SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ว 30284 ชื่อวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี 4
ปีการศึกษา 2563
ชื่อโครงงาน ฮิสทีเรีย “โรคเรียกร้องความสนใจ” อันตรายกว่าที่คิด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวกมลลักษณ์ ปัญญามา เลขที่ 32 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวกมลลักษณ์ ปัญญามา เลขที่ 32
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ฮิสทีเรีย “โรคเรียกร้องความสนใจ”อันตรายกว่าที่คิด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Hysteria, "attention-seeking syndrome," is more dangerous than we thought.
ประเภทโครงงาน โครงการประเภทเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกมลลักษณ์ ปัญญามา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันโลกของเราได้เกิดโรคใหม่ๆเกิดขึ้น และบางโรคก็เกิดขึ้นกับคนใกล้ตัว คนในครอบครัว หรือคนที่
เรารู้จัก บางโรคอาจจะส่งผลต่อร่างกาย เช่นมะเร็ง เบาหวาน ความดัน แต่บางโรคอาจจะส่งผลต่อจิตใจของคน ซึ่ง
พบมากในสังคมของเรา ในทุกเดือนจะมีข่าวเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย การเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหล่านี้
ล้วนมากจากหลายๆปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของเขา โรคหนึ่งที่กาลังเป็นที่นิยมและเกิดขึ้นมากในปัจจุบัน ได้แก่
“โรคฮิสทีเรีย” โรคฮิสทีเรียเป็นเป็นโรคความผิดปกติทางบุคลิกภาพที่อาจแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือโรคประสาท
ฮิสทีเรียและบุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรีย (Histrionic Personality Disorder) โดยลักษณะแรกจะครอบคลุม
อาการผิดปกติทางระบบประสาทหลายอาการ เช่น ภาวะชาตามลาตัว ทาสิ่งต่าง ๆ โดยไม่รู้สึกตัว พูดไม่ได้ มองไม่
เห็น หรือสูญเสียความทรงจาอย่างกะทันหัน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่อาจหาสาเหตุทางกายได้ ส่วนผู้ที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ
แบบฮิสทีเรียนั้นมักมีอารมณ์อ่อนไหวสูง ปรวนแปรบ่อย ชอบแสดงออกเกินจริง แสดงพฤติกรรมแตกต่างจากผู้อื่นเพื่อ
ดึงดูดความสนใจ พฤติกรรมดังกล่าวทาให้คนมักเข้าใจผิดว่าผู้ป่วยโรคนี้มีความต้องการทางเพศสูง อย่างไรก็ตาม
บทความนี้จะเน้นให้ข้อมูลของโรคฮิสทีเรียแบบบุคลิกภาพผิดปกติ ซึ่งเป็นลักษณะที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคยกันมากกว่า
จากการที่เข้าใจผิดๆ กันมานานว่าฮิสทีเรียคือชื่อของอาการขาดผู้ชายไม่ได้ ส่วนหนึ่งเพราะการผลิตซ้าจาก
ละคร ทาให้ ใหม่ สุคนธวา ที่เคยรับบทคนเป็นฮิสทีเรียมาเช่นกัน เลือกมาเป็นหัวข้อศึกษาเขียนสารนิพนธ์เล่มจบ
ปริญญาโท หวังให้ประโยชน์ทางวิชาการที่รวบรวมมาเกือบ 2 ปี สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคฮิสทีเรีย
2.เพื่อหาวิธีรักษาและแก้ไขปัญหาโรคฮิสทีเรีย
3
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาเกี่ยวกับโรคฮิสทีเรียเท่านั้น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ฮิสทีเรีย (Hysteria) เป็นโรคความผิดปกติทางบุคลิกภาพที่อาจแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือโรคประสาท
ฮิสทีเรียและบุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรีย (Histrionic Personality Disorder) โดยลักษณะแรกจะครอบคลุม
อาการผิดปกติทางระบบประสาทหลายอาการ เช่น ภาวะชาตามลาตัว ทาสิ่งต่าง ๆ โดยไม่รู้สึกตัว พูดไม่ได้ มองไม่
เห็น หรือสูญเสียความทรงจาอย่างกะทันหัน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่อาจหาสาเหตุทางกายได้ ส่วนผู้ที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ
แบบฮิสทีเรียนั้นมักมีอารมณ์อ่อนไหวสูง ปรวนแปรบ่อย ชอบแสดงออกเกินจริง แสดงพฤติกรรมแตกต่างจากผู้อื่นเพื่อ
ดึงดูดความสนใจ พฤติกรรมดังกล่าวทาให้คนมักเข้าใจผิดว่าผู้ป่วยโรคนี้มีความต้องการทางเพศสูง อย่างไรก็ตาม
บทความนี้จะเน้นให้ข้อมูลของโรคฮิสทีเรียแบบบุคลิกภาพผิดปกติ ซึ่งเป็นลักษณะที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคยกันมากกว่า
บุคลิกภาพผิดปกติแบบฮีสทีเรีย เกิดจากอะไร
บุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรีย หรือ HPD จัดเป็นความผิดปกติทางจิตในกลุ่มความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
กลุ่มบี (Cluster B: Dramatic Personality Disorders) อาจเกิดจากการขาดความรักในช่วงที่เขาต้องการความรัก
อย่างมาก แต่กลับต้องพบเจอกับความผิดหวัง ทาให้ความรู้สึกผิดหวังนั้นฝังใจจนก่อให้เกิดความรู้สึกโหยหาความรัก
อยู่ตลอดเวลา แต่ผู้ป่วยฮิสทีเรียจะต้องการแค่ความรัก ความสนใจ ไม่ได้ต้องการความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง และไม่ได้คิดไป
ถึงการมีเพศสัมพันธ์เลยด้วย
นอกจากนี้ สาเหตุของฮิสทีเรียยังอาจเกิดจากพันธุกรรม หรือได้รับการอบรมสั่งสอนที่ไม่เหมาะสมในวัยเด็ก
เช่น ตอนเป็นเด็กไม่เคยได้รับการเอาใจใส่ หรือถูกสปอยล์มากเกินไป ทาผิดแล้วไม่เคยถูกลงโทษ รวมทั้งพ่อแม่บ้าน
ไหนมีอารมณ์แปรปรวน เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย หรือแยกกันอยู่ อาจทาให้ลูกมีปัญหา และก่อให้เกิดบุคลิกภาพผิดปกติแบบ
ฮิสทีเรียได้
อาการของฮิสทีเรีย
โรคบุคลิกภาพแบบฮิสทีเรียจัดเป็นความผิดปกติทางจิตในกลุ่มความผิดปกติทางบุคลิกภาพกลุ่มบี (Cluster
B: Dramatic Personality Disorders) คือมีอารมณ์รุนแรง แปรปรวนบ่อย และมองเห็นภาพลักษณ์ของตนเอง
บิดเบือนไป ทั้งนี้ ผู้ป่วยที่มีบุคลิกภาพแบบฮิสทีเรียส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตได้อย่างปกติ อีกทั้งยังเป็นคนเข้าสังคมเก่ง แต่
มักใช้ความสามารถนี้บงการผู้อื่น และเรียกร้องความสนใจเพื่อให้ตนเองเป็นจุดเด่น ซึ่งผู้ที่เข้าข่ายมีบุคลิกภาพแบบ
ฮิสทีเรียอาจมีอาการดังต่อไปนี้
1.ต้องการเป็นจุดสนใจ รู้สึกอึดอัดและทนไม่ได้ หากไม่ได้รับความสนใจ และไม่ค่อยแสดงความห่วงใยหรือ
นึกถึงความรู้สึกของผู้อื่น
2.อารมณ์แปรปรวน และไม่รู้จักควบคุมอารมณ์ ผู้ป่วยโรคนี้มักมีอารมณ์ไม่คงที่และแสดงความรู้สึกออกมา
ทันทีที่มีเรื่องกระทบจิตใจแม้เพียงเล็กน้อย เช่น ร้องไห้ทันทีเมื่อไม่สบายใจ รู้สึกโกรธมากกับเรื่องผิดพลาดเล็ก ๆ น้อย
ๆ เป็นต้น
3.การแสดงออกดูเหมือนยั่วยวน พยายามเข้าหาผู้อื่น โดยเฉพาะเพศตรงข้าม ด้วยพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
และใช้ลักษณะภายนอกของตนเองดึงดูดความสนใจจากผู้อื่น เช่น ชอบแต่งตัวยั่วยวนเพื่อให้ตนเองเป็นจุดสนใจ
4.แสดงอารมณ์ ลักษณะท่าทางและการพูดเกินจริง โดยอาจมีลักษณะท่าทางและการพูดเหมือนกาลังเล่น
