SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชือวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือสาร 5 
ปการศึกษา 2562 
ชือโครงงาน ​โรคไบโพลาร์ 
 
 
 
ชือผู้ทําโครงงาน 
ชือนางสาว สาธิณี เลามุ่ง เลขที 18 ชัน ม.6 ห้อง 9 
 
 
 
 
ชืออาจารย์ทีปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์ 
 
 
 
 
 
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที 1-2 ปการศึกษา 62 
 
 
 
 
 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34   
 
 
2
ใบงาน 
การจัดทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 
 
สมาชิกในกลุ่ม นางสาว สาธิณี เลามุ่ง เลขที 18 
 
คําชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี 
 
ชือโครงงาน (ภาษาไทย) 
​โรคไบโพลาร์ 
ชือโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)   
​ ​Bipolar Disorder 
ประเภทโครงงาน ​พัฒนาสือเพือการศึกษา 
ชือผู้ทําโครงงาน ​นางสาว สาธิณี เลามุ่ง 
ชือทีปรึกษา ครูเขือนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดําเนินงาน ​ ภาคเรียนที 1-2 ปการศึกษา 62 
ทีมาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงทีมา แนวคิด และเหตุผล 
ของการทําโครงงาน) 
​ในปจจุบันมีแนวโน้มการเกิดโรคไบโพลาร์มากขึนในวัยรุ่น ซึงโรค 
ไบโพลาร์เปนกลุ่มอาการหนึงจากโรคซึมเศร้าซึงเกิดจากการดําเนินชีวิตมี
เหตุการณ์ต่างๆทีส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของคนในสังคมมากมาย 
ความเครียดจากการทํางาน ความผิดหวังของผลการเรียนการถูกทิงจากคนรัก
อาการปวยทางร่างกายการผิดหวังจากสิงทีได้คาดหวังไว้และอีก หลายปจจัย
ส่งผลทําให้เกิดความเครียดสะสม สมองผลิตสารสือ ประสาทผิดปกติ
พฤติกรรมเปลียนแปลงไป ทําให้เกิดอารมณ์สองขัว ส่งผลต่อตนเองและ
ครอบครัวอย่างหลีกเลียงไม่ได้ในปจจุบันผู้ทีตกอยู่ในสภาวะซึมเศร้าระดับไบ
โพล่าร์พบได้ประมาณ 1-2% ของประชากรทัวโลก และเปนโรคทีก่อให้เกิด
ความสูญเสีย ดังนันจึงมีจุดมุ่งหมายเพือศึกษาอารมณ์และความรู้สึกของผู้ที
ตกอยู่ในสภาวะซึมเศร้าระดับไบโพล่าร์ เพือนํามาปองกันไม่ให้เกิดหรือเมือ
เกิดทําอย่างไรจึงควบคุมได้ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อตัวเราและผู้อืน 
 
วัตถุประสงค์ ​(สิงทีต้องการในการทําโครงงาน ระบุเปนข้อ) 
1.​เพือนําเสนอเรืองพฤติกรรมทีเปลียนแปลงของคนทีตกอยู่ในสภาวะซึมเศร้า 
ระดับไบโพล่าร์ 
2.เพือให้ได้ความรู้ ความเข้าใจเกียวกับโรคไบโพลาร์ 
3.เพือทีจะได้รู้ถึงการปองกันไม่ให้เกิดโรค 
3
 
ขอบเขตโครงงาน ​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงือนไขและข้อจํากัดของการทํา
โครงงาน) 
โครงงานเรืองโรคไบโพลาร์ ได้เข้าใจถึงสาเหตุและความเสียงทีจะทําให้เกิด
โรคไบโพลาร์ ผู้ทําการศึกษาเปนนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที 6 ภาคเรียนที 1 
ปการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึงมีระยะเวลาด าเนินโครงงาน 
29 สิงหาคม – 17 กันยายน 2562 
 
