น นำ้ามะนาว นำ้ามะลิ เป็นต้นทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเครื่องยา หรือสมุนไพรนั้นๆ ประสะ มีความหมาย 3 ประการคือ 1. การทำาความสะอาดตัวยา หรือการล้างยา เช่น การทำาความสะอาดเหง้าขิง เหง้าข่า 2. การใช้ปริมาณยาหลักเท่ากับยาทั้งหลายเช่น ยาประสะกะเพรา มีกะเพรา เป็นหลัก และตัวยาอื่นๆ อีก ๖ ชนิด การปรุงจะใช้กะเพรา 6 ส่วน ตัวยาอื่นๆ อย่างละ 1 ส่วน รวม 6 ส่วนเท่ากะเพรา 3. การทำาให้พิษหรือสิ่งที่ไม่ต้องการ ของตัวยาอ่อนลง โดยที่ตัวยาที่ต้องการคงสภาพเดิม เช่น ประสะมหาหิงคุ์ หมายถึงการทำาให้กลิ่นเหม็นของมหาหิงคุ์ลดลง โดยใช้นำ้าใบกะเพราต้ม เดือดมาละลายมหาหิงคุ์ ใบเพสลาด หมายถึง ใบไม้ที่จวน กำาหนดอายุของยา จะเห็นว่าการปรุงยาไทย มักใช้สมุนไพรหลายชนิด และใช้วิธีการ ต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้ผลในการรักษา และคำานึงถึงความ ปลอดภัยไปพร้อมกัน จึงกำาหนดอายุของยาไว้ด้วยดังนี้ 1. ยาผงที่ผสมด้วยใบไม้ล้วนๆ มีอายุได้ประมาณ 3-6 เดือน
  • 10. 10 2. ยาผงที่ผสมด้วยแก่นไม้ล้วนๆ มีอายุได้ระหว่าง 6-8 เดือน 3. ยาผงที่ผสมด้วยใบไม้และแก่นไม้อย่างละเท่ากัน มีอายุได้ประมาณ 5-6 เดือน อายุของยาที่เป็นเม็ดเป็นแท่ง หรือลูกกลอนมีกำาหนดอายุไว้ดังนี้ 1. ยาเม็ดที่ผสมด้วยใบไม้ล้วนๆ มีอายุประมาณ 6-8 เดือน 2. ยาเม็ดที่ผสมด้วยแก่นไม้ล้วนๆ มีอายุประมาณ 1 ปี 3. ยาเม็ดที่ผสมด้วยหัวหรือเหง้าของพืช รวมกับแก่นไม้ มีอายุประมาณ 1 ปีครึ่ง ทั้งยาเม็ดและยาผง ถ้าเก็บรักษาไว้ดีจะมีอายุยืนยาวกว่าที่กำาหนดไว้ และถ้าเก็บรักษาไม่ดีก็อาจเสื่อมเร็วกว่ากำาหนดได้ ข้อควรรู้เกี่ยวกับการปรุงยา 1. ถ้าไม่ได้บอกไว้ว่าให้ใช้สมุนไพรสดหรือแห้ง ให้ถือว่าใช้สมุนไพร สด 2. ยาที่ใช้กินถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงไว้ ให้เข้าใจว่าใช้วิธีต้ม 3. ยาที่ใช้ภายนอกร่างกายถ้าไม่ได้ระบุวิธีปรุงไว้ ให้เข้าใจว่าใช้วิธี ตำาพอก 4. ยากิน ให้กินวันละ 3 ครั้งก่อนอาหาร 5. ยาต้ม ให้กินครั้งละ 1/2 - 1 แก้ว ยาดองเหล้า และยาตำาคั้นเอานำ้า กินครั้งละ 1/2 - 1 ช้อนโต๊ะ ยาผง กินครั้งละ 1-2 ช้อนชา ยาปั้นลูกกลอน กินครั้งละ 1-2 เม็ด (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร) และยาชง ให้กิน ครั้งละ 1 แก้ว
  • 11. 11 ว่านหางจระเข้ ไม้ล้มลุกใบใหญ่หนาที่ทุกคนรู้จักกันดี แม้ถิ่นกำาเนิดจะอยู่ไกลถึงฝั่ง เมดิเตอร์เรเนียน และแอฟริกา แต่ในประเทศไทยก็มีการปลูกว่านหางจระเข้ อย่างแพร่หลาย ซึ่งในตำารับยาไทยก็ใช้ว่านหางจระเข้บำาบัดอาการต่าง ๆ ได้มากมาย จนเป็นที่รู้จักว่า เป็นพืชอัศจรรย์ที่มีสรรพคุณสารพัดประโยชน์ โดย “วุ้นในใบสด” สามารถนำามาบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ แต่ สรรพคุณเด่น ๆ ที่ทุกคนน่าจะรู้จักก็คือ นำามาพอกแผลนำ้าร้อนลวก ไฟไหม้ แก้ปวดแสบปวดร้อน แผลเรื้อรัง รักษาผิวที่ถูกแดดเผา แผลในกระเพาะ อาหาร และช่วยถอนพิษได้ เพราะว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยสมานแผล แต่มีข้อแนะนำาว่า ก่อนใช้ควรทดสอบดูก่อนว่าแพ้หรือไม่ โดยเอาวุ้นทา บริเวณท้องแขนด้านใน ถ้าผิวไม่คันหรือแดงก็ใช้ได้ นอกจากส่วนวุ้นในใบ สดแล้ว ส่วน “ยางในใบ” ก็สามารถนำามาทำาเป็นยาระบายได้ และส่วน “เหง้า” ก็นำาไปต้มนำ้ารับประทาน แก้โรคหนองในได้ด้วย ขมิ้นชัน เรียกกันทั่วไปว่า “ขมิ้น” เป็นไม้ล้มลุกมีสีเหลืองอมส้ม มีเหง้าอยู่ใต้ดิน มีกลิ่นหอม คนนิยมนำา “เหง้า” ทั้ง สดและแห้งมาใช้รักษาอาการที่เกี่ยวกับ กระเพาะอาหาร รวมทั้งแก้ท้องเสีย ท้องร่วง จุกเสียดแน่นท้อง และสามารถ นำาขมิ้นชันมาทาภายนอก เพื่อใช้รักษาแผลเรื้อรัง แผลสด โรคผิวหนัง พุพอง รักษาชันนะตุได้ด้วย นอกจากนั้น “ขมิ้นชัน” ยังอุดมไปด้วยวิตามินเอ วิตามินซี วิตามินอี และสารต้านอนุมูลอิสระ “คูเคอร์มิน” ที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งตับ อีกทั้งยัง สร้างภูมิคุ้มกันให้ผิวหนัง หรือใครที่มีแผลอักเสบ “ขมิ้นชัน” ก็มีสรรพคุณ ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น เพราะมีฤทธิ์ไปลดการอักเสบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ ทำาให้เกิดหนอง และหากรับประทานขมิ้นชันทุกวัน ตามเวลาจะช่วยให้ความ จำาดีขึ้น ไม่อ่อนเพลียยามตื่นนอน และช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ้นด้วย
  • 12. 12 ใบกระเพรา แม้จะเป็นผักที่คนไทยนิยมสั่งมารับประทานเวลาที่นึกไม่ออก แต่ก็มี น้อยคนที่จะรู้ว่า กะเพรา มีสรรพคุณอะไรบ้าง ที่เห็นชัด ๆ เลยก็คือ ใบ กะเพรา มีฤทธิ์ขับลม ช่วยแก้จุดเสียด แน่นท้อง แก้ปวดท้องอุจจาระ ส่วนนำ้า สกัดทั้งต้น สามารถรักษาแผลในกระเพาะอาหาร สำาหรับเมล็ดกะเพรา ก็ สามารถพอกตาให้ผงหรือฝุ่นที่เข้าตาหลุดออกมาได้อย่างง่ายดาย นอกจาก นั้นแล้ว รากกะเพราแห้ง ๆ ยังนำามาชงกับนำ้าร้อนดื่มแก้โรคธาตุพิการได้ด้วย และสรรพคุณเด็ดของกะเพราอีกประการก็คือ ช่วยขับไขมันและนำ้าตาล เคยสงสัยบ้างไหมล่ะ ทำาไมอาหารตามสั่งต้องมีเมนูผัดกะเพราเนื้อ กะเพราไก่ กะเพราหมู นั่นก็เพราะนอกจากใบกะเพราจะช่วยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ได้ แล้ว ยังมีฤทธิ์ขับไขมัน และนำ้าตาลส่วนเกินออกจากร่างกาย อีกทั้ง กะเพรา จะช่วยขับนำ้าดีในตับออกมาให้ช่วยย่อยไขมันได้ดีขึ้นด้วย เพราะฉะนั้น หาก บอกว่า รับประทานกะเพราแล้วจะช่วยป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบา หวาน โรคหลอดเลือดอุดตัน โรคหัวใจ ก็คงไม่ผิดนัก มะขามป้อม เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลางที่จัดเป็นยาอายุวัฒนะ เพราะมีสรรพคุณ เพียบในแทบทุกส่วนของต้น แต่ที่รู้จักกันดีก็คือ ผลของมะขามป้อมจะมีรส เปรี้ยวมาก ๆ แต่ก็ชุ่มคอ และให้วิตามินซีสูงมากเช่นกัน ดังนั้น จึงมีคนนำาผล มะขามป้อมสดมาใช้เป็นยาแก้หวัด แก้ไอ ละลายเสมหะ รักษาโรคเลือดออก ตามไรฟัน นอกจากนั้นแล้ว ส่วน “ราก” ยังแก้พิษตะขาบกัด แก้ร้อนใน ลดความ ดันโลหิต แก้โรคเรื้อน ส่วนเปลือก แก้โรคบิด และฟกชำ้า ส่วนปมก้าน ใช้เป็น นำ้ายาบ้วนปาก แก้ปวดฟัน “ผลแห้ง” ใช้รักษาอาการท้องเสียง หนองใน เยื่อ บุตาอักเสบ แก้ตกเลือด และส่วน “เมล็ด” ก็สามารถนำาไปเผาไฟผสมกับนำ้ามัน พืช ทาแก้คัน แก้หืด หรือจะตำาเมล็ดให้เป็นผง ชงกับนำ้าร้อนดื่มแก้โรคเบา หวาน หอบหืด หลอดลมอักเสบก็ได้
