SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน 5 โรคสาคัญทางจิตเวชที่คนไทยควรรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวเวสารัช ไชยทุม เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวเวสารัช ไชยทุม เลขที่ 18
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
5 โรคสาคัญทางจิตเวช ที่คนไทยควรรู้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเวสารัช ไชยทุม
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันคนไทยที่ป่วยด้วยโรคจิตเวชมีไม่น้อย ขณะที่ผู้ป่วยบางรายรู้ตัวว่าตนเองป่วย บางรายก็ไม่รู้ตัว ที่
สาคัญไปกว่านั้น ผู้ป่วยบางรายยังสับสนในอาการป่วยทางจิตเวชบางโรค และเข้าใจผิดคิดว่าตนเองป่วย
เป็นโรคทางกาย แต่เมื่อทาการตรวจร่างกายจะไม่พบความผิดปกติแต่อย่างใด จึงจาเป็นต้องให้ความรู้
เกี่ยวกับโรคจิตเวช เพื่อให้ผู้ป่วยได้สังเกตตนเอง รวมถึงการสังเกตคนรอบข้างว่าเข้าข่ายเป็นผู้ป่วยหรือไม่
สู่การรับมือและการรักษาที่ถูกต้อง โดยครั้งนี้เป็นการนาเสนอ 5 โรคจิตเวชสาคัญที่คนไทยควรรู้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อรู้เท่าทันโรคซึมเศร้า
2.เพื่อสังเกตพฤติกรรมคนรอบข้างว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงที่จะเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่
3.เพื่อเตรียมตัวรับมือและการรักษาที่ถูกต้อง
ขอบเขตโครงงาน
1.โรคแพนิค
2.โรคซึมเศร้า
3.โรคจิตเถท
4.โรคไบโพลาร์
5.โรคสมองเสื้อม
3
หลักการและทฤษฎี
ปัจจุบันคนไทยที่ป่วยด้วยโรคจิตเวชมีไม่น้อย ขณะที่ผู้ป่วยบางรายรู้ตัวว่าตนเองป่วย บางรายก็ไม่รู้ตัว ที่
สาคัญไปกว่านั้น ผู้ป่วยบางรายยังสับสนในอาการป่วยทางจิตเวชบางโรค และเข้าใจผิดคิดว่าตนเองป่วย
เป็นโรคทางกาย แต่เมื่อทาการตรวจร่างกายจะไม่พบความผิดปกติแต่อย่างใด จึงจาเป็นต้องให้ความรู้
เกี่ยวกับโรคจิตเวช เพื่อให้ผู้ป่วยได้สังเกตตนเอง รวมถึงการสังเกตคนรอบข้างว่าเข้าข่ายเป็นผู้ป่วยหรือไม่
สู่การรับมือและการรักษาที่ถูกต้อง โดยครั้งนี้เป็นการนาเสนอ 5 โรคจิตเวชสาคัญที่คนไทยควรรู้
1.โรคแพนิค
โรคแพนิคเป็นโรคตื่นตระหนก เกิดขึ้นจากระบบประสาทอัตโนมัติมีการทางานที่ไวต่อสิ่งกระตุ้น ทาให้มี
อาการแพนิค ได้แก่หัวใจเต้นเร็ว หายใจติดขัด จุกแน่น เวียนศีรษะ คล้ายจะเป็นลม หรือเหมือนกับจะถึง
ชีวิต โดยการเกิดครั้งแรกจะเกิดขึ้นเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่มีเรื่องกดดันหรือถูกกระตุ้นให้ตื่นตัว เช่น
เกิดขึ้นตอนกาลังจะขับรถขึ้นทางด่วน ทาให้ผู้ป่วยไม่กล้าขึ้นทางด่วน เป็นต้น และเมื่อมีครั้งที่ 1 มักมีครั้ง
ที่ 2 และครั้งที่ 3 ตามมาเรื่อย ๆ กล่าวคือเมื่อเจอกับสถานการณ์กระตุ้นนั้นอีกครั้ง ก็จะมีอาการแพนิค
เกิดขึ้นอีก อาการแพนิคแต่ละครั้งจะเป็น 10-20 นาที เมื่อหายก็จะหายปกติเลย
ความสาคัญของโรค เนื่องจากยังมีผู้ป่วยบางรายไม่รู้จักหรือยังขาดความรู้เกี่ยวกับโรคแพนิค เมื่อมีอาการ
มักเข้าใจผิดและคิดว่าตนเองเป็นโรคทางกาย เช่น โรคหัวใจ แต่เมื่อพบแพทย์แล้วตรวจคลื่นหัวใจจะ
พบว่าร่างกายปกติทุกอย่าง และอาจต้องใช้เวลาอยู่นานกว่าจะรู้ตัวว่าตนเองป่วยด้วยโรคแพนิค ถือเป็น
อีกหนึ่งโรคที่คนไทยควรทาความรู้จัก
อาการของโรคแพนิค
1.มีอาการแพนิคเกิดขึ้นบ่อย ๆ โดยคาดไม่ได้ว่าจะเกิดเมื่อไร
2.หลังจากมีอาการแพนิค จะมีอาการต่อไปนี้ตามมาเป็นเวลานานอย่างน้อย 1 เดือน