หลักการและทฤษฎี ​(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีทีสนับสนุนการทําโครง
งาน) 
​โรคอารมณ์สองขัว เปนโรคทีผู้ปวยมีอารมณ์แปรปรวนผิดปกติ โดยมี
อารมณ์ดีมากจนผิดปกติหรืออยู่ในภาวะอารมณ์ดีตืนตัวผิดปกติ (Mania) 
สลับกับมีภาวะซึมเศร้าอย่างหนัก (Depression) ทําให้เกิดความยากลําบาก
ต่อการทํางาน การเข้าสังคม และการใช้ชีวิต ปจจุบันเชือว่าโรคไบโพลาร์เกิด
ได้จากหลายสาเหตุ อาทิ พันธุกรรมทีผิดปกติทังทีเกิดจากการถ่ายทอดจาก
บรรพบุรุษและเกิดใหม่ช่วงเปนทารกในครรภ์ เนืองจากพบว่าผู้ทีมีบุคคลใน
ครอบครัวปวยด้วยโรคนีหรือโรคทางจิตเวชอืนๆ จะมีโอกาสเปนโรคไบโพลาร์
มากกว่าคนทัวไป 
นอกจากนียังอาจเกิดจากการทํางานทีผิดปกติของสมองโดยมีสารสือ
ประสาททีไม่สมดุล และจากสภาพแวดล้อมของผู้ปวย เช่น การเลียงดูในวัย
เด็ก หรือความเครียดในชีวิตประจําวันทีกระตุ้นให้โรคแสดงอาการ รวมถึงเกิด
จากโรคบางอย่าง เช่น ความผิดปกติของไทรอยด์ฮอร์โมน 
 
ชนิดของโรคไบโพลาร์ 
โรคไบโพลาร์มีหลายชนิด แบ่งแยกตามอาการและความรุนแรงได้เปน
ประเภทหลักๆ ดังต่อไปนี 
● Bipolar I เปนโรคไบโพลาร์ชนิดทีรุนแรงทีสุด ผู้ปวยจะมีอาการแบบ
อารมณ์ดีผิดปกติอย่างน้อย 1 ครัง และอาการของโรคซึมเศร้าอย่างน้อย 
1 ครัง โดยมีอาการทุกวันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ โดยอาการแบบอารมณ์ดี
ผิดปกติ (มาเนีย) ของผู้ปวย Bipolar I จะรุนแรงกว่าอาการของผู้ปวย 
Bipolar II มาก 
● Bipolar II โรคไบโพลาร์ชนิดนีมักตรวจพบหลังจากผู้ปวยมีอาการของ
โรคซึมเศร้าแล้วอย่างน้อย 1 ครัง ร่วมกับอาการมาเนียอย่างอ่อน 
(Hypomania) อย่างน้อย 1 ครังเช่นกัน โดยมีช่วงทีมีอารมณ์ปกติคันอยู่
ระหว่างอาการซึมเศร้าและอาการอารมณ์ดีผิดปกติ ภาวะอารมณ์ดีใน
โรคไบโพลาร์แบบ Bipolar II จะมีไม่มากเท่า Bipolar I จึงมักได้รับการ
4
วินิจฉัยผิดพลาดว่าเปนโรคซึมเศร้า เนืองจากอาการมาเนียอย่างอ่อนข
องผู้ปวยมักถูกมองข้ามไป 
● Cyclothymia เปนโรคไบโพลาร์ชนิดอ่อน เรียกอีกชือหนึงว่า 
Cyclothymic disorder ผู้ปวยโรคนีจะมีอาการมาเนียและซึมเศร้าที
รุนแรงน้อยกว่าทัง 2 ประเภทข้างต้น 
 
 
อาการ   
❖ ช่วงอารมณ์ดีหรือหงุดหงิดมากกว่าปกติ 
1. มันใจในตัวเองเพิมมากขึนหรือคิดว่าตนเองยิงใหญ่ 
2. นอนน้อย 
3. พูดมากกว่าปกติหรือพูดอย่างไม่หยุด 
4. ความคิดแล่นเร็ว 
5. วอกแวกง่าย 
6. อยากทําอะไรหลายๆ อย่างในช่วงเวลานัน 
7. หมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรมทีทําให้เกิดปญหา เช่น ใช้จ่ายหรือ
ลงทุนเยอะ ไม่ยับยังใจเรืองเพศ 
 
❖ ช่วงอารมณ์ซึมเศร้า 
1. ซึมเศร้าเปนส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน 
2. ความสนใจในกิจกรรมต่างๆ ลดลง 
3. เบืออาหารหรือรับประทานอาหารมากเกิน 
4. นอนไม่หลับหรือหลับมากไป 
5. กระสับกระส่ายหรือเชืองช้ามากขึน 
6. อ่อนเพลีย 
7. รู้สึกตนเองไร้ค่า 
8. สมาธิลดลง 
9. คิดถึงเรืองการตายอยู่เรือยๆ 
 