  • 13. 13 ใบย่านาง ย่านางเป็นสมุนไพรรสจืด เป็นยาเย็น มีฤทธิ์ดับพิษร้อน คนจึงนำาใบ ย่านางไปคั้นเป็นนำ้าคลอโรฟิลล์ เพื่อเพิ่มความสดชื่น ปรับอุณหภูมิใน ร่างกาย และยังนำาใบย่านางไปช่วยดับพิษไข้ ดับพิษของอาหาร แก้อาการ ผิดสำาแดง แก้พิษเมา แก้เลือดตก แก้กำาเดา ลดความร้อนได้ด้วย นอกจากใบ แล้ว ส่วนอื่น ๆ ของย่านางก็มีประโยชน์เช่นกัน ทั้ง “ราก” ที่ใช้แก้ไข้พิษ ไข้ หัด ไข้ฝีดาษ ไข้กาฬ ไข้ทับระดู “เถาย่านาง” ใช้แก้ไข ลดความร้อนใน ร่างกายขณะที่ข้อมูลทางเภสัชวิทยาระบุว่า ย่านาง ยังช่วยต้านมาลาเรีย ยับยั้งการหดเกร็งของลำาไส้ ต้านฮีสตามีน ส่วน ข้อมูลทางโภชนาการระบุว่า ย่านางมีเบต้าแคโรทีนในปริมาณสูง ซึ่งจะช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอ ความเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย แถมยังอุดมไปด้วยเส้นในอาหาร แคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส ย่านางจึงเป็นหนึ่งในจำานวนผักพื้นบ้านที่นักวิจัยแนะนำาให้ นำามาใช้ในรูปแบบ อาหารเพื่อรักษาโรคมะเร็ง มะรุง พืชสมุนไพรสุดแสนมหัศจรรย์ เพราะนอกจากจะนำามาปรุงอาหารรับ ประทานแล้วได้รับสารอาหารอย่างวิตามินเอ วิตามินซี แคลเซียม โพแทสเซียม ใยอาหาร แล้ว มะรุม ยังเป็นยาวิเศษรักษาที่ทุกส่วนสามารถใช้ รักษาได้สารพัดโรค เริ่มจาก “ราก” ที่จะช่วยบำารุงไฟธาตุ แก้อาการบวม “เปลือก” ใช้ ประคบแก้โรคปวดหลัง ปวดข้อ รับประทานเป็นยาขับลมในลำาไส้ “กระพี้” ใช้ แก้ไขสันนิบาด “ใบ” มีแคลเซียม วิตามินซี และสารต้านอนุมูลอิสระสูงมาก ใช้แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้อักเสบ มีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ “ดอก” ช่วย บำารุงร่างกาย ขับปัสสาวะ ขับนำ้าตา ใช้ต้มทำานำ้าชาดื่มช่วยให้นอนหลับสบาย “ฝัก” ใช้แก้ไข้หัวลม “เมล็ด” นำามาสกัดเป็นนำ้ามันใช้รักษาโรคปวดข้อ โรค เกาท์ รักษาโรคผิวหนังจากเชื้อรา และ “เนื้อในเมล็ดมะรุม” ใช้แก้ไอได้ดี
  • 14. 14 รวมทั้งยังเพิ่มภูมิต้านทานให้ร่างกายได้ด้วย หากรับประทานเป็นประจำา แต่ สำาหรับคนที่เป็นโรคเลือด G6PD ไม่ควรรับประทานมะรุม แนวทางการดำาเนินงาน 1. ปรึกษาและขอคำาแนะนำาจาอาจาร์ยที่ปรึกษาโครงงาน 2.ประชุมกลุ่มโครงงาน 3.ออกสำารวจสถานที่ และสอบถามข้อมูล 4.แบ่งงานและค้นหาข้อมูลกับโครงงานที่จัดทำา 5.ติดต่อองค์กรที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่จัดทำา 6.ประชุมวางแผนปฏิบัติงานเบื้องต้น 7.ลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ 8.ประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน ลำา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทำาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ
  • 15. 15 6 การทำาเอกสาร รายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำา โครงงาน) 1 ทุกคนสามารถนำาไปประกอบอาชีพได้ 2 ทุกคนใช้เวลาว่างอย่างเกิดประโยชน์ 3 ทุกคนได้รับข้อมูลข่าวสารได้ง่ายขึ้น สถานที่ดำาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้การอกแบบและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำาโครง งาน) http://xn--o3cepkej9b3gpeg.net/ http://www.namsongkram.com/2014/07/blog-post_20.html http://www.slideshare.net/siriwanza/ss