 กังวลอยู่ตลอดเวลาว่าจะมีอาการเกิดขึ้นมาอีก หรือกลัวผลที่ตามมา เช่น ควบคุมตนเองไม่ได้
เป็นบ้า
 มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปอย่างชัดเจน โดยเกี่ยวเนื่องกับการมีอาการนี้ เช่น ไม่กล้าไปไหนถ้าไม่มั่นใจ
ว่าจะมีคนช่วยได้ไหม หมกมุ่นกังวลกลัวเป็นโรคหัวใจ
2.โรคซึมเศร้า
ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจะมีอาการหดหู่ ท้อแท้ เบื่อหน่าย รู้สึกไม่มีคุณค่าในตนเอง บางรายอาจไม่รู้สึก
เศร้าแต่จะเบื่อหน่ายทุกอย่างรอบตัว และไม่รู้จะอยู่ต่อไปเพื่ออะไร ความสาคัญของโรคนี้คือผู้ป่วยที่ไม่ได้
รับการรักษามีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง หากมีอาการของโรคซึมเศร้านานเกิน 2 สัปดาห์ ควรพบ
แพทย์เพื่อประเมินว่าเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่
อาการของโรคซึมเศร้า
1. อารมณ์เปลี่ยนแปลงไป – เศร้า หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้บ่อย
2. ความคิดเปลี่ยนแปลง – มองทุกอย่างแย่ไปหมด รู้สึกไร้คุณค่าในตนเอง หรือคิดว่าตนเองเป็น
ภาระของผู้อื่น มองเห็นแต่ความผิดพลาดของตนเอง รู้สึกสิ้นหวัง อาจมีความคิดอยากตาย
3. สมาธิความจาแย่ลง – หลงลืมง่าย จิตใจเหม่อลอย ประสิทธิภาพการทางานลดลง
4
4. มีอาการทางร่างกายต่าง ๆ – อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร น้าหนักลด ปวดหัว เมื่อยตัว
5. 3.โรคจิตเภท
ผู้ป่วยจะมีอาการประสาทหลอน หูแว่ว มีภาพหลอนเกิดขึ้น และจะแสดงออกโดยการพูดคนเดียว
หัวเราะคนเดียว มีความหลงผิดหรือหวาดระแวง เป็นนานเกิน 6 เดือน หากเป็นแล้วไม่รักษาตั้งแต่ต้น
หรือปล่อยทิ้งไว้นาน จะทาให้การรักษามีความยุ่งยาก และผลการรักษาไม่ดีนัก โรคจิตเภทเป็นโรคเรื้อรัง
การรักษาจะช่วยให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น แต่จะต้องใช้ยาไปตลอดชีวิต ปัญหาของโรคนี้คือผู้ป่วยบางราย
เมื่อพบว่าตนเองอาการดีขึ้น มักคิดว่าหายแล้วและหยุดใช้ยา ทาให้อาการกาเริบขึ้นมาอีก โดยอาการมัก
เกิดขึ้นเมื่อหยุดยาไปเป็นเวลาหลาย ๆ เดือน เช่น 6-7 เดือน ผู้ป่วยจะต้องทาการเริ่มต้นรักษาใหม่
ทั้งหมด
4.โรคไบโพลาร์
โรคไบโพลาร์หรือโรคอารมณ์สองขั้ว เป็นความผิดปกติทางอารมณ์ของผู้ป่วยมีลักษณะอารมณ์
เปลี่ยนแปลงไปมาระหว่าง ช่วงซึมเศร้าและช่วงที่อารมณ์ดีเกินปกติ (ช่วงแมเนีย) โดยในช่วงซึมเศร้าจะมี
อาการหดหู่ ท้อแท้ สิ้นหวัง อาการช่วงนี้จะเหมือนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า อาการจะคงอยู่ติดต่อกันนานหลาย
เดือนแล้วหายไปเหมือนคนปกติก่อนจะเข้าสู่ช่วงอาการแมเนีย ซึ่งจะมีอารมณ์คึกคัก มีพลัง อยากทา
หลายอย่าง กระฉับกระเฉง นอนน้อย ใจดี มนุษยสัมพันธ์ดี อารมณ์ดี แต่มีปัญหาในเรื่องของการควบคุม
อารมณ์ของตนเอง บางรายพบว่าอยากทาอะไรแล้วต้องได้ทาทันที เช่น อยากไปเที่ยวต่างประเทศ ก็
จัดการจองตั๋วเลยทั้งที่ยังไม่ทันลางาน เมื่อมีคนขัดใจผู้ป่วยจะฉุนเฉียวมาก หงุดหงิดง่าย ควบคุมอารมณ์
ตนเองไม่ได้เลย
ลักษณะอาการช่วงซึมเศร้าของโรคไบโพลาร์
1. มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน
2. มีความสนใจหรือความสุขในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก เป็นส่วน
ใหญ่ของวัน แทบทุกวัน
3. น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นอย่างมีความสาคัญ เบื่ออาหารหรือเจริญอาหารแทบทุกวัน