 
การรักษาโรคไบโพลาร์ 
​ผู้ปวยจะได้รับการรักษาตามกระบวนการทีเหมาะสมกับความรุนแรง
และลักษณะอาการ อย่างไรก็ตาม โรคไบโพลาร์ไม่สามารถรักษาให้หายขาด
ได้ แต่สามารถใช้ยาปรับสมดุลสารสือประสาทและการบําบัดเพือช่วยบรรเทา
และควบคุมอาการปวยได้ ดังนี 
 
5
การรักษาด้วยยา ​ผู้ปวยต้องใช้ยาเพือปรับสารสือประสาทในสมองให้กลับสู่
สภาวะปกติ ควบคุมสารไม่ให้สูงหรือตาจนทําให้เกิดภาวะอารมณ์ดีผิดปกติ
หรือภาวะซึมเศร้า แม้อาการจะดีขึนแล้ว แต่ผู้ปวยต้องใช้ยาตามคําสังแพทย์
อย่างต่อเนืองหรือจนกว่าแพทย์จะสังให้หยุดใช้ รวมทังมาพบแพทย์ตามนัด
เพือติดตามผลการรักษาอย่างสมาเสมอ เพราะหากหยุดใช้ยาอย่างกะทันหัน
หรือขาดการรักษาอย่างต่อเนือง จะเพิมความเสียงต่อการกลับไปมีอาการของ
โรคซาอีก หรืออาจมีอาการรุนแรงกว่าทีเคยเปน 
โดยยาทีใช้รักษาผู้ปวยไบโพลาร์ ได้แก่ 
ยากลุ่มลิเทียม (Lithium Carbonate) ใช้รักษาระยะยาวภายใต้การดูแลของ
แพทย์ และต้องควบคุมยาให้อยู่ในปริมาณทีเหมาะสมต่อร่างกายเสมอ เพือ
ลดการเกิดผลข้างเคียง โดยผู้ปวยทีใช้ยาลิเทียมต้องรับการตรวจเลือด ตรวจ
การทํางานของไตและต่อมไทรอยด์ และตรวจระดับลิเทียมในเลือดเปนระยะ 
ยารักษาโรคลมชัก (Anticonvulsant) เปนยาทีใช้รักษาอารมณ์แปรปรวนใน
ระยะยาว ซึงอาจใช้ควบคู่กับยาลิเทียมตามดุลยพินิจของแพทย์ด้วย โดยมี
ตัวอย่างยา เช่น วาลโปรเอท คาร์บามาซีปน และลาโมไตรจีน เปนต้น 
ยารักษาอาการทางจิต (Antipsychotic) ใช้รักษากลุ่มอาการทางจิตทีเกิดขึน
ในขณะเปนโรคอารมณ์สองขัว เช่น อะริพิพราโซล โอแลนซาปน เควทาเอปน 
และเรสเพอริโดน เปนต้น 
ยาต้านเศร้า (Antidepressant) ใช้รักษาร่วมกับยาอืนในกรณีทีผู้ปวยอยู่ใน
ภาวะซึมเศร้า เพือปรับสภาวะทางอารมณ์ให้มันคง เช่น ฟลูออกซิทีน เปนต้น 
ยาคลายกังวล (Anti-Anxiety) ช่วยคลายความวิตกกังวล ความคิดฟุงซ่าน 
และบรรเทาปญหาด้านการนอนทีเกิดขึนกับผู้ปวยไบโพลาร์อย่างอาการนอน
ไม่หลับ เช่น เบนโซไดอะซีปน เปนต้น 
 
การบําบัดรักษา 
นอกเหนือจากการรักษาฟนฟูทางร่างกาย ผู้ปวยไบโพลาร์ต้องเข้ารับการ
บําบัดจากจิตแพทย์อย่างต่อเนืองด้วย ซึงประกอบไปด้วยการรับคําปรึกษา
และการบําบัดทางจิต (Psychotherapy) การเข้าร่วมกลุ่มบําบัดกับผู้ปวยคน
อืน ๆ และการศึกษาเกียวกับโรคความผิดปกติทางจิตและอารมณ์ทีตนเปนอยู่ 
เพือให้รับมืออาการต่าง ๆ ทีเกิดขึนได้ดียิงขึน 
 
