SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
โครงงานยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายกรกฤต จินดาแดง เลขที่ 33
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นายกรกฤต จินดาแดง เลขที่ 33
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกรกฤต จินดาแดง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9 เลขที่ 33
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสาคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งบ่อนทาลายทรัพยากรและความ
มั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดาเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบ
ปามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาใหม่ที่มี
ความยุ่งยากและสลับซับซ้อต่อการดาเนินการ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยแห่งเดียวเท่านั้น ประเทศอื่นๆ
ก็มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา
ในปัจจุบันยาเสพติดส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างมาก อาจจะมาจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น อยาก
ทดลอง ความคึกคะนอง และจากการชักชวนของคนอื่น หรืออาจจะมาจากการถูกหลอกลวง เช่น อาหาร
ประเภทขนม เครื่องดื่มบางชนิดที่ผสมสารเสพติดเพื่อให้ผู้ซื้อติดและกลับมาซื้อใหม่เมื่อตนเองรู้สึกผิด
สังเกตต่อความต้องการ หรืออาจจะมาจากสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่ง
สลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพและค้ายาเสพติด แต่ปัญหาที่สาคัญที่ส่งผลต่อวัยรุ่นอีกประการ คือ การ
ได้รับการชักชวนจากเพื่อน เนื่องจากเพื่อนมีอิทธิพลต่อวัยรุ่นในปัจจุบันมาก เพราะปัญหาต่างๆที่ไม่กล้า
บอกผู้ปกครองหรืออาจารย์ คนที่ไว้วางใจมากที่สุดก็คือเพื่อน และเพื่อนก็คือคนที่อยู่ในช่วงอายุใกล้เคียง
กันเป็นส่วนใหญ่ ทาให้คาแนะนาที่ได้ก็ไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง บ่อยครั้งคาแนะนาที่ได้ก็คือ
การหลีกหนีปัญหาโดยการใช้ยาเสพติด โดยเริ่มจากบุหรี่ เหล้า และนาไปสู่ยาเสพติดชนิดต่างๆที่ร้ายแรง
ขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้นผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะช่วยแก้ไขปัญหายาเสพติดเหล่านี้ โดยสร้างสื่อออนไลน์ เช่น ทา
เว็บไซต์ หรือ สื่อวิดีโอ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้แก่วัยรุ่นหรือวัยอื่นๆเกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
และแนวทางในการปฏิบัติตัวเมื่ออยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการได้รับสารเสพติด
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้รู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
2.เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด
3.เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเมื่ออยู่ในภาวะเสี่ยง
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาเกี่ยวกับยาเสพติด
หลักการและทฤษฎี
1. สาเหตุการติดยาเสพติด
1. สาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น ๔ ประเภท
1. อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเป็นนิสัยของคนโดยทั่วไป และโดยที่ไม่คิดว่าตนจะติดสิ่ง
เสพย์ติดนี้ได้จึงไปทาการทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น ในการทดลองใช้ครั้งแรกๆ อาจมีความรู้สึกดีหรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่
ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น ก็อาจประมาท ไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นอีก จนใจที่สุดก็ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น หรือ ถ้าไปทดลอง
ใช้สิ่งเสพย์ติดบางชนิด เช่น เฮโรอีนแม้จะเสพเพียงครั้งเดียว ก็อาจทาให้ติดได้
2. ความคึกคะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเก่งเป็นนิสัย โดยเฉพาะวัยรุ่นมักจะมีนิสัยดังกล่าว
คนพวกนี้อาจแสดงความเก่งกล้าของตน ในกลุ่มเพื่อนโดยการแสดงการใช้สิ่งเสพย์ติดชนิดต่าง ๆ เพราะเห็นแก่ความ
สนุกสนาน ตื่นเต้น และให้เพื่อนฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมิได้คานึง ถึงผลเสียหาย หรือ อันตรายที่จะเกิดขึ้นภายหลัง
แต่อย่างไร ในที่สุดจนเองก็กลายเป็นคนติดสิ่งเสพย์ติดนั้น
3. การชักชวนของคนอื่น อาจเกิดจากการเชื่อตามคาชักชวนโฆษณา ของผู้ขายสินค้าที่ เป็นสิ่งเสพย์ติดบาง
ชนิด เช่น ยากระตุ้นประสาทต่างๆ ยาขยัน ยาม้า ยาบ้า เป็นต้น โดยผู้ขายโฆษณาสรรพคุณของสิ่งเสพย์ติดนั้นว่ามี
คุณภาพดีสารพัดอย่างเช่น ทาให้มีกาลังวังชา ทาให้มีจิตใจแจ่มใส ทาให้มีสุขภาพดี ทาให้มีสติปัญญาดี สามารถ
รักษาโรคได้บางชนิด เป็นต้น ผู้ที่เชื่อคาชักชวนโฆษณาดังกล่าวจึงไปซื้อตามคาชักชวนของเพื่อนฝูง ซึ่งโดยมากเป็น
พวกที่ติดสิ่งเสพย์ติดนั้นอยู่แล้ว ด้วยความเกรงใจเพื่อนหรือ เชื่อเพื่อน หรือต้องการแสดงว่าตัวเป็นพวกเดียวกับเพื่อน
จึงใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น
2. สาเหตุที่เกิดจากการถูกหลอกลวง
ปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใช้สิ่งเสพย์ติดผสมลงในสินค้าที่ขาย เพื่อให้
ผู้ซื้อสินค้านั้นไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีนี้ ผู้ซื้ออาหารนั้นมารับประทาน จะ
ไม่รู้สึกว่าตนเองเกิดการติดสิ่งเสพย์ติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มที่ซื้อจาก
ร้านนั้น ๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึกผิดสังเกตต่อความต้องการ จะซื้ออาหารจากร้านนั้นมารับประทาน หรือ
ต่อเมื่อ มีอาการเสพย์ติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง
3. สาเหตุที่เกิดจากความเจ็บป่วย
1. คนที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุต่าง ๆ เช่นได้รับบาดเจ็บรุนแรง เป็นแผลเรื้อรัง มีความ
เจ็บปวดอยู่เป็นประจา เป็นโรคประจาตัวบางอย่าง เป็นต้น ทาให้ได้รับทุกข์ทรมานมาก หรือ เป็นประจา จึงพยายาม
แสวงหาวิธีที่จะช่วยเหลือตนเองให้พ้นจากความทุกข์ทรมานนั้นซึ่งวิธีหนึ่งที่ทาได้ง่ายคือ การรับประทานยาที่มีฤทธิ์
ระงับอาการเจ็บปวดนั้นได้ ซึ่งไม่ใช่เป็นการรักษาที่เป็นต้นเหตุของความเจ็บป่วย เพียงแต่ระงับอาการเจ็บปวดให้หมด
4
ไปหรือลดน้อยลงได้ชั่วขณะ เมื่อฤทธิ์ยาหมดไปก็จะกลับเจ็บปวดใหม่ ผู้ป่วยก็จะใช้ยานั้นอีก เมื่อทาเช่นนี้ไปนานๆ
เกิดอาการติดยานั้นขึ้น
2. ผู้ที่มีจิตใจไม่เป็นปกติ เช่น มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวังในชีวิต มีความเศร้าสลดเสียใจ เป็น
ต้น ทาให้สภาวะจิตใจไม่เป็นปกติจนเกิดการป่วยทางจิตขึ้น จึงพยายามหายาหรือสิ่งเสพย์ติดที่มีฤทธิ์สามารถคลาย
ความเครียดจากทางจิตได้ชั่วขณะหนึ่งมารับประทาน แต่ไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุเมื่อยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับเครียด
อีก และ ผู้ป่วยก็จะเสพสิ่งเสพย์ติด ถ้าทาเช่นนี้
ไปเรื่อยๆ ก็จะทาให้ผู้นั้นติดยาเสพย์ติดในที่สุด
3. การไปซื้อยามารับประทานเองโดยไม่ทราบสรรพคุณยาที่แท้จริงขนาดยาที่ควรรับประทาน การ
รับประทานยาเกินจานวนกว่าที่แพทย์ได้สั่งไว้ การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด หรือรับประทานติดต่อกัน
นานๆ บางครั้งอาจมีอาการถึงตายได้ หรือบางครั้งทาให้เกิดการเสพติดยานั้นได้
4.สาเหตุอื่นๆ
การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต หรือ เป็นผู้ขายหรือผู้ผลิตเอง จึงทาให้มีโอกาสติดสิ่งเสพย์ติดให้โทษ
นั้นมากกว่าคนทั่วไปเมื่อมีเพื่อนสนิทหรือพี่น้องที่ติดสิ่งเสพย์ติดอยู่ ผู้นั้นย่อมได้เห็นวิธีการเสพ ของผู้ที่อยู่ใกล้ชิด
รวมทั้งใจเห็นพฤติกรรมต่างๆ ของเขาด้วย และยังอาจได้รับคาแนะนาหรือชักชวนจากผู้เสพด้วย จึงมีโอกาสติดได้
1. คนบางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยมีรายได้ลดลง หรือคงที่ มีหนี้สิน
มาก ฯลฯ เมื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ไม่ได้ก็หันไปใช้สิ่งเสพย์ติด ช่วยผ่อนคลายความรู้สึก ในความทุกข์ยากต่าง
เหล่านี้ แม้จะรู้ว่าเป็นชั่วครู่ชั่วยาม
ก็ตาม เช่น กลุ้มใจที่เป็นหนี้คนอื่นก็ไปกินเหล้า หรือ สูบกัญชาให้เมาเพื่อที่จะได้ลืมเรื่องหนี้สิน บางคนต้องการ
รายได้เพิ่มขึ้น โดยพยายามทางานให้หนัก และ มากขึ้นทั้ง ๆ ที่ร่างกายอ่อนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุ้น
ประสาทเพื่อให้สามารถทางานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทาอยู่เป็นประจาทาให้ติดสิ่งเสพย์ติดนั้นได้
2.การเลียนแบบ การที่ไปเห็นผู้ที่ตนสนิทสนมรักใคร่หรือเพื่อน จึงเห็นว่าเป็นสิ่งน่าลอง เป็นสิ่งโก้เก๋ เป็นสิ่ง
แสดงความเป็นพวกเดียวกัน จึงไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นจนติด
3. คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวังในชีวิตสังคม เพื่อเป็นการ
ประชดตนเองหรือคนอื่น จึงไปใช้สิ่งเสพย์ติดจนติด ทั้งๆ ที่ทราบว่าเป็นสิ่งไม่ดี ก็ตาม
สาเหตุสาคัญที่ทาให้ติดยาเสพติด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยรุ่น คือ
1. จากการถูกชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะเกิดจากเพื่อนสนิทที่กาลังติดยาอยู่และอยากจะให้เพื่อนลอง
บ้าง ปัญหานี้มักจะเกิดกับเด็กที่มีปัญหาทางครอบครัวขาดความอบอุ่น ใจแตก เอาเพื่อนเป็นที่พึ่งนอกจากนี้ผู้ที่อยู่ใน
แหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการ ชักจูง คุณภาพของยาเสพติดว่าดีต่าง ๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า
เมื่อเสพแล้วจะทาให้ปลอด โปร่ง เหมาะแก่การเรียนการทางาน การชักจูงดังกล่าวอาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ถูกชักจูง
กาลังมึนเมา สุราเที่ยวเตร่กัน จึงทาให้เกิดการติดยาได้
2. จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่าคงจะไม่ติดง่าย ๆ แต่เมื่อ
ทดลอง เสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก แม้เสพเพียงครั้งหรือสอง ครั้
ก็จะติดแล้ว
3. จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่าสิ่งที่ ตนได้กินเข้าไป
นั้น เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง อะไรตามที่ผู้หลอกลวงแนะนาผลสุดท้าย
กลายเป็นผู้ติดยาเสพติดไป
5
4. เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นหืด เป็นโรคประสาท
ได้รับ ความทรมานทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานแต่ก็ไม่หาย จึงหันเข้าหายาเสพติด
จนติดยาในที่สุด
5. จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนี้คิดว่าตัวเองเป็นคนเก่งอยากลองซึ่งรู้แก่ใจว่ายาเสพติดให้โทษเป็น
สิ่งไม่ดีแต่ด้วยความที่คึกคะนองเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดง ความเด่นดังอวดเพื่อนว่าข้านี้คือพระเอก
ขาดความยั้งคิดจึงเสพยา เสพติดและติดยาในที่สุด
6. จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพและค้ายาเสพติด
ภาวะ ทางเศรษฐกิจบีบคั้นจิตใจ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล เหนือ จิตใจผลักดันให้ผู้ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม
ดังกล่าว บางคนหันมาพึ่งยาเสพติดโดยคิดว่าจะช่วย ให้ตนเองหลุดพ้นจากสภาพต่าง ๆ ที่คับข้องใจเหล่านั้นได้
การป้องกันตนเองจากยาเสพติด
โดยเฉพาะเยาวชนสามารถหลีกเลี่ยงจาก สารเสพติด ชนิดต่างๆได้นั้น ทุกฝ่ายจะต้องมีบทบาทช่วยกัน
ป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด เช่น บทบาทของ ครอบครัว โรงเรียน ศาสนา และชุมชน แต่สิ่งสาคัญที่สุดในการ
ป้องกันเยาวชนไม่ให้ติดสารเสพติดได้นั้นคือตัวเยาวชนเอง ซึ้งการป้องกันและหลีกเลี่ยงสารเสพติดทาได้หลายวิธี เช่น
1. เชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์และผู้ใหญ่ที่หวังดี
2. เมื่อมีปัญหาควรศึกษาพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือครูอาจารย์ ไม่เก็บปัญหาเอาไว้ เพราะแก้ไขปัญหาโดย
รู้เท่าไม่ถึงการณ์นั้น อาจนาไปสู่การดาเนินชีวิตที่ผิดพลาดได้ และไม่ควรว่าการเสพสารเสพติดจะช่วยให้ลืมปัญหา
เหล่านั้นได้
3. ศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของสารเสพติดชนิดต่างๆ
4. ไม่มั่วสุมกับผู้ที่ติดสารเสพติด
5. ไม่ชักชวนเพื่อนฝูงทดลองเสพ ยาเสพติด เมื่ออยู่ในกลุ่มเพื่อนควรจับกลุ่มกันทากิจกรรมที่เป็นประโยชน์
เช่น ออกกาลังกาย เล่นกีฬา อ่านหนังสือ เป็นต้น
6. อย่าคิดว่าการดื่มสุรา การสูบบุหรี่ หรือการเสพ สารเสพติด เป็นเรื่องโก้
7.ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส รักษาสุขภาพอนามัยอยู่เสมอ หากบุคคลมีสุขภาพจิตไม่ดี ร่างกายไม่แข็งแรง อาจ
นาไปสู่การใช้สารเสพติดได้
8. รู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี และนาแบบอย่างที่ดีของเพื่อนมาประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเอง
9. ไม่ทดลองเสพ ยาเสพติด ทุกชนิด เพราะติดง่ายแต่รักษาให้หายยาก
10.ยืดมั่นในหลักธรรมของศาสนา ซึ่งคาสอนของทุกศาสนามีจุดมุ่งหมายให้บุคคลประพฤติแต่สิ่งที่ดีงามและ
ละเว้นความชั่ว
11. หากรู้สึกตัวเองหรือสงสัยว่าถูกหลองให้เสพ ยาเสพติดต้องรีบบอกพ่อแม่ผู้ปกครองหรือครูทันที
12.เมื่อพบผู้ใดน่าสงสัยว่าติดสารเสพติดควรแจ้งพ่อแม่ผู้ปกครองหรือครูเพื่อช่วยแนะนาให้ไปรับการ
บาบัดรักษาโดยเร็ว
13.เมื่อพบหรือทราบเบาะแสของแหล่งที่มีการค้าสารเสพติดให้แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบทราบทันที
ผลเสียของการติดยา
1. การสูญเสียด้านบุคลิกภาพและจิตใจ
เยาวชนย่อมมีบุคลิกภาพที่กาลังเจริญเติบโต มีการสร้างประสบการณ์ต่างๆ และหัดวิธีการและชั้นเชิง ในการ
ผจญปัญหา หรือกระทาการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การแก้ปัญหาย่อมต้องอาศัยกระบวนการทางจิตหลาย ประการ
เช่น ความอดกลั้น การควบคุมอารมณ์ การ แสดงอารมณ์ตามความเหมาะสม การใช้ความคิดและ ประมาณการ
ตลอดจนการหาวิธีแก้ปัญหา ให้เกิดผลดีที่สุด
6
หากเยาวชนใช้และติดยาเสพติด โดยอาศัยเป็น ทางหนีจากความทุกข์ยากหรือปัญหาต่างๆแล้ว บุคลิกภาพ
ของผู้นั้น ก็ย่อมหยุดเจริญ แทนที่จะหาทางแก้ปัญหา ที่เหมาะสม กลับหันไปใช้ยาแทน เยาวชนที่ติดยาจึงมี
บุคลิกภาพใหม่ ที่มีความอดทนน้อย ระแวง และหาความ สุขจากชีวิตธรรมดาที่ไม่ใช้ยาเสพติดไม่ได้
หากผู้นั้นได้ผ่านการรักษาหลายครั้ง และเลิก ได้ไม่นานก็ต้องกลับไปใช้อีก ความเชื่อมั่นในตนเอง และ
ความหวังว่าจะเลิกจากยา ก็ค่อยๆ หายไปทุกที
หากผู้นั้นถูกจับและติดคุกหลายๆ ครั้ง ความ กลัวคุกตะรางและการลงโทษต่างๆ ตลอดจนความไม่ดีใน
สายตาของสังคม ก็ค่อยลดเสื่อมและชินชาไป การ ติดคุกตะราง หรือการถูกลงโทษทางกฎหมายกลายเป็นเรื่องเล็ก
ค่านิยมของเขาก็เปลี่ยนไป ความดีกับความชั่ว ตามแนวคิดปกติก็เลือนไป ความสุขที่เกิดจากการกระทา ความดีก็ถอย
ไป นับได้ว่า เป็นการเสื่อมสลายของสภาพจิต
เมื่อเยาวชนคนหนึ่งคนใดติดยาเสพติด และมีบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไปจนถึงขั้นนี้ ก็จะเป็นพลเมืองดีไม่ได้
ไม่สามารถใช้ชีวิตที่เป็นประโยชน์กับตนเองและผู้อื่นได้ กลับเป็นผู้ก่อให้เกิดปัญหาสาหรับตนเอง ครอบครัวและสังคม
จึงนับว่า เป็นการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ซึ่งเป็นการสูญเสียที่สาคัญที่สุด
2. การสูญเสียทางสุขภาพอนามัย
ผู้ที่ติดยาเสพติด อาจเกิดปัญหาทางสุขภาพ อนามัย หรือโรคต่างๆได้หลายอย่าง ได้แก่
2.1 การใช้ยาเกินขนาด โดยที่การด้านยา เปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ผู้ที่พยายามเลิกยาหรือเข้ารับการ รักษา