4. นอนไม่หลับ หรือนอนหลับมากเกินไปแทบทุกวัน
5. กระสับกระส่ายหรือเชื่องช้าแทบทุกวัน
6. อ่อนเพลีย หรือไร้เรี่ยวแรงแทบทุกวัน
7. รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่เหมาะสม แทบทุกวัน
8. สมาธิหรือความสามารถในการคิดอ่านลดลง หรือตัดสินใจอะไรไม่ได้ แทบทุกวัน
9. คิดอยากตายอยู่เรื่อย ๆ
อาการช่วงแมเนียของโรคไบโพลาร์
1. มีอารมณ์ครึกครื้น แสดงออกอย่างเต็มที่ หรือหงุดหงิดมากเกินปกติ
2. รู้สึกว่าตนเองเก่ง หรือมีความสาคัญมาก
3. ต้องการนอนลดลง
4. ความคิดพรั่งพรู แล่นเร็ว
5. มีพลัง มีกิจกรรมหรือโครงการที่อยากทาหลายอย่าง
5
6. วอกแวก สนใจไปทุกอย่าง
7. หุนหันพลันแล่น ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
8. พูดมากหรือพูดไม่หยุด
9.ไม่ตระหนักว่าตนเองผิดปกติไปจากเดิม
5.โรคสมองเสื่อม
พบมากในคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ในคนที่ป่วยเป็นโรคสมองเสื่อมจะไม่ใช่คนที่หลงลืมในลักษณะใจลอย
เช่น วางกุญแจไว้แล้วลืมว่าตนเองวางไว้ตรงไหน แบบนั้นเป็นอาการใจลอย สมาธิไม่ได้อยู่กับเรื่องที่ทา
ณ ขณะนั้น อาจมัวคิดถึงเรื่องอื่นอยู่ในขณะที่วางกุญแจ ทาให้หลงลืม แต่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคสมองเสื่อม
โดยโรคนี้จะมีลักษณะคือไม่สามารถจดจาสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ได้ หรือสามารถเล่าเรื่องในอดีตได้ แต่ไม่
สามารถจาได้ว่าเมื่อเช้ากินอะไรมา เป็นต้น
การสังเกตคนรอบข้างที่มีอาการเกี่ยวข้องกับโรคจิตเวชเป็นเรื่องสาคัญ หากพบความผิดปกติของคน
รอบข้าง ที่มีลักษณะเป็นอุปสรรคต่อการใช้ชีวิต เช่น ไม่สามารถไปทางานได้ มีปัญหาด้านสัมพันธภาพ
กับผู้อื่น พฤติกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม ลองให้คาปรึกษาก่อน หากพบว่าไม่ดีขึ้น ควรพาไปพบแพทย์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อที่จะมาทาโครงงาน
2.ศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3.จัดทารายงาน
4.นาเสนอ
5.ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.อินเทอร์เน็ต
2.คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
ไม่มี
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
เวสารัช
1 คิดหัวข้อโครงงาน เวสารัช
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
เวสารัช
3 จัดทาโครงร่างงาน เวสารัช
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน เวสารัช
5 ปรับปรุงทดสอบ เวสารัช
6 การทาเอกสารรายงาน เวสารัช
7 ประเมินผลงาน เวสารัช
8 นาเสนอโครงงาน เวสารัช
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้จัดทาได้รับความรู้เละความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.ทาให้ผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคทางจิตเวชรับมือแก้ไขปัญหาได้ทัน
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระสุขศึกษา
2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
5 โรคทางจิตเวชที่สาคัญ ที่คนไทยควรรู้(2561). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/5-
%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87
%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%8A-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84/
(วันที่สืบค้นข้อมูล 9 กันยายน 2562)