การปองกันโรคไบโพลาร์ 
แม้จะไม่มีวิธีทีแน่นอนในการปองกันโรคไบโพลาร์ แต่อาจปองกันปจจัยเสียง
ต่าง ๆ หรือปองกันการเกิดอาการรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนอืน ๆ ได้ เช่น 
ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ 
รักษาสุขภาพจิตให้ดี หลีกเลียงการเผชิญความเครียดต่าง ๆ 
6
เข้ารับการรักษาอย่างสมาเสมอ และกินยาตามคําสังของแพทย์ เพือให้สภาวะ
ทางอารมณ์คงที และปองกันการเกิดอารมณ์แปรปรวนทีควบคุมไม่ได้ 
ไม่หยุดการรักษา และไม่เลิกกินยากลางคันเพราะคิดว่าอาการดีขึนแล้ว 
เนืองจากมีความเสียงสูงทีอาการจะกลับมา หรืออาการอาจกําเริบหนักกว่า
เดิม 
ระมัดระวังเรืองการใช้ยาชนิดอืน ๆ ทีอาจส่งผลกระทบต่อระดับสารเคมีใน
สมองทีมีผลต่อการเปลียนแปลงของอารมณ์ 
สังเกตอาการทีเปนสัญญาณสําคัญของโรคหรืออาการแทรกซ้อนต่าง ๆ แล้ว
รีบไปพบแพทย์เพือเข้ารับการรักษาอย่างเหมาะสมหากพบความผิดปกติ 
   
 
 
วิธีดําเนินงาน  
แนวทางการดําเนินงาน 
● คัดเลือกหัวข้อโครงงานทีสนใจจะทํา 
● ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 
● จัดทําเค้าโครงของโครงงานทีจะทํา  
● ลงมือทําโครงงาน  
● เขียนรายงานและจัดทําคู่มือการใช้  
 
เครืองมือและอุปกรณ์ทีใช้  
● อินเตอร์เน็ต  
● หนังสือทีเกียวข้อง  
● งานวิจัยทีเกียวข้อง 
 
งบประมาณ - 
 
ขันตอนและแผนดําเนินงาน 
 
ลํา
ดับ 
ที 
ขันตอน  สัปดาห์ที ผู้รับผิด
ชอบ 
1  2  3  4  5  6  7  8  9 
1
0 
1
1 
1
2 
1
3 
1
4 
1
5 
1
6 
17  
1  คิดหัวข้อโครงงาน                                   
2  ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล 
                                 
3  จัดทําโครงร่างงาน                                   
7
4  ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน 
                                 
5  ปรับปรุงทดสอบ                                   
6  การทําเอกสาร
รายงาน 
                                 
7  ประเมินผลงาน                                   
8  นําเสนอโครงงาน                                   
 
ผลทีคาดว่าจะได้รับ ​(ผลลัพธ์ทีต้องการให้เกิดขึนเมือสินสุดการทําโครง
งาน) 
มีความรู้ ความเข้าใจพอทีจะนํามาเผยแพร่ต่อผู้อืน และมีแนวทางทีจะทําให้
ตนเองมีความผิดปกติ แล้วยังสามารถให้คําปรึกษาแก่ผู้ทีมีแนวโน้มทีจะเกิด
โรคซึมเศร้าระดับไบโพลาร์ 
สถานทีดําเนินการ 
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ตึก 10 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า 
ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ทีเกียวข้อง 
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา  
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลย 
 
แหล่งอ้างอิง ​(เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทีนํามาใช้การทําโครงงาน) 
1. Anderson IM, Haddad PM, Scott J (Dec 27, 2012). "Bipolar 
disorder". BMJ (Clinical Research Ed.). 345: e8508.  
2. Goodwin, Guy M. (2012). "Bipolar disorder". Medicine. 40 (11): 
596–598. doi:10.1016/j.mpmed.2012.08.011. 
3. โรคอารมณ์สองขัว (https://med.mahidol.ac.th/rama...) 
 