ความด้านยาจะลดลง ประกอบกับยาที่ได้จากการ ลักลอบค้าไม่ได้มีการควบคุมมาตรฐาน ความแรงอาจ เปลี่ยนแปลง
ได้อยู่เสมอ เพราะมีการเจือปนสารชนิดอื่นเข้าไป ก่อนนาออกจาหน่าย ผู้ติดยาจึงอาจใช้ยาเกิน ขนาดและเป็น
อันตรายได้ ยิ่งเป็นการใช้ยาที่ฉีดเข้าหลอดเลือดแล้ว ยิ่งมีโอกาสเกินขนาดได้มาก ยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทกลาง
เมื่อใช้เกิน ขนาดจะทาให้ไม่รู้สึกตัวไป การหายใจลดลง และอาจเป็นอันตรายเสียชีวิตได้ ในบางรายอาจเกิดการบวม
ของปอด ทาให้หายใจหอบและเสมหะเป็นฟองได้
2.2 อาการจากการขาดยา อาการถอนยาที่ เกิดขึ้นในผู้ติดยาบางคนที่ติดอย่างรุนแรงและสุขภาพ ไม่ดีอาจ
เป็นอันตรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดยา นอนหลับ อาจเกิดอาการไข้สูง ชัก และไม่รู้สึกตัวได้
ผิวหนังอักเสบเนื่องจากติดเชื้อจากเข็มฉีดยา
ผิวหนังอักเสบเนื่องจากติดเชื้อจากเข็มฉีดยา ในบางรายอาจมีอาการถอนยาที่ปรากฏคล้าย โรคทางกาย เช่น
อาการปวดท้องอย่างรุนแรง เหมือนการอุดตันของลาไส้ ทาให้ได้รับการผ่าตัดแก้ไข โดยวินิจฉัยผิดได้
อาการถอนยาที่เกิดในเด็กแรกเกิด เนื่องจาก มารดาติดยาเสพติด และใช้ยาในระยะก่อนคลอด จะทาให้เด็กไม่แข็งแรง
หายใจน้อย และเสียชีวิตได้ง่าย
2.3 พิษจากยาเสพติด ยาเสพติดบางชนิด เช่น แอมเฟตามีน กัญชา โคเคน และแอลเอสดี มีผลทาให้เกิด
อาการทางจิตได้ บางรายอาจคลุ้มคลั่ง วิกลจริต ไปเป็นระยะเวลานาน ยาแอมเฟตามีน ทาให้เกิดอาการระแวงอย่าง
รุนแรง คิดว่าผู้อื่นจะมาทาร้ายจึงอาละวาด และทาร้ายผู้อื่นได้ ในยาเสพติดที่ลักลอบขายกัน อาจมีสารอื่น เจือปน
เพื่อให้ได้ปริมาณมากขึ้น เช่น สารหนู และ สตริกนิน (strychnine) เป็นต้น ซึ่งเป็นยาพิษทาให้เป็น อันตรายได้
2.4 อันตรายจากการฉีดยาที่ไม่สะอาด ผู้ติด ยาที่ใช้ยาฉีดเข้าหลอดเลือด หรือเข้ากล้ามเนื้อ มักไม่ได้ทาความ
สะอาดหลอดฉีดยา ให้ปราศจากเชื้อเสียก่อน น้าที่ใช้ละลายยาเพื่อฉีดก็ไม่สะอาด จึงอาจฉีดเอาเชื้อโรคต่างๆ เข้าไปใน
ร่างกายได้ ทาให้เกิดการอักเสบของผิวหนัง และเนื้อเยื่อบริเวณที่ฉีด เกิดเป็นฝีหรือเนื้อตายได้ อาจลุกลามเกิดการ
อักเสบของหลอดเลือด หรือโลหิตเป็นพิษได้ ในบางรายเชื้อโรคอาจเข้าไปยังอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ ปอด สมอง
และกระดูก ทาให้เกิดลิ้นหัวใจอักเสบ และฝีตามอวัยวะต่างๆ ผู้ที่ฉีดยาหลายคน อาจใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ทาให้โรค
จากคนหนึ่งติดไปยังคนอื่นๆ ได้ เช่น โรคตับ อักเสบ เป็นต้น ผู้ติดยามีอัตราการเป็นโรคนี้ มากกว่าบุคคลทั่วไป และ
อาจเกิดการระบาดเป็นโรคทีละหลายๆ คนได้
7
2.5อันตรายจากการฉีดยาที่ไม่เหมาะสม เข้าร่างกาย ผู้ติดยาอาจใช้ยาเม็ดมาละลายน้า ฉีดเข้า หลอดเลือด
โดยไม่ทราบว่า ในยาเม็ดมีแป้งพวกทัลคัม (talcum) อยู่ด้วย บางทีก็ใช้สาลีกรองน้ายาก่อนจะใช้ฉีด แป้งและใยสาลี
จะเข้าไปติดอยู่ตามหลอดเลือดฝอยของปอด เกิดโรคปอดแข็งทาให้การหายใจลาบากเรื้อรังและ ไม่มีวิธีรักษา
ในบางกรณียาอาจจะละลายไม่ดี มีเกล็ดหรือ ผลึกของยาเข้าไปในหลอดเลือด ไปอุดหลอดเลือดต่างๆ เช่น ที่สมอง
เกิดเป็นอัมพาตได้
2.6 โรคบางชนิดที่พบร่วมกับการติดยาเสพติด ผู้ติดยาเสพติดมักมีสุขภาพไม่ดี อาหารไม่เพียงพอ และการ
ดูแลสุขภาพอนามัย ตลอดจนการรักษาความ สะอาดของร่างกายไม่ดี จึงมีโรคต่างๆเกิดได้มาก เช่น วัณโรคของปอด
โรคผิวหนังต่างๆ เป็นต้น
มีผู้รายงานว่า พบโรคบางชนิดร่วมกับการติด ยาเสพติด โดยความสัมพันธ์ และวิธีการเกิด ยังไม่ได้เป็นที่เข้าใจชัดเจน
เช่น โรคเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อละลายตัว (rhabdomyolysis) มีอาการปวดกล้ามเนื้อ และอ่อนเพลีย ขยับเขยื้อนลาบาก มี
การสลายตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ ทาให้มีสารไมโอโกลบินเข้าไปในเลือด และขับถ่ายออกไปในปัสสาวะ
(myoglobinemia, myoglobinuria) เห็นเป็นปัสสาวะสีดา รอยแผลเป็นจากเข็มฉีดยา
รอยแผลเป็นจากเข็มฉีดยาโรคไตอักเสบ และโรคเส้นประสาทอักเสบ ก็พบได้ในผู้ติดยาเสพติด
3. การสูญเสียทางเศรษฐกิจ
3.1 ค่าใช้จ่ายในการใช้ยา ผู้ติดยาเสพติด ย่อมต้องใช้จ่ายเงินในการซื้อยามาใช้ ยิ่งติดมากขึ้น ยิ่ง จาเป็นต้อง
ใช้ปริมาณยามาก เพราะเกิดการด้านยาดังได้ กล่าวแล้ว โดยเฉลี่ยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ ผู้ที่ติดเฮโรอีน ใช้เงินซื้อยาราววัน
ละ ๕๕ บาท ซึ่งนับว่า เป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ผู้ที่สูบฝิ่น หากมีฐานะไม่ค่อยดีนัก ก็จาเป็น ต้องขายทรัพย์สมบัติต่างๆ
เพื่อใช้ในการสูบฝิ่น จึงทา ให้มีฐานะยากจนลง ผู้ที่ยากจนอยู่แล้ว และต้องรับจ้างหาเงิน ยิ่งมีความลาบากในการยัง
ชีพ และเลี้ยงดู ครอบครัว หากพิจารณาการสูญเสียทั้งประเทศซึ่งมีผู้ติดยา อยู่มาก ผู้ติดยาเฮโรอีน ๑๐๐,๐๐๐ คน
จะใช้ยามีมูลค่า ถึงวันละ 5.5 ล้านบาท หรือปีละ 2,000 ล้านบาท
3.2 การขาดงาน ผู้ติดยาเสพติดบางคน อาจ สามารถปรับการใช้ยาได้ และสามารถทางานได้ตามปกติ บาง
คนใช้ยาขนาดน้อยๆ ในเวลาเช้าและกลางวัน เพื่อ ไม่ให้เกิดอาการถอนยาและสามารถทางานได้ แล้วใช้ ยามากใน
ตอนเย็นหรือกลางคืน ผู้ติดยาส่วนใหญ่ เมื่อติดงอมแงมแล้วจะไม่ สามารถทางานได้ เพราะจะมีผลต่อร่างกายและ
จิตใจที่ ขัดกับการทางาน เมื่อใช้ยามากในเวลากลางวัน ก็มีอาการซึม สะลึมสะลือ ความคิดช้า ทางานได้ลาบาก เมื่อ
ยาหมดฤทธิ์ก็เกิดอาการถอนยา คือ กระวนกระวาย และ ปวดเมื่อยตามตัว ฤทธิ์ของยาและอาการถอนยานี้เกิด
สลับกันอยู่ทั้งวัน จนไม่สามารถทางานหรือเรียนหนังสือ ได้ นอกจากนี้ ยังมีความจาเป็นต้องใช้เวลาในการไปหา ยามา
เพื่อใช้ในคราวต่อไป และหาที่ซุกซ่อนเพื่อใช้ยา สิ่งต่างๆ เหล่านี้ จะรบกวนและขัดขวางการทางาน ทาให้
ประสิทธิภาพลดลง จนอาจต้องออกจากงาน
3.3 ค่าใช้จ่ายในการจัดการแก้ปัญหาของรัฐ และเอกชน ทั้งในด้านการปราบปรามการลักลอบค้า ยาเสพติด
การให้บริการบาบัดรักษา และการป้องกัน ทาให้สูญเสียงบประมาณและทรัพยากรไปไม่น้อย
4. การสูญเสียทางสังคม
4.1 การเสียชื่อเสียง และฐานะทางสังคมของ ผู้ติดยา ผู้ติดยาย่อมเป็นที่รังเกียจของสังคม
4.2 ปัญหาในครอบครัว การติดยาเสพติดทา ให้คนในครอบครัวได้รับความลาบากทั้งด้านจิตใจและ ฐานะ
การเงิน มีผลให้เกิดความแตกแยกในครอบครัวได้ ดังจะเห็นได้ว่าผู้ติดยามีอัตราการหย่าร้างสูง
4.3 ปัญหาอาชญากรรม ผู้ติดยาจาเป็นต้องใช้เงินจานวนมากในการซื้อยามาใช้ ประกอบกับความ อยากยา
รุนแรง ทาให้ขาดการยั้งคิด จึงเกิดอาชญากรรมต่างๆ ขึ้นได้ ในชุมชนใดที่มีผู้ติดยาเสพติดอยู่ โอกาสที่จะเกิดการลัก
ขโมยมีมากขึ้น
นอกจากนี้ ปัญหายาเสพติดอาจเป็นปัญหา ทางการเมืองในประเทศ หรือระหว่างประเทศ และมีผลกระทบ
ต่อความมั่นคงของชาติได้
8
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอคุณครูที่ปรึกษา
2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
3.จัดทาโครงร่าง
4.ศึกษาหาข้อมูลการทาสื่อเว็บไซต์หรือสื่อวิดีโอ
5.ออกแบบสร้างเว็บบล็อกหรือสื่อวิดีโอ และจัดทาโครงงาน
6.เผยแพร่โครงงานในเว็บบล็อกสรุปรายงานและทาเป็นรูปเล่ม
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด
2.ได้ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด
3.ได้รับแนวทางในการปฏิบัติเมื่ออยู่ในภาวะเสี่ยง
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา
3.กลุ่สาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
9
แหล่งอ้างอิง
สาราณุกรมไทยสาหรับเยาวชน .ผลเสียของการติดยา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=9&chap=13&page=t9-13-infodetail04.html
(วันที่ค้นข้อมูล : 20 กันยายน 2560).
สโรชา วิชาชัย .การป้องกันตนเองจากยาเสพติด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://sarochafon159.wordpress.com (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กันยายน 2560).