More Related Content

What's hot

2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37 chadaa
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5pimrapat_55
 

What's hot (20)

Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
at1
at1at1
at1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 

Similar to 2562 final-project1-18-vasaraj

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 

Similar to 2562 final-project1-18-vasaraj (20)

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 

More from KUMBELL

Jern (1)
Jern (1)Jern (1)
Jern (1)KUMBELL
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3KUMBELL
 
Activity2
Activity2Activity2
Activity2KUMBELL
 
Activity1
Activity1Activity1
Activity1KUMBELL
 
Presentation
PresentationPresentation
PresentationKUMBELL
 
Com3 602 1718
Com3 602 1718Com3 602 1718
Com3 602 1718KUMBELL
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3KUMBELL
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2KUMBELL
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectKUMBELL
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)KUMBELL
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17KUMBELL
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15KUMBELL
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)KUMBELL
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project KUMBELL
 

More from KUMBELL (16)

Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
Jern (1)
Jern (1)Jern (1)
Jern (1)
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3
 
Activity2
Activity2Activity2
Activity2
 
Activity1
Activity1Activity1
Activity1
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Com3 602 1718
Com3 602 1718Com3 602 1718
Com3 602 1718
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Commmmm
CommmmmCommmmm
Commmmm
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)2562 project-15-jarukan (2)
2562 project-15-jarukan (2)
 
2562 final-project 17
2562 final-project 172562 final-project 17
2562 final-project 17
 
2562 final-project-15
2562 final-project-152562 final-project-15
2562 final-project-15
 
2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)2562 final-project-31 (1)
2562 final-project-31 (1)
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 