More Related Content

What's hot

2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
Pichnaree Suta
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
RungtiwaWongchai
 
Punisa
PunisaPunisa
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Gear Tanatchaporn
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
pimchanokSirichaisop
 
W.1
W.1W.1
W.111
W.111W.111
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
French Natthawut
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
ppchanoknan
 
W.1
W.1W.1

What's hot (19)

2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Similar to กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
KUMBELL
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
ssuser015151
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
Suppamas
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
PittakamonPetai
 
Com555
Com555Com555
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
Patitta Sitti
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
Korakrit Jindadang
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
SathapornTaboo
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
KamontipKumjen
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
duangdeunnkamhanghan
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
chadaa
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
MMM_benyapa
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
MaryW6
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
Ffim Radchasan
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
kunsidaphitakham
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
Dduang07
 

Similar to กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 

กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชือวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือสาร 5  ปการศึกษา 2562  ชือโครงงาน ​โรคไบโพลาร์        ชือผู้ทําโครงงาน  ชือนางสาว สาธิณี เลามุ่ง เลขที 18 ชัน ม.6 ห้อง 9          ชืออาจารย์ทีปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์            ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที 1-2 ปการศึกษา 62            โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่  สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34       
  • 2. 2 ใบงาน  การจัดทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์    สมาชิกในกลุ่ม นางสาว สาธิณี เลามุ่ง เลขที 18    คําชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี    ชือโครงงาน (ภาษาไทย)  ​โรคไบโพลาร์  ชือโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)    ​ ​Bipolar Disorder  ประเภทโครงงาน ​พัฒนาสือเพือการศึกษา  ชือผู้ทําโครงงาน ​นางสาว สาธิณี เลามุ่ง  ชือทีปรึกษา ครูเขือนทอง มูลวรรณ์  ระยะเวลาดําเนินงาน ​ ภาคเรียนที 1-2 ปการศึกษา 62  ทีมาและความสําคัญของโครงงาน (อธิบายถึงทีมา แนวคิด และเหตุผล  ของการทําโครงงาน)  ​ในปจจุบันมีแนวโน้มการเกิดโรคไบโพลาร์มากขึนในวัยรุ่น ซึงโรค  