ละคร
4
5.คล้อยตามสถานการณ์หรือถูกผู้อื่นโน้มน้าวได้ง่าย แสดงออกถึงความสนิทสนมกับผู้อื่นมากเกินจริง คิดไป
เองว่าสนิทสนมกับอีกฝ่าย ทั้งที่อีกฝ่ายอาจไม่ได้รู้สึกสนิทใจด้วย
6.รู้สึกเบื่อหรือหงุดหงิดง่าย เช่น เบื่อหน่ายกิจวัตรประจาวัน อดทนทาสิ่งต่าง ๆ ให้สาเร็จเป็นชิ้นเป็นอันไม่ได้
เป็นต้น
7.ด่วนตัดสินใจ ละเลยการไตร่ตรองเหตุผลอย่างรอบคอบ
8.ไม่อาจรักษาความสัมพันธ์ให้ยืนยาว มักแสดงพฤติกรรมที่ดูไม่จริงใจ หรือมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นเพียงผิว
เผิน
9.ขู่ว่าจะฆ่าตัวตายเพื่อเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น
สาเหตุของโรคฮีสทีเรีย
โรคบุคลิกภาพแบบฮิสทีเรียมักมีสาเหตุจากการขาดความรักอย่างมาก อาจเป็นปมฝังใจตั้งแต่วัยเด็ก หรือพบ
เจอเหตุการณ์ที่ทาให้ผิดหวังมาก นอกจากนี้อาจเกิดจากพันธุกรรม และการได้รับการสั่งสอนที่ไม่ถูกต้อง ตอนเด็กอาจ
ไม่ได้รับความรัก หรือไม่ได้รับความเอาใจใส่ที่มากพอ ผู้ป่วยโรคนี้จะมีอาการเพียงโหยหาแค่ความรัก และความสนใจ
แต่ไม่ได้ต้องการมีความสัมพันธ์ลึกซึ้งแต่อย่างใด
พบว่า บางครอบครัวที่มีประวัติผู้ที่มีอาการฮิสทีเรีย นั้นสามารถมีแนวโน้มว่าจะมีคนในครอบครัวเป็นฮิสทีเรีย
ได้อีก นี่อาจจะแสดงให้เห็นว่าพันธุกรรมนั้นมีผลต่อฮิสทีเรีย ในทางกลับกันเด็กที่มีอาการฮิสทีเรีย อาจแสดง
พฤติกรรมที่ได้รับการเลียนแบบพฤติกรรมจากผู้ปกครอง นอกจากนี้ยังเป็นไปได้ว่าการขาดวินัย หรือการเสริมแรง
พฤติกรรมเรียกร้องความสนใจในวัยเด็ก ทาให้เด็กอาจเรียนรู้พฤติกรรมนี้เพื่อให้ได้รับความสนใจจากผู้ปกครอง
อย่างไรก็ตามอาการฮิสทีเรียจะปรากฏในช่วงผู้ใหญ่ตอนต้นเป็นส่วนใหญ่
การวินิจฉัยฮิสทีเรีย
ผู้ป่วยโรคนี้มักทราบว่าตนเองมีบุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรียจากการไปพบแพทย์เพื่อรักษาอาการป่วยอื่น
ๆ เช่น โรคซึมเศร้า ซึ่งหากพบว่ามีสัญญาณของบุคลิกภาพที่ผิดปกติ แพทย์จะวินิจฉัยด้วยขั้นตอนต่อไปนี้
1.สอบถามประวัติทางการแพทย์ เช่น อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น รวมถึงสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกและ
บุคลิกภาพโดยรวม
2.ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การวินิจฉัยจากภาพถ่ายระบบประสาท (Neuroimaging)
หรือการตรวจเลือดเพื่อตัดสาเหตุอื่น ๆ ที่อาจก่อให้เกิดอาการลักษณะเดียวกันออกไป
3.พบจิตแพทย์ หากผลตรวจร่างกายและผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบความผิดปกติทางร่างกายใด ๆ
แพทย์จะส่งตัวผู้ป่วยไปให้จิตแพทย์เพื่อวินิจฉัยอาการผิดปกติทางจิต โดยใช้คาถามสาหรับวินิจฉัยอาการป่วยทางจิต
โดยเฉพาะ จากนั้นจึงเสนอแนวทางการรักษาที่เหมาะสมต่อไป
การรักษาโรคฮีสทีเรีย
สามารถทาได้ด้วยการบาบัดทางจิต หรือไปพบจิตแพทย์ เพื่อพูดคุยหาสาเหตุของการเกิดโรค ปรับความคิด
และพฤติกรรมเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แพทย์อาจใช้ยารักษาตาม
อาการควบคู่ไปกับการบาบัดทางจิตอีกด้วย
โรคฮิสทีเรีย เป็นโรคที่เกิดจากจิตใจของผู้ป่วย จึงต้องใช้เวลาในการรักษา ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้มักมีความเสี่ยง
ของการเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่าคนปกติ คนรอบข้างจึงควรเข้าใจ และให้เวลากับการดูแลผู้ป่วยโรคนี้อย่างจริงจัง
เพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติในอนาคต
รายละเอียดงานวิจัยเรื่อง/Title Name: การระบาดของโรคประสาทฮีสทีเรียในชั้นเรียน
5
ผู้วิจัย/Authors: สมภพ เรืองตระกูล
ชื่อเรื่อง/Title: การระบาดของโรคประสาทฮีสทีเรียในชั้นเรียน
แหล่งที่มา/Source: วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 4, ตุลาคม 2517, หน้า 243-263.
รายละเอียด / Details: สรุป ได้รายงานผู้ป่วยที่มีอาการระบาดของโรคประสาทฉีสทีเรียในชั้นเรียนของ
โรงเรียนสหศึกษาแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ผู้ป่วยเป็นเด็กนักเรียนหญิงทั้งหมด จานวน 4 คน อายุระหว่าง 14-17 ปี ต่อ
จานวนนักเรียนทั้งชั้น 43 คน (หญิง 17, ชาย 26). ผู้ป่วย 3 คนได้ส่งไปพบจิตแพทย์ และหนึ่งคนในจานวนนี้ได้รับการ
วินิจฉัย ว่าเป็นโรคประสาทอ่อนจากโรงพยาบาลโรคจิตแห่งหนึ่ง ผู้ป่วย 2 รายได้รับการตรวจอย่างละเอียดรวมทั้งการ
ทดสอบทางจิตวิทยา. ผู้ป่วยทั้ง 3 ราย มีประวัติมีอาการทางประสาทมาเป็นเวลา 2-5 ปี ก่อนจะมีอาการครั้งนี้. สภาพ
ของเศรษฐานะและความสัมพันธ์ในครอบครัวในผู้ป่วย 2 รายไม่ดี. ผู้ป่วยที่เริ่มไม่สบายเป็นคนแรกมีอาการของโรค
ประสาทเป็นๆ หายๆ มาตั้งแต่อายุ 11 ปี และสาเหตุกระตุ้นที่ทาให้เกิดอาการเป็นครั้งแรกคืออาการปวดท้องเรื้อรัง
อาการของผู้ป่วยที่บ่งว่าเป็น hysterical neurosis คือ fainting and falling spells, anxiety attacks,
hyperventilation symptoms, unconsciousness, confusion, disorientation, restlessness, scrreaming
and abnormal movements. อาการดังกล่าวในผู้ป่วยเราเมื่อเปรียบเทียบกับของผู้ป่วยที่มีอาการระบาดคล้ายกัน
ของต่างประเทศ ปรากฎว่าผู้ป่วยเรามีอาการมากกว่า และอาการของโรคบ่งว่าเป็น hysterical neurosis ชัดเจนกว่า.
อาการระบาดเกิดอยู่นานประมาณ 4 เดือน สาเหตุของการระบาดของโรคนี้ได้นามาวิจารณ์โดยละเอียด. การแยก
ผู้ป่วยออกจากกันทันทีที่เมื่อคนใดคนหนึ่งเป็น และการปิดข่าวไม่ให้ผู้ป่วยคนอื่นทราบ เป็๋นการป้องกันการระบาดที่
ถูกต้องและได้ผลดี.
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดหัวข้อที่สนใจ
2.นาเสนอหัวข้อต่อครูที่ปรึกษาโครงงาน
3.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อที่จัดทาผ่านอินเทอร์เน็ต
4.จัดทาเอกสารรายงาน
5.นาเสนอต่อครูที่ปรึกษาโครงงานอีกครั้ง
6.ปรับปรุงแก้ไขรายงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.สมาร์ทโฟน
3.IPad
งบประมาณ
-
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคฮิสทีเรีย
2.ได้หาวิธีรักษาและแก้ไขโรคฮิสทีเรีย
สถานที่ดาเนินการ
1.โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
2.บ้านแม่ริม อาเภอแม่สา ต.แม่ริม จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระสุขศึกษา
2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3.หลักการจิตวิทยา
แหล่งอ้างอิง
https://www.facebook.com/ArtandCultureThaiPBS/photos/a.317005454976351/1590010781009139/
?comment_id=1590129327663951
https://bupa.co.th/histeria-0290/
http://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/Hysteria_HPD
https://www.pobpad.com/%E0%B8%AE%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%
B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2
7