More Related Content

What's hot

Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22
dalika
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
duangdeunnkamhanghan
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
duangdeunnkamhanghan
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
barbeesati
 
Punisa
PunisaPunisa
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
KUMBELL
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
siradamew
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
guestf57acc
 
at1
at1at1
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
RungtiwaWongchai
 
W.1
W.1W.1
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
Charinrat Surijan
 
Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
asirwa04
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
Papitchaya_19
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
KanchariyaChuensomba
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
Ffim Radchasan
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
mearnfunTamonwan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
pimrapat_55
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
pimrapat_55
 

What's hot (20)

Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
at1
at1at1
at1
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Tobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticidesTobacco and galangal is pesticides
Tobacco and galangal is pesticides
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 

Similar to ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
Suppamas
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
Narrongdej3110
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
PittakamonPetai
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
Mai Natthida
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
NattanichaYRC
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
NarawadeeJaemsri
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
NattanichaYRC
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
pornkanok02
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
MaryW6
 
W.111
W.111W.111
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
French Natthawut
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 

Similar to ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น (20)

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 

More from Korakrit Jindadang

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-ddddกิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
Korakrit Jindadang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
เกศรินทร์
เกศรินทร์เกศรินทร์
เกศรินทร์
Korakrit Jindadang
 
โปรไฟล์ฝน
โปรไฟล์ฝนโปรไฟล์ฝน
โปรไฟล์ฝน
Korakrit Jindadang
 
ใบงานสำรวจตนเองเข็ม
ใบงานสำรวจตนเองเข็มใบงานสำรวจตนเองเข็ม
ใบงานสำรวจตนเองเข็ม
Korakrit Jindadang
 