ไบโพลาร์เปนกลุ่มอาการหนึงจากโรคซึมเศร้าซึงเกิดจากการดําเนินชีวิตมี เหตุการณ์ต่างๆทีส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของคนในสังคมมากมาย  ความเครียดจากการทํางาน ความผิดหวังของผลการเรียนการถูกทิงจากคนรัก อาการปวยทางร่างกายการผิดหวังจากสิงทีได้คาดหวังไว้และอีก หลายปจจัย ส่งผลทําให้เกิดความเครียดสะสม สมองผลิตสารสือ ประสาทผิดปกติ พฤติกรรมเปลียนแปลงไป ทําให้เกิดอารมณ์สองขัว ส่งผลต่อตนเองและ ครอบครัวอย่างหลีกเลียงไม่ได้ในปจจุบันผู้ทีตกอยู่ในสภาวะซึมเศร้าระดับไบ โพล่าร์พบได้ประมาณ 1-2% ของประชากรทัวโลก และเปนโรคทีก่อให้เกิด ความสูญเสีย ดังนันจึงมีจุดมุ่งหมายเพือศึกษาอารมณ์และความรู้สึกของผู้ที ตกอยู่ในสภาวะซึมเศร้าระดับไบโพล่าร์ เพือนํามาปองกันไม่ให้เกิดหรือเมือ เกิดทําอย่างไรจึงควบคุมได้ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อตัวเราและผู้อืน    วัตถุประสงค์ ​(สิงทีต้องการในการทําโครงงาน ระบุเปนข้อ)  1.​เพือนําเสนอเรืองพฤติกรรมทีเปลียนแปลงของคนทีตกอยู่ในสภาวะซึมเศร้า  ระดับไบโพล่าร์  2.เพือให้ได้ความรู้ ความเข้าใจเกียวกับโรคไบโพลาร์  3.เพือทีจะได้รู้ถึงการปองกันไม่ให้เกิดโรค 
  • 3. 3   ขอบเขตโครงงาน ​(คุณลักษณะ ขอบเขต เงือนไขและข้อจํากัดของการทํา โครงงาน)  โครงงานเรืองโรคไบโพลาร์ ได้เข้าใจถึงสาเหตุและความเสียงทีจะทําให้เกิด โรคไบโพลาร์ ผู้ทําการศึกษาเปนนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที 6 ภาคเรียนที 1  ปการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึงมีระยะเวลาด าเนินโครงงาน  29 สิงหาคม – 17 กันยายน 2562    หลักการและทฤษฎี ​(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีทีสนับสนุนการทําโครง งาน)  ​โรคอารมณ์สองขัว เปนโรคทีผู้ปวยมีอารมณ์แปรปรวนผิดปกติ โดยมี อารมณ์ดีมากจนผิดปกติหรืออยู่ในภาวะอารมณ์ดีตืนตัวผิดปกติ (Mania)  สลับกับมีภาวะซึมเศร้าอย่างหนัก (Depression) ทําให้เกิดความยากลําบาก ต่อการทํางาน การเข้าสังคม และการใช้ชีวิต ปจจุบันเชือว่าโรคไบโพลาร์เกิด ได้จากหลายสาเหตุ อาทิ พันธุกรรมทีผิดปกติทังทีเกิดจากการถ่ายทอดจาก บรรพบุรุษและเกิดใหม่ช่วงเปนทารกในครรภ์ เนืองจากพบว่าผู้ทีมีบุคคลใน ครอบครัวปวยด้วยโรคนีหรือโรคทางจิตเวชอืนๆ จะมีโอกาสเปนโรคไบโพลาร์ มากกว่าคนทัวไป  นอกจากนียังอาจเกิดจากการทํางานทีผิดปกติของสมองโดยมีสารสือ ประสาททีไม่สมดุล และจากสภาพแวดล้อมของผู้ปวย เช่น การเลียงดูในวัย เด็ก หรือความเครียดในชีวิตประจําวันทีกระตุ้นให้โรคแสดงอาการ รวมถึงเกิด จากโรคบางอย่าง เช่น ความผิดปกติของไทรอยด์ฮอร์โมน    ชนิดของโรคไบโพลาร์  โรคไบโพลาร์มีหลายชนิด แบ่งแยกตามอาการและความรุนแรงได้เปน ประเภทหลักๆ ดังต่อไปนี  ● Bipolar I เปนโรคไบโพลาร์ชนิดทีรุนแรงทีสุด ผู้ปวยจะมีอาการแบบ อารมณ์ดีผิดปกติอย่างน้อย 1 ครัง และอาการของโรคซึมเศร้าอย่างน้อย  1 ครัง โดยมีอาการทุกวันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ โดยอาการแบบอารมณ์ดี ผิดปกติ (มาเนีย) ของผู้ปวย Bipolar I จะรุนแรงกว่าอาการของผู้ปวย  Bipolar II มาก  ● Bipolar II โรคไบโพลาร์ชนิดนีมักตรวจพบหลังจากผู้ปวยมีอาการของ โรคซึมเศร้าแล้วอย่างน้อย 1 ครัง ร่วมกับอาการมาเนียอย่างอ่อน  (Hypomania) อย่างน้อย 1 ครังเช่นกัน โดยมีช่วงทีมีอารมณ์ปกติคันอยู่ ระหว่างอาการซึมเศร้าและอาการอารมณ์ดีผิดปกติ ภาวะอารมณ์ดีใน โรคไบโพลาร์แบบ Bipolar II จะมีไม่มากเท่า Bipolar I จึงมักได้รับการ