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวง
หนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวงหนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวง
หนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวง
npnayangklak
 
คลังคำศัพท์
คลังคำศัพท์คลังคำศัพท์
คลังคำศัพท์
Itt Bandhudhara
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
Washirasak Poosit
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
เล็ก น่ารัก
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
Eye E'mon Rattanasiha
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
1234 Payoon
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
อนุชิต ไชยชมพู
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
Piyanuch Plaon
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
lovegussen
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
Natchya Pengtham
 
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขThanapol Pacharapha
 

What's hot (20)

แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวง
หนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวงหนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวง
หนังสือเล่มเล็ก เรื่องฝนหลวง
 
คลังคำศัพท์
คลังคำศัพท์คลังคำศัพท์
คลังคำศัพท์
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
 
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
 
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
 

Similar to โครงงาน

W.1
W.1W.1
W.111
W.111W.111
W.1
W.1W.1
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
Suppamas
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ChanChann1
 
W.11
W.11W.11
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Mork Foggy
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
ssuser37a5ed
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat
Amornrat49882
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
ppchanoknan
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
achirayaRchi
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
SathapornTaboo
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
ssuser97d070
 
at1
at1at1
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya
ssusera60940
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนtassanee chaicharoen
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
KUMBELL
 

Similar to โครงงาน (20)

W.1
W.1W.1
W.1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya2562 final-project 20-areeya
2562 final-project 20-areeya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 

โครงงาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ว 30284 ชื่อวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี 4 ปีการศึกษา 2563 ชื่อโครงงาน ฮิสทีเรีย “โรคเรียกร้องความสนใจ” อันตรายกว่าที่คิด ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกมลลักษณ์ ปัญญามา เลขที่ 32 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวกมลลักษณ์ ปัญญามา เลขที่ 32 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ฮิสทีเรีย “โรคเรียกร้องความสนใจ”อันตรายกว่าที่คิด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Hysteria, "attention-seeking syndrome," is more dangerous than we thought. ประเภทโครงงาน โครงการประเภทเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกมลลักษณ์ ปัญญามา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันโลกของเราได้เกิดโรคใหม่ๆเกิดขึ้น และบางโรคก็เกิดขึ้นกับคนใกล้ตัว คนในครอบครัว หรือคนที่ เรารู้จัก บางโรคอาจจะส่งผลต่อร่างกาย เช่นมะเร็ง เบาหวาน ความดัน แต่บางโรคอาจจะส่งผลต่อจิตใจของคน ซึ่ง พบมากในสังคมของเรา ในทุกเดือนจะมีข่าวเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย การเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ ล้วนมากจากหลายๆปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของเขา โรคหนึ่งที่กาลังเป็นที่นิยมและเกิดขึ้นมากในปัจจุบัน ได้แก่ “โรคฮิสทีเรีย” โรคฮิสทีเรียเป็นเป็นโรคความผิดปกติทางบุคลิกภาพที่อาจแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือโรคประสาท ฮิสทีเรียและบุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรีย (Histrionic Personality Disorder) โดยลักษณะแรกจะครอบคลุม อาการผิดปกติทางระบบประสาทหลายอาการ เช่น ภาวะชาตามลาตัว ทาสิ่งต่าง ๆ โดยไม่รู้สึกตัว พูดไม่ได้ มองไม่ เห็น หรือสูญเสียความทรงจาอย่างกะทันหัน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่อาจหาสาเหตุทางกายได้ ส่วนผู้ที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ แบบฮิสทีเรียนั้นมักมีอารมณ์อ่อนไหวสูง ปรวนแปรบ่อย ชอบแสดงออกเกินจริง แสดงพฤติกรรมแตกต่างจากผู้อื่นเพื่อ ดึงดูดความสนใจ พฤติกรรมดังกล่าวทาให้คนมักเข้าใจผิดว่าผู้ป่วยโรคนี้มีความต้องการทางเพศสูง อย่างไรก็ตาม บทความนี้จะเน้นให้ข้อมูลของโรคฮิสทีเรียแบบบุคลิกภาพผิดปกติ ซึ่งเป็นลักษณะที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคยกันมากกว่า จากการที่เข้าใจผิดๆ กันมานานว่าฮิสทีเรียคือชื่อของอาการขาดผู้ชายไม่ได้ ส่วนหนึ่งเพราะการผลิตซ้าจาก ละคร ทาให้ ใหม่ สุคนธวา ที่เคยรับบทคนเป็นฮิสทีเรียมาเช่นกัน เลือกมาเป็นหัวข้อศึกษาเขียนสารนิพนธ์เล่มจบ ปริญญาโท หวังให้ประโยชน์ทางวิชาการที่รวบรวมมาเกือบ 2 ปี สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคฮิสทีเรีย 2.เพื่อหาวิธีรักษาและแก้ไขปัญหาโรคฮิสทีเรีย