ประวัติส่วนตัวนุ่นิ่น
ประวัติส่วนตัวนุ่นิ่นประวัติส่วนตัวนุ่นิ่น
ประวัติส่วนตัวนุ่นิ่น
Korakrit Jindadang
 
พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์
Korakrit Jindadang
 
ใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจ
Korakrit Jindadang
 

More from Korakrit Jindadang (9)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-ddddกิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
กิจกรรมที่ 23-ฝนกิ๊ฟฟ-dddd
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เกศรินทร์
เกศรินทร์เกศรินทร์
เกศรินทร์
 
โปรไฟล์ฝน
โปรไฟล์ฝนโปรไฟล์ฝน
โปรไฟล์ฝน
 
ใบงานสำรวจตนเองเข็ม
ใบงานสำรวจตนเองเข็มใบงานสำรวจตนเองเข็ม
ใบงานสำรวจตนเองเข็ม
 
ประวัติส่วนตัวนุ่นิ่น
ประวัติส่วนตัวนุ่นิ่นประวัติส่วนตัวนุ่นิ่น
ประวัติส่วนตัวนุ่นิ่น
 
พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์พรบคอมพิวเตอร์
พรบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจใบงานสำรวจ
ใบงานสำรวจ
 

ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 โครงงานยาเสพติดพิษของวัยรุ่น ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกรกฤต จินดาแดง เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นายกรกฤต จินดาแดง เลขที่ 33 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายกรกฤต จินดาแดง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 9 เลขที่ 33 ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสาคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งบ่อนทาลายทรัพยากรและความ มั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดาเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบ ปามมิให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาใหม่ที่มี ความยุ่งยากและสลับซับซ้อต่อการดาเนินการ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยแห่งเดียวเท่านั้น ประเทศอื่นๆ ก็มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่ตลอดเวลา ในปัจจุบันยาเสพติดส่งผลต่อวัยรุ่นอย่างมาก อาจจะมาจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น อยาก ทดลอง ความคึกคะนอง และจากการชักชวนของคนอื่น หรืออาจจะมาจากการถูกหลอกลวง เช่น อาหาร ประเภทขนม เครื่องดื่มบางชนิดที่ผสมสารเสพติดเพื่อให้ผู้ซื้อติดและกลับมาซื้อใหม่เมื่อตนเองรู้สึกผิด สังเกตต่อความต้องการ หรืออาจจะมาจากสิ่งแวดล้อมที่อาศัยอยู่ เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่ง สลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพและค้ายาเสพติด แต่ปัญหาที่สาคัญที่ส่งผลต่อวัยรุ่นอีกประการ คือ การ ได้รับการชักชวนจากเพื่อน เนื่องจากเพื่อนมีอิทธิพลต่อวัยรุ่นในปัจจุบันมาก เพราะปัญหาต่างๆที่ไม่กล้า บอกผู้ปกครองหรืออาจารย์ คนที่ไว้วางใจมากที่สุดก็คือเพื่อน และเพื่อนก็คือคนที่อยู่ในช่วงอายุใกล้เคียง กันเป็นส่วนใหญ่ ทาให้คาแนะนาที่ได้ก็ไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง บ่อยครั้งคาแนะนาที่ได้ก็คือ การหลีกหนีปัญหาโดยการใช้ยาเสพติด โดยเริ่มจากบุหรี่ เหล้า และนาไปสู่ยาเสพติดชนิดต่างๆที่ร้ายแรง ขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นผู้จัดทาจึงมีแนวคิดที่จะช่วยแก้ไขปัญหายาเสพติดเหล่านี้ โดยสร้างสื่อออนไลน์ เช่น ทา เว็บไซต์ หรือ สื่อวิดีโอ เพื่อเผยแพร่ให้ความรู้แก่วัยรุ่นหรือวัยอื่นๆเกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด และแนวทางในการปฏิบัติตัวเมื่ออยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการได้รับสารเสพติด
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้รู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด 2.เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด 3.เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเมื่ออยู่ในภาวะเสี่ยง ขอบเขตโครงงาน ศึกษาเกี่ยวกับยาเสพติด หลักการและทฤษฎี 1. สาเหตุการติดยาเสพติด 1. สาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น ๔ ประเภท 1. อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเป็นนิสัยของคนโดยทั่วไป และโดยที่ไม่คิดว่าตนจะติดสิ่ง เสพย์ติดนี้ได้จึงไปทาการทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น ในการทดลองใช้ครั้งแรกๆ อาจมีความรู้สึกดีหรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่ ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น ก็อาจประมาท ไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นอีก จนใจที่สุดก็ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น หรือ ถ้าไปทดลอง ใช้สิ่งเสพย์ติดบางชนิด เช่น เฮโรอีนแม้จะเสพเพียงครั้งเดียว ก็อาจทาให้ติดได้ 2. ความคึกคะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเก่งเป็นนิสัย โดยเฉพาะวัยรุ่นมักจะมีนิสัยดังกล่าว คนพวกนี้อาจแสดงความเก่งกล้าของตน ในกลุ่มเพื่อนโดยการแสดงการใช้สิ่งเสพย์ติดชนิดต่าง ๆ เพราะเห็นแก่ความ สนุกสนาน ตื่นเต้น และให้เพื่อนฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมิได้คานึง ถึงผลเสียหาย หรือ อันตรายที่จะเกิดขึ้นภายหลัง แต่อย่างไร ในที่สุดจนเองก็กลายเป็นคนติดสิ่งเสพย์ติดนั้น 3. การชักชวนของคนอื่น อาจเกิดจากการเชื่อตามคาชักชวนโฆษณา ของผู้ขายสินค้าที่ เป็นสิ่งเสพย์ติดบาง ชนิด เช่น ยากระตุ้นประสาทต่างๆ ยาขยัน ยาม้า ยาบ้า เป็นต้น โดยผู้ขายโฆษณาสรรพคุณของสิ่งเสพย์ติดนั้นว่ามี คุณภาพดีสารพัดอย่างเช่น ทาให้มีกาลังวังชา ทาให้มีจิตใจแจ่มใส ทาให้มีสุขภาพดี ทาให้มีสติปัญญาดี สามารถ รักษาโรคได้บางชนิด เป็นต้น ผู้ที่เชื่อคาชักชวนโฆษณาดังกล่าวจึงไปซื้อตามคาชักชวนของเพื่อนฝูง ซึ่งโดยมากเป็น พวกที่ติดสิ่งเสพย์ติดนั้นอยู่แล้ว ด้วยความเกรงใจเพื่อนหรือ เชื่อเพื่อน หรือต้องการแสดงว่าตัวเป็นพวกเดียวกับเพื่อน จึงใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น 2. สาเหตุที่เกิดจากการถูกหลอกลวง ปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใช้สิ่งเสพย์ติดผสมลงในสินค้าที่ขาย เพื่อให้ ผู้ซื้อสินค้านั้นไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีนี้ ผู้ซื้ออาหารนั้นมารับประทาน จะ ไม่รู้สึกว่าตนเองเกิดการติดสิ่งเสพย์ติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มที่ซื้อจาก ร้านนั้น ๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึกผิดสังเกตต่อความต้องการ จะซื้ออาหารจากร้านนั้นมารับประทาน หรือ ต่อเมื่อ มีอาการเสพย์ติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง 3. สาเหตุที่เกิดจากความเจ็บป่วย 1. คนที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุต่าง ๆ เช่นได้รับบาดเจ็บรุนแรง เป็นแผลเรื้อรัง มีความ เจ็บปวดอยู่เป็นประจา เป็นโรคประจาตัวบางอย่าง เป็นต้น ทาให้ได้รับทุกข์ทรมานมาก หรือ เป็นประจา จึงพยายาม แสวงหาวิธีที่จะช่วยเหลือตนเองให้พ้นจากความทุกข์ทรมานนั้นซึ่งวิธีหนึ่งที่ทาได้ง่ายคือ การรับประทานยาที่มีฤทธิ์ ระงับอาการเจ็บปวดนั้นได้ ซึ่งไม่ใช่เป็นการรักษาที่เป็นต้นเหตุของความเจ็บป่วย เพียงแต่ระงับอาการเจ็บปวดให้หมด
  • 4. 4 ไปหรือลดน้อยลงได้ชั่วขณะ เมื่อฤทธิ์ยาหมดไปก็จะกลับเจ็บปวดใหม่ ผู้ป่วยก็จะใช้ยานั้นอีก เมื่อทาเช่นนี้ไปนานๆ เกิดอาการติดยานั้นขึ้น 2. ผู้ที่มีจิตใจไม่เป็นปกติ เช่น มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวังในชีวิต มีความเศร้าสลดเสียใจ เป็น ต้น ทาให้สภาวะจิตใจไม่เป็นปกติจนเกิดการป่วยทางจิตขึ้น จึงพยายามหายาหรือสิ่งเสพย์ติดที่มีฤทธิ์สามารถคลาย ความเครียดจากทางจิตได้ชั่วขณะหนึ่งมารับประทาน แต่ไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุเมื่อยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับเครียด อีก และ ผู้ป่วยก็จะเสพสิ่งเสพย์ติด ถ้าทาเช่นนี้ ไปเรื่อยๆ ก็จะทาให้ผู้นั้นติดยาเสพย์ติดในที่สุด 3. การไปซื้อยามารับประทานเองโดยไม่ทราบสรรพคุณยาที่แท้จริงขนาดยาที่ควรรับประทาน การ รับประทานยาเกินจานวนกว่าที่แพทย์ได้สั่งไว้ การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด หรือรับประทานติดต่อกัน นานๆ บางครั้งอาจมีอาการถึงตายได้ หรือบางครั้งทาให้เกิดการเสพติดยานั้นได้ 4.สาเหตุอื่นๆ การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต หรือ เป็นผู้ขายหรือผู้ผลิตเอง จึงทาให้มีโอกาสติดสิ่งเสพย์ติดให้โทษ นั้นมากกว่าคนทั่วไปเมื่อมีเพื่อนสนิทหรือพี่น้องที่ติดสิ่งเสพย์ติดอยู่ ผู้นั้นย่อมได้เห็นวิธีการเสพ ของผู้ที่อยู่ใกล้ชิด รวมทั้งใจเห็นพฤติกรรมต่างๆ ของเขาด้วย และยังอาจได้รับคาแนะนาหรือชักชวนจากผู้เสพด้วย จึงมีโอกาสติดได้ 1. คนบางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยมีรายได้ลดลง หรือคงที่ มีหนี้สิน มาก ฯลฯ เมื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ไม่ได้ก็หันไปใช้สิ่งเสพย์ติด ช่วยผ่อนคลายความรู้สึก ในความทุกข์ยากต่าง เหล่านี้ แม้จะรู้ว่าเป็นชั่วครู่ชั่วยาม ก็ตาม เช่น กลุ้มใจที่เป็นหนี้คนอื่นก็ไปกินเหล้า หรือ สูบกัญชาให้เมาเพื่อที่จะได้ลืมเรื่องหนี้สิน บางคนต้องการ รายได้เพิ่มขึ้น โดยพยายามทางานให้หนัก และ มากขึ้นทั้ง ๆ ที่ร่างกายอ่อนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุ้น ประสาทเพื่อให้สามารถทางานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทาอยู่เป็นประจาทาให้ติดสิ่งเสพย์ติดนั้นได้ 2.การเลียนแบบ การที่ไปเห็นผู้ที่ตนสนิทสนมรักใคร่หรือเพื่อน จึงเห็นว่าเป็นสิ่งน่าลอง เป็นสิ่งโก้เก๋ เป็นสิ่ง แสดงความเป็นพวกเดียวกัน จึงไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นจนติด 3. คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวังในชีวิตสังคม เพื่อเป็นการ ประชดตนเองหรือคนอื่น จึงไปใช้สิ่งเสพย์ติดจนติด ทั้งๆ ที่ทราบว่าเป็นสิ่งไม่ดี ก็ตาม สาเหตุสาคัญที่ทาให้ติดยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยรุ่น คือ 1. จากการถูกชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะเกิดจากเพื่อนสนิทที่กาลังติดยาอยู่และอยากจะให้เพื่อนลอง บ้าง ปัญหานี้มักจะเกิดกับเด็กที่มีปัญหาทางครอบครัวขาดความอบอุ่น ใจแตก เอาเพื่อนเป็นที่พึ่งนอกจากนี้ผู้ที่อยู่ใน แหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการ ชักจูง คุณภาพของยาเสพติดว่าดีต่าง ๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า เมื่อเสพแล้วจะทาให้ปลอด โปร่ง เหมาะแก่การเรียนการทางาน การชักจูงดังกล่าวอาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ถูกชักจูง กาลังมึนเมา สุราเที่ยวเตร่กัน จึงทาให้เกิดการติดยาได้ 2. จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่าคงจะไม่ติดง่าย ๆ แต่เมื่อ ทดลอง เสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก แม้เสพเพียงครั้งหรือสอง ครั้ ก็จะติดแล้ว 3. จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่าสิ่งที่ ตนได้กินเข้าไป นั้น เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง อะไรตามที่ผู้หลอกลวงแนะนาผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ติดยาเสพติดไป
  • 5. 5 4. เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นหืด เป็นโรคประสาท ได้รับ ความทรมานทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานแต่ก็ไม่หาย จึงหันเข้าหายาเสพติด จนติดยาในที่สุด 5. จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนี้คิดว่าตัวเองเป็นคนเก่งอยากลองซึ่งรู้แก่ใจว่ายาเสพติดให้โทษเป็น สิ่งไม่ดีแต่ด้วยความที่คึกคะนองเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดง ความเด่นดังอวดเพื่อนว่าข้านี้คือพระเอก ขาดความยั้งคิดจึงเสพยา เสพติดและติดยาในที่สุด 6. จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพและค้ายาเสพติด ภาวะ ทางเศรษฐกิจบีบคั้นจิตใจ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล เหนือ จิตใจผลักดันให้ผู้ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม ดังกล่าว บางคนหันมาพึ่งยาเสพติดโดยคิดว่าจะช่วย