2562 final-project1-18-vasaraj

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน 5 โรคสาคัญทางจิตเวชที่คนไทยควรรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวเวสารัช ไชยทุม เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวเวสารัช ไชยทุม เลขที่ 18 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 5 โรคสาคัญทางจิตเวช ที่คนไทยควรรู้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเวสารัช ไชยทุม ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันคนไทยที่ป่วยด้วยโรคจิตเวชมีไม่น้อย ขณะที่ผู้ป่วยบางรายรู้ตัวว่าตนเองป่วย บางรายก็ไม่รู้ตัว ที่ สาคัญไปกว่านั้น ผู้ป่วยบางรายยังสับสนในอาการป่วยทางจิตเวชบางโรค และเข้าใจผิดคิดว่าตนเองป่วย เป็นโรคทางกาย แต่เมื่อทาการตรวจร่างกายจะไม่พบความผิดปกติแต่อย่างใด จึงจาเป็นต้องให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคจิตเวช เพื่อให้ผู้ป่วยได้สังเกตตนเอง รวมถึงการสังเกตคนรอบข้างว่าเข้าข่ายเป็นผู้ป่วยหรือไม่ สู่การรับมือและการรักษาที่ถูกต้อง โดยครั้งนี้เป็นการนาเสนอ 5 โรคจิตเวชสาคัญที่คนไทยควรรู้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อรู้เท่าทันโรคซึมเศร้า 2.เพื่อสังเกตพฤติกรรมคนรอบข้างว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงที่จะเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ 3.เพื่อเตรียมตัวรับมือและการรักษาที่ถูกต้อง ขอบเขตโครงงาน 1.โรคแพนิค 2.โรคซึมเศร้า 3.โรคจิตเถท 4.โรคไบโพลาร์ 5.โรคสมองเสื้อม
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี ปัจจุบันคนไทยที่ป่วยด้วยโรคจิตเวชมีไม่น้อย ขณะที่ผู้ป่วยบางรายรู้ตัวว่าตนเองป่วย บางรายก็ไม่รู้ตัว ที่ สาคัญไปกว่านั้น ผู้ป่วยบางรายยังสับสนในอาการป่วยทางจิตเวชบางโรค และเข้าใจผิดคิดว่าตนเองป่วย เป็นโรคทางกาย แต่เมื่อทาการตรวจร่างกายจะไม่พบความผิดปกติแต่อย่างใด จึงจาเป็นต้องให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคจิตเวช เพื่อให้ผู้ป่วยได้สังเกตตนเอง รวมถึงการสังเกตคนรอบข้างว่าเข้าข่ายเป็นผู้ป่วยหรือไม่ สู่การรับมือและการรักษาที่ถูกต้อง โดยครั้งนี้เป็นการนาเสนอ 5 โรคจิตเวชสาคัญที่คนไทยควรรู้ 1.โรคแพนิค โรคแพนิคเป็นโรคตื่นตระหนก เกิดขึ้นจากระบบประสาทอัตโนมัติมีการทางานที่ไวต่อสิ่งกระตุ้น ทาให้มี อาการแพนิค ได้แก่หัวใจเต้นเร็ว หายใจติดขัด จุกแน่น เวียนศีรษะ คล้ายจะเป็นลม หรือเหมือนกับจะถึง ชีวิต โดยการเกิดครั้งแรกจะเกิดขึ้นเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่มีเรื่องกดดันหรือถูกกระตุ้นให้ตื่นตัว เช่น เกิดขึ้นตอนกาลังจะขับรถขึ้นทางด่วน ทาให้ผู้ป่วยไม่กล้าขึ้นทางด่วน เป็นต้น และเมื่อมีครั้งที่ 1 มักมีครั้ง ที่ 2 และครั้งที่ 3 ตามมาเรื่อย ๆ กล่าวคือเมื่อเจอกับสถานการณ์กระตุ้นนั้นอีกครั้ง ก็จะมีอาการแพนิค เกิดขึ้นอีก อาการแพนิคแต่ละครั้งจะเป็น 10-20 นาที เมื่อหายก็จะหายปกติเลย ความสาคัญของโรค เนื่องจากยังมีผู้ป่วยบางรายไม่รู้จักหรือยังขาดความรู้เกี่ยวกับโรคแพนิค เมื่อมีอาการ มักเข้าใจผิดและคิดว่าตนเองเป็นโรคทางกาย เช่น โรคหัวใจ แต่เมื่อพบแพทย์แล้วตรวจคลื่นหัวใจจะ พบว่าร่างกายปกติทุกอย่าง และอาจต้องใช้เวลาอยู่นานกว่าจะรู้ตัวว่าตนเองป่วยด้วยโรคแพนิค ถือเป็น อีกหนึ่งโรคที่คนไทยควรทาความรู้จัก อาการของโรคแพนิค 1.