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน ศึกษาเกี่ยวกับโรคฮิสทีเรียเท่านั้น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ฮิสทีเรีย (Hysteria) เป็นโรคความผิดปกติทางบุคลิกภาพที่อาจแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือโรคประสาท ฮิสทีเรียและบุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรีย (Histrionic Personality Disorder) โดยลักษณะแรกจะครอบคลุม อาการผิดปกติทางระบบประสาทหลายอาการ เช่น ภาวะชาตามลาตัว ทาสิ่งต่าง ๆ โดยไม่รู้สึกตัว พูดไม่ได้ มองไม่ เห็น หรือสูญเสียความทรงจาอย่างกะทันหัน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่อาจหาสาเหตุทางกายได้ ส่วนผู้ที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ แบบฮิสทีเรียนั้นมักมีอารมณ์อ่อนไหวสูง ปรวนแปรบ่อย ชอบแสดงออกเกินจริง แสดงพฤติกรรมแตกต่างจากผู้อื่นเพื่อ ดึงดูดความสนใจ พฤติกรรมดังกล่าวทาให้คนมักเข้าใจผิดว่าผู้ป่วยโรคนี้มีความต้องการทางเพศสูง อย่างไรก็ตาม บทความนี้จะเน้นให้ข้อมูลของโรคฮิสทีเรียแบบบุคลิกภาพผิดปกติ ซึ่งเป็นลักษณะที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคยกันมากกว่า บุคลิกภาพผิดปกติแบบฮีสทีเรีย เกิดจากอะไร บุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรีย หรือ HPD จัดเป็นความผิดปกติทางจิตในกลุ่มความผิดปกติทางบุคลิกภาพ กลุ่มบี (Cluster B: Dramatic Personality Disorders) อาจเกิดจากการขาดความรักในช่วงที่เขาต้องการความรัก อย่างมาก แต่กลับต้องพบเจอกับความผิดหวัง ทาให้ความรู้สึกผิดหวังนั้นฝังใจจนก่อให้เกิดความรู้สึกโหยหาความรัก อยู่ตลอดเวลา แต่ผู้ป่วยฮิสทีเรียจะต้องการแค่ความรัก ความสนใจ ไม่ได้ต้องการความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง และไม่ได้คิดไป ถึงการมีเพศสัมพันธ์เลยด้วย นอกจากนี้ สาเหตุของฮิสทีเรียยังอาจเกิดจากพันธุกรรม หรือได้รับการอบรมสั่งสอนที่ไม่เหมาะสมในวัยเด็ก เช่น ตอนเป็นเด็กไม่เคยได้รับการเอาใจใส่ หรือถูกสปอยล์มากเกินไป ทาผิดแล้วไม่เคยถูกลงโทษ รวมทั้งพ่อแม่บ้าน ไหนมีอารมณ์แปรปรวน เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย หรือแยกกันอยู่ อาจทาให้ลูกมีปัญหา และก่อให้เกิดบุคลิกภาพผิดปกติแบบ ฮิสทีเรียได้ อาการของฮิสทีเรีย โรคบุคลิกภาพแบบฮิสทีเรียจัดเป็นความผิดปกติทางจิตในกลุ่มความผิดปกติทางบุคลิกภาพกลุ่มบี (Cluster B: Dramatic Personality Disorders) คือมีอารมณ์รุนแรง แปรปรวนบ่อย และมองเห็นภาพลักษณ์ของตนเอง บิดเบือนไป ทั้งนี้ ผู้ป่วยที่มีบุคลิกภาพแบบฮิสทีเรียส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตได้อย่างปกติ อีกทั้งยังเป็นคนเข้าสังคมเก่ง แต่ มักใช้ความสามารถนี้บงการผู้อื่น และเรียกร้องความสนใจเพื่อให้ตนเองเป็นจุดเด่น ซึ่งผู้ที่เข้าข่ายมีบุคลิกภาพแบบ ฮิสทีเรียอาจมีอาการดังต่อไปนี้ 1.ต้องการเป็นจุดสนใจ รู้สึกอึดอัดและทนไม่ได้ หากไม่ได้รับความสนใจ และไม่ค่อยแสดงความห่วงใยหรือ นึกถึงความรู้สึกของผู้อื่น 2.อารมณ์แปรปรวน และไม่รู้จักควบคุมอารมณ์ ผู้ป่วยโรคนี้มักมีอารมณ์ไม่คงที่และแสดงความรู้สึกออกมา ทันทีที่มีเรื่องกระทบจิตใจแม้เพียงเล็กน้อย เช่น ร้องไห้ทันทีเมื่อไม่สบายใจ รู้สึกโกรธมากกับเรื่องผิดพลาดเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นต้น 3.การแสดงออกดูเหมือนยั่วยวน พยายามเข้าหาผู้อื่น โดยเฉพาะเพศตรงข้าม ด้วยพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และใช้ลักษณะภายนอกของตนเองดึงดูดความสนใจจากผู้อื่น เช่น ชอบแต่งตัวยั่วยวนเพื่อให้ตนเองเป็นจุดสนใจ 4.แสดงอารมณ์ ลักษณะท่าทางและการพูดเกินจริง โดยอาจมีลักษณะท่าทางและการพูดเหมือนกาลังเล่น ละคร