ให้ตนเองหลุดพ้นจากสภาพต่าง ๆ ที่คับข้องใจเหล่านั้นได้ การป้องกันตนเองจากยาเสพติด โดยเฉพาะเยาวชนสามารถหลีกเลี่ยงจาก สารเสพติด ชนิดต่างๆได้นั้น ทุกฝ่ายจะต้องมีบทบาทช่วยกัน ป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด เช่น บทบาทของ ครอบครัว โรงเรียน ศาสนา และชุมชน แต่สิ่งสาคัญที่สุดในการ ป้องกันเยาวชนไม่ให้ติดสารเสพติดได้นั้นคือตัวเยาวชนเอง ซึ้งการป้องกันและหลีกเลี่ยงสารเสพติดทาได้หลายวิธี เช่น 1. เชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์และผู้ใหญ่ที่หวังดี 2. เมื่อมีปัญหาควรศึกษาพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือครูอาจารย์ ไม่เก็บปัญหาเอาไว้ เพราะแก้ไขปัญหาโดย รู้เท่าไม่ถึงการณ์นั้น อาจนาไปสู่การดาเนินชีวิตที่ผิดพลาดได้ และไม่ควรว่าการเสพสารเสพติดจะช่วยให้ลืมปัญหา เหล่านั้นได้ 3. ศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของสารเสพติดชนิดต่างๆ 4. ไม่มั่วสุมกับผู้ที่ติดสารเสพติด 5. ไม่ชักชวนเพื่อนฝูงทดลองเสพ ยาเสพติด เมื่ออยู่ในกลุ่มเพื่อนควรจับกลุ่มกันทากิจกรรมที่เป็นประโยชน์ เช่น ออกกาลังกาย เล่นกีฬา อ่านหนังสือ เป็นต้น 6. อย่าคิดว่าการดื่มสุรา การสูบบุหรี่ หรือการเสพ สารเสพติด เป็นเรื่องโก้ 7.ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส รักษาสุขภาพอนามัยอยู่เสมอ หากบุคคลมีสุขภาพจิตไม่ดี ร่างกายไม่แข็งแรง อาจ นาไปสู่การใช้สารเสพติดได้ 8. รู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี และนาแบบอย่างที่ดีของเพื่อนมาประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเอง 9. ไม่ทดลองเสพ ยาเสพติด ทุกชนิด เพราะติดง่ายแต่รักษาให้หายยาก 10.ยืดมั่นในหลักธรรมของศาสนา ซึ่งคาสอนของทุกศาสนามีจุดมุ่งหมายให้บุคคลประพฤติแต่สิ่งที่ดีงามและ ละเว้นความชั่ว 11. หากรู้สึกตัวเองหรือสงสัยว่าถูกหลองให้เสพ ยาเสพติดต้องรีบบอกพ่อแม่ผู้ปกครองหรือครูทันที 12.เมื่อพบผู้ใดน่าสงสัยว่าติดสารเสพติดควรแจ้งพ่อแม่ผู้ปกครองหรือครูเพื่อช่วยแนะนาให้ไปรับการ บาบัดรักษาโดยเร็ว 13.เมื่อพบหรือทราบเบาะแสของแหล่งที่มีการค้าสารเสพติดให้แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบทราบทันที ผลเสียของการติดยา 1. การสูญเสียด้านบุคลิกภาพและจิตใจ เยาวชนย่อมมีบุคลิกภาพที่กาลังเจริญเติบโต มีการสร้างประสบการณ์ต่างๆ และหัดวิธีการและชั้นเชิง ในการ ผจญปัญหา หรือกระทาการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การแก้ปัญหาย่อมต้องอาศัยกระบวนการทางจิตหลาย ประการ เช่น ความอดกลั้น การควบคุมอารมณ์ การ แสดงอารมณ์ตามความเหมาะสม การใช้ความคิดและ ประมาณการ ตลอดจนการหาวิธีแก้ปัญหา ให้เกิดผลดีที่สุด
  • 6. 6 หากเยาวชนใช้และติดยาเสพติด โดยอาศัยเป็น ทางหนีจากความทุกข์ยากหรือปัญหาต่างๆแล้ว บุคลิกภาพ ของผู้นั้น ก็ย่อมหยุดเจริญ แทนที่จะหาทางแก้ปัญหา ที่เหมาะสม กลับหันไปใช้ยาแทน เยาวชนที่ติดยาจึงมี บุคลิกภาพใหม่ ที่มีความอดทนน้อย ระแวง และหาความ สุขจากชีวิตธรรมดาที่ไม่ใช้ยาเสพติดไม่ได้ หากผู้นั้นได้ผ่านการรักษาหลายครั้ง และเลิก ได้ไม่นานก็ต้องกลับไปใช้อีก ความเชื่อมั่นในตนเอง และ ความหวังว่าจะเลิกจากยา ก็ค่อยๆ หายไปทุกที หากผู้นั้นถูกจับและติดคุกหลายๆ ครั้ง ความ กลัวคุกตะรางและการลงโทษต่างๆ ตลอดจนความไม่ดีใน สายตาของสังคม ก็ค่อยลดเสื่อมและชินชาไป การ ติดคุกตะราง หรือการถูกลงโทษทางกฎหมายกลายเป็นเรื่องเล็ก ค่านิยมของเขาก็เปลี่ยนไป ความดีกับความชั่ว ตามแนวคิดปกติก็เลือนไป ความสุขที่เกิดจากการกระทา ความดีก็ถอย ไป นับได้ว่า เป็นการเสื่อมสลายของสภาพจิต เมื่อเยาวชนคนหนึ่งคนใดติดยาเสพติด และมีบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไปจนถึงขั้นนี้ ก็จะเป็นพลเมืองดีไม่ได้ ไม่สามารถใช้ชีวิตที่เป็นประโยชน์กับตนเองและผู้อื่นได้ กลับเป็นผู้ก่อให้เกิดปัญหาสาหรับตนเอง ครอบครัวและสังคม จึงนับว่า เป็นการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ซึ่งเป็นการสูญเสียที่สาคัญที่สุด 2. การสูญเสียทางสุขภาพอนามัย ผู้ที่ติดยาเสพติด อาจเกิดปัญหาทางสุขภาพ อนามัย หรือโรคต่างๆได้หลายอย่าง ได้แก่ 2.1 การใช้ยาเกินขนาด โดยที่การด้านยา เปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ผู้ที่พยายามเลิกยาหรือเข้ารับการ รักษา ความด้านยาจะลดลง ประกอบกับยาที่ได้จากการ ลักลอบค้าไม่ได้มีการควบคุมมาตรฐาน ความแรงอาจ เปลี่ยนแปลง ได้อยู่เสมอ เพราะมีการเจือปนสารชนิดอื่นเข้าไป ก่อนนาออกจาหน่าย ผู้ติดยาจึงอาจใช้ยาเกิน ขนาดและเป็น อันตรายได้ ยิ่งเป็นการใช้ยาที่ฉีดเข้าหลอดเลือดแล้ว ยิ่งมีโอกาสเกินขนาดได้มาก ยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทกลาง เมื่อใช้เกิน ขนาดจะทาให้ไม่รู้สึกตัวไป การหายใจลดลง และอาจเป็นอันตรายเสียชีวิตได้ ในบางรายอาจเกิดการบวม ของปอด ทาให้หายใจหอบและเสมหะเป็นฟองได้ 2.2 อาการจากการขาดยา อาการถอนยาที่ เกิดขึ้นในผู้ติดยาบางคนที่ติดอย่างรุนแรงและสุขภาพ ไม่ดีอาจ เป็นอันตรายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดยา นอนหลับ อาจเกิดอาการไข้สูง ชัก และไม่รู้สึกตัวได้ ผิวหนังอักเสบเนื่องจากติดเชื้อจากเข็มฉีดยา ผิวหนังอักเสบเนื่องจากติดเชื้อจากเข็มฉีดยา ในบางรายอาจมีอาการถอนยาที่ปรากฏคล้าย โรคทางกาย เช่น อาการปวดท้องอย่างรุนแรง เหมือนการอุดตันของลาไส้ ทาให้ได้รับการผ่าตัดแก้ไข โดยวินิจฉัยผิดได้ อาการถอนยาที่เกิดในเด็กแรกเกิด เนื่องจาก มารดาติดยาเสพติด และใช้ยาในระยะก่อนคลอด จะทาให้เด็กไม่แข็งแรง หายใจน้อย และเสียชีวิตได้ง่าย 2.3 พิษจากยาเสพติด ยาเสพติดบางชนิด เช่น แอมเฟตามีน กัญชา โคเคน และแอลเอสดี มีผลทาให้เกิด อาการทางจิตได้ บางรายอาจคลุ้มคลั่ง วิกลจริต ไปเป็นระยะเวลานาน ยาแอมเฟตามีน ทาให้เกิดอาการระแวงอย่าง รุนแรง คิดว่าผู้อื่นจะมาทาร้ายจึงอาละวาด และทาร้ายผู้อื่นได้ ในยาเสพติดที่ลักลอบขายกัน อาจมีสารอื่น เจือปน เพื่อให้ได้ปริมาณมากขึ้น เช่น สารหนู และ สตริกนิน (strychnine) เป็นต้น ซึ่งเป็นยาพิษทาให้เป็น อันตรายได้ 2.4 อันตรายจากการฉีดยาที่ไม่สะอาด ผู้ติด ยาที่ใช้ยาฉีดเข้าหลอดเลือด หรือเข้ากล้ามเนื้อ มักไม่ได้ทาความ สะอาดหลอดฉีดยา ให้ปราศจากเชื้อเสียก่อน น้าที่ใช้ละลายยาเพื่อฉีดก็ไม่สะอาด จึงอาจฉีดเอาเชื้อโรคต่างๆ เข้าไปใน ร่างกายได้ ทาให้เกิดการอักเสบของผิวหนัง และเนื้อเยื่อบริเวณที่ฉีด เกิดเป็นฝีหรือเนื้อตายได้ อาจลุกลามเกิดการ อักเสบของหลอดเลือด หรือโลหิตเป็นพิษได้ ในบางรายเชื้อโรคอาจเข้าไปยังอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ ปอด สมอง และกระดูก ทาให้เกิดลิ้นหัวใจอักเสบ และฝีตามอวัยวะต่างๆ ผู้ที่ฉีดยาหลายคน อาจใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ทาให้โรค จากคนหนึ่งติดไปยังคนอื่นๆ ได้ เช่น โรคตับ อักเสบ เป็นต้น ผู้ติดยามีอัตราการเป็นโรคนี้ มากกว่าบุคคลทั่วไป และ อาจเกิดการระบาดเป็นโรคทีละหลายๆ คนได้