มีอาการแพนิคเกิดขึ้นบ่อย ๆ โดยคาดไม่ได้ว่าจะเกิดเมื่อไร 2.หลังจากมีอาการแพนิค จะมีอาการต่อไปนี้ตามมาเป็นเวลานานอย่างน้อย 1 เดือน  กังวลอยู่ตลอดเวลาว่าจะมีอาการเกิดขึ้นมาอีก หรือกลัวผลที่ตามมา เช่น ควบคุมตนเองไม่ได้ เป็นบ้า  มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปอย่างชัดเจน โดยเกี่ยวเนื่องกับการมีอาการนี้ เช่น ไม่กล้าไปไหนถ้าไม่มั่นใจ ว่าจะมีคนช่วยได้ไหม หมกมุ่นกังวลกลัวเป็นโรคหัวใจ 2.โรคซึมเศร้า ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจะมีอาการหดหู่ ท้อแท้ เบื่อหน่าย รู้สึกไม่มีคุณค่าในตนเอง บางรายอาจไม่รู้สึก เศร้าแต่จะเบื่อหน่ายทุกอย่างรอบตัว และไม่รู้จะอยู่ต่อไปเพื่ออะไร ความสาคัญของโรคนี้คือผู้ป่วยที่ไม่ได้ รับการรักษามีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง หากมีอาการของโรคซึมเศร้านานเกิน 2 สัปดาห์ ควรพบ แพทย์เพื่อประเมินว่าเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ อาการของโรคซึมเศร้า 1. อารมณ์เปลี่ยนแปลงไป – เศร้า หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้บ่อย 2. ความคิดเปลี่ยนแปลง – มองทุกอย่างแย่ไปหมด รู้สึกไร้คุณค่าในตนเอง หรือคิดว่าตนเองเป็น ภาระของผู้อื่น มองเห็นแต่ความผิดพลาดของตนเอง รู้สึกสิ้นหวัง อาจมีความคิดอยากตาย 3. สมาธิความจาแย่ลง – หลงลืมง่าย จิตใจเหม่อลอย ประสิทธิภาพการทางานลดลง
  • 4. 4 4. มีอาการทางร่างกายต่าง ๆ – อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร น้าหนักลด ปวดหัว เมื่อยตัว 5. 3.โรคจิตเภท ผู้ป่วยจะมีอาการประสาทหลอน หูแว่ว มีภาพหลอนเกิดขึ้น และจะแสดงออกโดยการพูดคนเดียว หัวเราะคนเดียว มีความหลงผิดหรือหวาดระแวง เป็นนานเกิน 6 เดือน หากเป็นแล้วไม่รักษาตั้งแต่ต้น หรือปล่อยทิ้งไว้นาน จะทาให้การรักษามีความยุ่งยาก และผลการรักษาไม่ดีนัก โรคจิตเภทเป็นโรคเรื้อรัง การรักษาจะช่วยให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น แต่จะต้องใช้ยาไปตลอดชีวิต ปัญหาของโรคนี้คือผู้ป่วยบางราย เมื่อพบว่าตนเองอาการดีขึ้น มักคิดว่าหายแล้วและหยุดใช้ยา ทาให้อาการกาเริบขึ้นมาอีก โดยอาการมัก เกิดขึ้นเมื่อหยุดยาไปเป็นเวลาหลาย ๆ เดือน เช่น 6-7 เดือน ผู้ป่วยจะต้องทาการเริ่มต้นรักษาใหม่ ทั้งหมด 4.โรคไบโพลาร์ โรคไบโพลาร์หรือโรคอารมณ์สองขั้ว เป็นความผิดปกติทางอารมณ์ของผู้ป่วยมีลักษณะอารมณ์ เปลี่ยนแปลงไปมาระหว่าง ช่วงซึมเศร้าและช่วงที่อารมณ์ดีเกินปกติ (ช่วงแมเนีย) โดยในช่วงซึมเศร้าจะมี อาการหดหู่ ท้อแท้ สิ้นหวัง อาการช่วงนี้จะเหมือนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า อาการจะคงอยู่ติดต่อกันนานหลาย เดือนแล้วหายไปเหมือนคนปกติก่อนจะเข้าสู่ช่วงอาการแมเนีย ซึ่งจะมีอารมณ์คึกคัก มีพลัง อยากทา หลายอย่าง กระฉับกระเฉง นอนน้อย ใจดี มนุษยสัมพันธ์ดี อารมณ์ดี แต่มีปัญหาในเรื่องของการควบคุม อารมณ์ของตนเอง บางรายพบว่าอยากทาอะไรแล้วต้องได้ทาทันที เช่น อยากไปเที่ยวต่างประเทศ ก็ จัดการจองตั๋วเลยทั้งที่ยังไม่ทันลางาน เมื่อมีคนขัดใจผู้ป่วยจะฉุนเฉียวมาก หงุดหงิดง่าย ควบคุมอารมณ์ ตนเองไม่ได้เลย ลักษณะอาการช่วงซึมเศร้าของโรคไบโพลาร์ 1. มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน 2. มีความสนใจหรือความสุขในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก เป็นส่วน ใหญ่ของวัน แทบทุกวัน 