  • 4. 4 วินิจฉัยผิดพลาดว่าเปนโรคซึมเศร้า เนืองจากอาการมาเนียอย่างอ่อนข องผู้ปวยมักถูกมองข้ามไป  ● Cyclothymia เปนโรคไบโพลาร์ชนิดอ่อน เรียกอีกชือหนึงว่า  Cyclothymic disorder ผู้ปวยโรคนีจะมีอาการมาเนียและซึมเศร้าที รุนแรงน้อยกว่าทัง 2 ประเภทข้างต้น      อาการ    ❖ ช่วงอารมณ์ดีหรือหงุดหงิดมากกว่าปกติ  1. มันใจในตัวเองเพิมมากขึนหรือคิดว่าตนเองยิงใหญ่  2. นอนน้อย  3. พูดมากกว่าปกติหรือพูดอย่างไม่หยุด  4. ความคิดแล่นเร็ว  5. วอกแวกง่าย  6. อยากทําอะไรหลายๆ อย่างในช่วงเวลานัน  7. หมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรมทีทําให้เกิดปญหา เช่น ใช้จ่ายหรือ ลงทุนเยอะ ไม่ยับยังใจเรืองเพศ    ❖ ช่วงอารมณ์ซึมเศร้า  1. ซึมเศร้าเปนส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน  2. ความสนใจในกิจกรรมต่างๆ ลดลง  3. เบืออาหารหรือรับประทานอาหารมากเกิน  4. นอนไม่หลับหรือหลับมากไป  5. กระสับกระส่ายหรือเชืองช้ามากขึน  6. อ่อนเพลีย  7. รู้สึกตนเองไร้ค่า  8. สมาธิลดลง  9. คิดถึงเรืองการตายอยู่เรือยๆ      การรักษาโรคไบโพลาร์  ​ผู้ปวยจะได้รับการรักษาตามกระบวนการทีเหมาะสมกับความรุนแรง และลักษณะอาการ อย่างไรก็ตาม โรคไบโพลาร์ไม่สามารถรักษาให้หายขาด ได้ แต่สามารถใช้ยาปรับสมดุลสารสือประสาทและการบําบัดเพือช่วยบรรเทา และควบคุมอาการปวยได้ ดังนี   
  • 5. 5 การรักษาด้วยยา ​ผู้ปวยต้องใช้ยาเพือปรับสารสือประสาทในสมองให้กลับสู่ สภาวะปกติ ควบคุมสารไม่ให้สูงหรือตาจนทําให้เกิดภาวะอารมณ์ดีผิดปกติ หรือภาวะซึมเศร้า แม้อาการจะดีขึนแล้ว แต่ผู้ปวยต้องใช้ยาตามคําสังแพทย์ อย่างต่อเนืองหรือจนกว่าแพทย์จะสังให้หยุดใช้ รวมทังมาพบแพทย์ตามนัด เพือติดตามผลการรักษาอย่างสมาเสมอ เพราะหากหยุดใช้ยาอย่างกะทันหัน หรือขาดการรักษาอย่างต่อเนือง จะเพิมความเสียงต่อการกลับไปมีอาการของ โรคซาอีก หรืออาจมีอาการรุนแรงกว่าทีเคยเปน  โดยยาทีใช้รักษาผู้ปวยไบโพลาร์ ได้แก่  ยากลุ่มลิเทียม (Lithium Carbonate) ใช้รักษาระยะยาวภายใต้การดูแลของ แพทย์ และต้องควบคุมยาให้อยู่ในปริมาณทีเหมาะสมต่อร่างกายเสมอ เพือ ลดการเกิดผลข้างเคียง โดยผู้ปวยทีใช้ยาลิเทียมต้องรับการตรวจเลือด ตรวจ การทํางานของไตและต่อมไทรอยด์ และตรวจระดับลิเทียมในเลือดเปนระยะ  ยารักษาโรคลมชัก (Anticonvulsant) เปนยาทีใช้รักษาอารมณ์แปรปรวนใน ระยะยาว ซึงอาจใช้ควบคู่กับยาลิเทียมตามดุลยพินิจของแพทย์ด้วย โดยมี ตัวอย่างยา เช่น วาลโปรเอท คาร์บามาซีปน และลาโมไตรจีน เปนต้น  ยารักษาอาการทางจิต (Antipsychotic) ใช้รักษากลุ่มอาการทางจิตทีเกิดขึน ในขณะเปนโรคอารมณ์สองขัว เช่น อะริพิพราโซล โอแลนซาปน เควทาเอปน  และเรสเพอริโดน เปนต้น  ยาต้านเศร้า (Antidepressant) ใช้รักษาร่วมกับยาอืนในกรณีทีผู้ปวยอยู่ใน ภาวะซึมเศร้า เพือปรับสภาวะทางอารมณ์ให้มันคง เช่น ฟลูออกซิทีน เปนต้น  ยาคลายกังวล (Anti-Anxiety) ช่วยคลายความวิตกกังวล ความคิดฟุงซ่าน  และบรรเทาปญหาด้านการนอนทีเกิดขึนกับผู้ปวยไบโพลาร์อย่างอาการนอน ไม่หลับ เช่น เบนโซไดอะซีปน เปนต้น    การบําบัดรักษา  นอกเหนือจากการรักษาฟนฟูทางร่างกาย ผู้ปวยไบโพลาร์ต้องเข้ารับการ บําบัดจากจิตแพทย์อย่างต่อเนืองด้วย ซึงประกอบไปด้วยการรับคําปรึกษา และการบําบัดทางจิต (Psychotherapy) การเข้าร่วมกลุ่มบําบัดกับผู้ปวยคน อืน ๆ และการศึกษาเกียวกับโรคความผิดปกติทางจิตและอารมณ์ทีตนเปนอยู่  เพือให้รับมืออาการต่าง ๆ ทีเกิดขึนได้ดียิงขึน    การปองกันโรคไบโพลาร์  แม้จะไม่มีวิธีทีแน่นอนในการปองกันโรคไบโพลาร์ แต่อาจปองกันปจจัยเสียง ต่าง ๆ หรือปองกันการเกิดอาการรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนอืน ๆ ได้ เช่น  ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ  รักษาสุขภาพจิตให้ดี หลีกเลียงการเผชิญความเครียดต่าง ๆ 