  • 7. 7 2.5อันตรายจากการฉีดยาที่ไม่เหมาะสม เข้าร่างกาย ผู้ติดยาอาจใช้ยาเม็ดมาละลายน้า ฉีดเข้า หลอดเลือด โดยไม่ทราบว่า ในยาเม็ดมีแป้งพวกทัลคัม (talcum) อยู่ด้วย บางทีก็ใช้สาลีกรองน้ายาก่อนจะใช้ฉีด แป้งและใยสาลี จะเข้าไปติดอยู่ตามหลอดเลือดฝอยของปอด เกิดโรคปอดแข็งทาให้การหายใจลาบากเรื้อรังและ ไม่มีวิธีรักษา ในบางกรณียาอาจจะละลายไม่ดี มีเกล็ดหรือ ผลึกของยาเข้าไปในหลอดเลือด ไปอุดหลอดเลือดต่างๆ เช่น ที่สมอง เกิดเป็นอัมพาตได้ 2.6 โรคบางชนิดที่พบร่วมกับการติดยาเสพติด ผู้ติดยาเสพติดมักมีสุขภาพไม่ดี อาหารไม่เพียงพอ และการ ดูแลสุขภาพอนามัย ตลอดจนการรักษาความ สะอาดของร่างกายไม่ดี จึงมีโรคต่างๆเกิดได้มาก เช่น วัณโรคของปอด โรคผิวหนังต่างๆ เป็นต้น มีผู้รายงานว่า พบโรคบางชนิดร่วมกับการติด ยาเสพติด โดยความสัมพันธ์ และวิธีการเกิด ยังไม่ได้เป็นที่เข้าใจชัดเจน เช่น โรคเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อละลายตัว (rhabdomyolysis) มีอาการปวดกล้ามเนื้อ และอ่อนเพลีย ขยับเขยื้อนลาบาก มี การสลายตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ ทาให้มีสารไมโอโกลบินเข้าไปในเลือด และขับถ่ายออกไปในปัสสาวะ (myoglobinemia, myoglobinuria) เห็นเป็นปัสสาวะสีดา รอยแผลเป็นจากเข็มฉีดยา รอยแผลเป็นจากเข็มฉีดยาโรคไตอักเสบ และโรคเส้นประสาทอักเสบ ก็พบได้ในผู้ติดยาเสพติด 3. การสูญเสียทางเศรษฐกิจ 3.1 ค่าใช้จ่ายในการใช้ยา ผู้ติดยาเสพติด ย่อมต้องใช้จ่ายเงินในการซื้อยามาใช้ ยิ่งติดมากขึ้น ยิ่ง จาเป็นต้อง ใช้ปริมาณยามาก เพราะเกิดการด้านยาดังได้ กล่าวแล้ว โดยเฉลี่ยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ ผู้ที่ติดเฮโรอีน ใช้เงินซื้อยาราววัน ละ ๕๕ บาท ซึ่งนับว่า เป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ผู้ที่สูบฝิ่น หากมีฐานะไม่ค่อยดีนัก ก็จาเป็น ต้องขายทรัพย์สมบัติต่างๆ เพื่อใช้ในการสูบฝิ่น จึงทา ให้มีฐานะยากจนลง ผู้ที่ยากจนอยู่แล้ว และต้องรับจ้างหาเงิน ยิ่งมีความลาบากในการยัง ชีพ และเลี้ยงดู ครอบครัว หากพิจารณาการสูญเสียทั้งประเทศซึ่งมีผู้ติดยา อยู่มาก ผู้ติดยาเฮโรอีน ๑๐๐,๐๐๐ คน จะใช้ยามีมูลค่า ถึงวันละ 5.5 ล้านบาท หรือปีละ 2,000 ล้านบาท 3.2 การขาดงาน ผู้ติดยาเสพติดบางคน อาจ สามารถปรับการใช้ยาได้ และสามารถทางานได้ตามปกติ บาง คนใช้ยาขนาดน้อยๆ ในเวลาเช้าและกลางวัน เพื่อ ไม่ให้เกิดอาการถอนยาและสามารถทางานได้ แล้วใช้ ยามากใน ตอนเย็นหรือกลางคืน ผู้ติดยาส่วนใหญ่ เมื่อติดงอมแงมแล้วจะไม่ สามารถทางานได้ เพราะจะมีผลต่อร่างกายและ จิตใจที่ ขัดกับการทางาน เมื่อใช้ยามากในเวลากลางวัน ก็มีอาการซึม สะลึมสะลือ ความคิดช้า ทางานได้ลาบาก เมื่อ ยาหมดฤทธิ์ก็เกิดอาการถอนยา คือ กระวนกระวาย และ ปวดเมื่อยตามตัว ฤทธิ์ของยาและอาการถอนยานี้เกิด สลับกันอยู่ทั้งวัน จนไม่สามารถทางานหรือเรียนหนังสือ ได้ นอกจากนี้ ยังมีความจาเป็นต้องใช้เวลาในการไปหา ยามา เพื่อใช้ในคราวต่อไป และหาที่ซุกซ่อนเพื่อใช้ยา สิ่งต่างๆ เหล่านี้ จะรบกวนและขัดขวางการทางาน ทาให้ ประสิทธิภาพลดลง จนอาจต้องออกจากงาน 3.3 ค่าใช้จ่ายในการจัดการแก้ปัญหาของรัฐ และเอกชน ทั้งในด้านการปราบปรามการลักลอบค้า ยาเสพติด การให้บริการบาบัดรักษา และการป้องกัน ทาให้สูญเสียงบประมาณและทรัพยากรไปไม่น้อย 4. การสูญเสียทางสังคม 4.1 การเสียชื่อเสียง และฐานะทางสังคมของ ผู้ติดยา ผู้ติดยาย่อมเป็นที่รังเกียจของสังคม 4.2 ปัญหาในครอบครัว การติดยาเสพติดทา ให้คนในครอบครัวได้รับความลาบากทั้งด้านจิตใจและ ฐานะ การเงิน มีผลให้เกิดความแตกแยกในครอบครัวได้ ดังจะเห็นได้ว่าผู้ติดยามีอัตราการหย่าร้างสูง 4.3 ปัญหาอาชญากรรม ผู้ติดยาจาเป็นต้องใช้เงินจานวนมากในการซื้อยามาใช้ ประกอบกับความ อยากยา รุนแรง ทาให้ขาดการยั้งคิด จึงเกิดอาชญากรรมต่างๆ ขึ้นได้ ในชุมชนใดที่มีผู้ติดยาเสพติดอยู่ โอกาสที่จะเกิดการลัก ขโมยมีมากขึ้น นอกจากนี้ ปัญหายาเสพติดอาจเป็นปัญหา ทางการเมืองในประเทศ หรือระหว่างประเทศ และมีผลกระทบ ต่อความมั่นคงของชาติได้
  • 8. 8 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอคุณครูที่ปรึกษา 2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล 3.จัดทาโครงร่าง 4.ศึกษาหาข้อมูลการทาสื่อเว็บไซต์หรือสื่อวิดีโอ 5.ออกแบบสร้างเว็บบล็อกหรือสื่อวิดีโอ และจัดทาโครงงาน 6.เผยแพร่โครงงานในเว็บบล็อกสรุปรายงานและทาเป็นรูปเล่ม เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รับรู้เกี่ยวกับโทษและภัยของยาเสพติด 2.ได้ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด 3.ได้รับแนวทางในการปฏิบัติเมื่ออยู่ในภาวะเสี่ยง สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา 3.กลุ่สาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
  • 9. 9 แหล่งอ้างอิง สาราณุกรมไทยสาหรับเยาวชน .ผลเสียของการติดยา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=9&chap=13&page=t9-13-infodetail04.html (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กันยายน 2560). สโรชา วิชาชัย .การป้องกันตนเองจากยาเสพติด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://sarochafon159.wordpress.com (วันที่ค้นข้อมูล : 20 กันยายน 2560).