3. น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นอย่างมีความสาคัญ เบื่ออาหารหรือเจริญอาหารแทบทุกวัน 4. นอนไม่หลับ หรือนอนหลับมากเกินไปแทบทุกวัน 5. กระสับกระส่ายหรือเชื่องช้าแทบทุกวัน 6. อ่อนเพลีย หรือไร้เรี่ยวแรงแทบทุกวัน 7. รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่เหมาะสม แทบทุกวัน 8. สมาธิหรือความสามารถในการคิดอ่านลดลง หรือตัดสินใจอะไรไม่ได้ แทบทุกวัน 9. คิดอยากตายอยู่เรื่อย ๆ อาการช่วงแมเนียของโรคไบโพลาร์ 1. มีอารมณ์ครึกครื้น แสดงออกอย่างเต็มที่ หรือหงุดหงิดมากเกินปกติ 2. รู้สึกว่าตนเองเก่ง หรือมีความสาคัญมาก 3. ต้องการนอนลดลง 4. ความคิดพรั่งพรู แล่นเร็ว 5. มีพลัง มีกิจกรรมหรือโครงการที่อยากทาหลายอย่าง
  • 5. 5 6. วอกแวก สนใจไปทุกอย่าง 7. หุนหันพลันแล่น ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย 8. พูดมากหรือพูดไม่หยุด 9.ไม่ตระหนักว่าตนเองผิดปกติไปจากเดิม 5.โรคสมองเสื่อม พบมากในคนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป ในคนที่ป่วยเป็นโรคสมองเสื่อมจะไม่ใช่คนที่หลงลืมในลักษณะใจลอย เช่น วางกุญแจไว้แล้วลืมว่าตนเองวางไว้ตรงไหน แบบนั้นเป็นอาการใจลอย สมาธิไม่ได้อยู่กับเรื่องที่ทา ณ ขณะนั้น อาจมัวคิดถึงเรื่องอื่นอยู่ในขณะที่วางกุญแจ ทาให้หลงลืม แต่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคสมองเสื่อม โดยโรคนี้จะมีลักษณะคือไม่สามารถจดจาสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ได้ หรือสามารถเล่าเรื่องในอดีตได้ แต่ไม่ สามารถจาได้ว่าเมื่อเช้ากินอะไรมา เป็นต้น การสังเกตคนรอบข้างที่มีอาการเกี่ยวข้องกับโรคจิตเวชเป็นเรื่องสาคัญ หากพบความผิดปกติของคน รอบข้าง ที่มีลักษณะเป็นอุปสรรคต่อการใช้ชีวิต เช่น ไม่สามารถไปทางานได้ มีปัญหาด้านสัมพันธภาพ กับผู้อื่น พฤติกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม ลองให้คาปรึกษาก่อน หากพบว่าไม่ดีขึ้น ควรพาไปพบแพทย์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อที่จะมาทาโครงงาน 2.ศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3.จัดทารายงาน 4.นาเสนอ 5.ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.อินเทอร์เน็ต 2.คอมพิวเตอร์ งบประมาณ ไม่มี
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 เวสารัช 1 คิดหัวข้อโครงงาน เวสารัช 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล เวสารัช 3 จัดทาโครงร่างงาน เวสารัช 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน เวสารัช 5 ปรับปรุงทดสอบ เวสารัช 6 การทาเอกสารรายงาน เวสารัช 7 ประเมินผลงาน เวสารัช 8 นาเสนอโครงงาน เวสารัช ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้จัดทาได้รับความรู้เละความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.ทาให้ผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคทางจิตเวชรับมือแก้ไขปัญหาได้ทัน สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระสุขศึกษา 2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง 5 โรคทางจิตเวชที่สาคัญ ที่คนไทยควรรู้(2561). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/5- %E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87 %E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%8A-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84/ (วันที่สืบค้นข้อมูล 9 กันยายน 2562)