  • 6. 6 เข้ารับการรักษาอย่างสมาเสมอ และกินยาตามคําสังของแพทย์ เพือให้สภาวะ ทางอารมณ์คงที และปองกันการเกิดอารมณ์แปรปรวนทีควบคุมไม่ได้  ไม่หยุดการรักษา และไม่เลิกกินยากลางคันเพราะคิดว่าอาการดีขึนแล้ว  เนืองจากมีความเสียงสูงทีอาการจะกลับมา หรืออาการอาจกําเริบหนักกว่า เดิม  ระมัดระวังเรืองการใช้ยาชนิดอืน ๆ ทีอาจส่งผลกระทบต่อระดับสารเคมีใน สมองทีมีผลต่อการเปลียนแปลงของอารมณ์  สังเกตอาการทีเปนสัญญาณสําคัญของโรคหรืออาการแทรกซ้อนต่าง ๆ แล้ว รีบไปพบแพทย์เพือเข้ารับการรักษาอย่างเหมาะสมหากพบความผิดปกติ          วิธีดําเนินงาน   แนวทางการดําเนินงาน  ● คัดเลือกหัวข้อโครงงานทีสนใจจะทํา  ● ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล  ● จัดทําเค้าโครงของโครงงานทีจะทํา   ● ลงมือทําโครงงาน   ● เขียนรายงานและจัดทําคู่มือการใช้     เครืองมือและอุปกรณ์ทีใช้   ● อินเตอร์เน็ต   ● หนังสือทีเกียวข้อง   ● งานวิจัยทีเกียวข้อง    งบประมาณ -    ขันตอนและแผนดําเนินงาน    ลํา ดับ  ที  ขันตอน  สัปดาห์ที ผู้รับผิด ชอบ  1  2  3  4  5  6  7  8  9  1 0  1 1  1 2  1 3  1 4  1 5  1 6  17   1  คิดหัวข้อโครงงาน                                    2  ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล                                    3  จัดทําโครงร่างงาน                                   
  • 7. 7 4  ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน                                    5  ปรับปรุงทดสอบ                                    6  การทําเอกสาร รายงาน                                    7  ประเมินผลงาน                                    8  นําเสนอโครงงาน                                      ผลทีคาดว่าจะได้รับ ​(ผลลัพธ์ทีต้องการให้เกิดขึนเมือสินสุดการทําโครง งาน)  มีความรู้ ความเข้าใจพอทีจะนํามาเผยแพร่ต่อผู้อืน และมีแนวทางทีจะทําให้ ตนเองมีความผิดปกติ แล้วยังสามารถให้คําปรึกษาแก่ผู้ทีมีแนวโน้มทีจะเกิด โรคซึมเศร้าระดับไบโพลาร์  สถานทีดําเนินการ  ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ตึก 10 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า  ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200    กลุ่มสาระการเรียนรู้ทีเกียวข้อง  1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์   2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา   3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลย    แหล่งอ้างอิง ​(เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทีนํามาใช้การทําโครงงาน)  1. Anderson IM, Haddad PM, Scott J (Dec 27, 2012). "Bipolar  disorder". BMJ (Clinical Research Ed.). 345: e8508.   2. Goodwin, Guy M. (2012). "Bipolar disorder". Medicine. 40 (11):  596–598. doi:10.1016/j.mpmed.2012.08.011.  3. โรคอารมณ์สองขัว (https://med.mahidol.ac.th/rama...)