  • 4. 4 5.คล้อยตามสถานการณ์หรือถูกผู้อื่นโน้มน้าวได้ง่าย แสดงออกถึงความสนิทสนมกับผู้อื่นมากเกินจริง คิดไป เองว่าสนิทสนมกับอีกฝ่าย ทั้งที่อีกฝ่ายอาจไม่ได้รู้สึกสนิทใจด้วย 6.รู้สึกเบื่อหรือหงุดหงิดง่าย เช่น เบื่อหน่ายกิจวัตรประจาวัน อดทนทาสิ่งต่าง ๆ ให้สาเร็จเป็นชิ้นเป็นอันไม่ได้ เป็นต้น 7.ด่วนตัดสินใจ ละเลยการไตร่ตรองเหตุผลอย่างรอบคอบ 8.ไม่อาจรักษาความสัมพันธ์ให้ยืนยาว มักแสดงพฤติกรรมที่ดูไม่จริงใจ หรือมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นเพียงผิว เผิน 9.ขู่ว่าจะฆ่าตัวตายเพื่อเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น สาเหตุของโรคฮีสทีเรีย โรคบุคลิกภาพแบบฮิสทีเรียมักมีสาเหตุจากการขาดความรักอย่างมาก อาจเป็นปมฝังใจตั้งแต่วัยเด็ก หรือพบ เจอเหตุการณ์ที่ทาให้ผิดหวังมาก นอกจากนี้อาจเกิดจากพันธุกรรม และการได้รับการสั่งสอนที่ไม่ถูกต้อง ตอนเด็กอาจ ไม่ได้รับความรัก หรือไม่ได้รับความเอาใจใส่ที่มากพอ ผู้ป่วยโรคนี้จะมีอาการเพียงโหยหาแค่ความรัก และความสนใจ แต่ไม่ได้ต้องการมีความสัมพันธ์ลึกซึ้งแต่อย่างใด พบว่า บางครอบครัวที่มีประวัติผู้ที่มีอาการฮิสทีเรีย นั้นสามารถมีแนวโน้มว่าจะมีคนในครอบครัวเป็นฮิสทีเรีย ได้อีก นี่อาจจะแสดงให้เห็นว่าพันธุกรรมนั้นมีผลต่อฮิสทีเรีย ในทางกลับกันเด็กที่มีอาการฮิสทีเรีย อาจแสดง พฤติกรรมที่ได้รับการเลียนแบบพฤติกรรมจากผู้ปกครอง นอกจากนี้ยังเป็นไปได้ว่าการขาดวินัย หรือการเสริมแรง พฤติกรรมเรียกร้องความสนใจในวัยเด็ก ทาให้เด็กอาจเรียนรู้พฤติกรรมนี้เพื่อให้ได้รับความสนใจจากผู้ปกครอง อย่างไรก็ตามอาการฮิสทีเรียจะปรากฏในช่วงผู้ใหญ่ตอนต้นเป็นส่วนใหญ่ การวินิจฉัยฮิสทีเรีย ผู้ป่วยโรคนี้มักทราบว่าตนเองมีบุคลิกภาพผิดปกติแบบฮิสทีเรียจากการไปพบแพทย์เพื่อรักษาอาการป่วยอื่น ๆ เช่น โรคซึมเศร้า ซึ่งหากพบว่ามีสัญญาณของบุคลิกภาพที่ผิดปกติ แพทย์จะวินิจฉัยด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ 1.สอบถามประวัติทางการแพทย์ เช่น อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น รวมถึงสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกและ บุคลิกภาพโดยรวม 2.ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การวินิจฉัยจากภาพถ่ายระบบประสาท (Neuroimaging) หรือการตรวจเลือดเพื่อตัดสาเหตุอื่น ๆ ที่อาจก่อให้เกิดอาการลักษณะเดียวกันออกไป 3.พบจิตแพทย์ หากผลตรวจร่างกายและผลตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบความผิดปกติทางร่างกายใด ๆ แพทย์จะส่งตัวผู้ป่วยไปให้จิตแพทย์เพื่อวินิจฉัยอาการผิดปกติทางจิต โดยใช้คาถามสาหรับวินิจฉัยอาการป่วยทางจิต โดยเฉพาะ จากนั้นจึงเสนอแนวทางการรักษาที่เหมาะสมต่อไป การรักษาโรคฮีสทีเรีย สามารถทาได้ด้วยการบาบัดทางจิต หรือไปพบจิตแพทย์ เพื่อพูดคุยหาสาเหตุของการเกิดโรค ปรับความคิด และพฤติกรรมเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แพทย์อาจใช้ยารักษาตาม อาการควบคู่ไปกับการบาบัดทางจิตอีกด้วย โรคฮิสทีเรีย เป็นโรคที่เกิดจากจิตใจของผู้ป่วย จึงต้องใช้เวลาในการรักษา ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้มักมีความเสี่ยง ของการเกิดภาวะซึมเศร้ามากกว่าคนปกติ คนรอบข้างจึงควรเข้าใจ และให้เวลากับการดูแลผู้ป่วยโรคนี้อย่างจริงจัง เพื่อให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติในอนาคต รายละเอียดงานวิจัยเรื่อง/Title Name: การระบาดของโรคประสาทฮีสทีเรียในชั้นเรียน
  • 5. 5 ผู้วิจัย/Authors: สมภพ เรืองตระกูล ชื่อเรื่อง/Title: การระบาดของโรคประสาทฮีสทีเรียในชั้นเรียน แหล่งที่มา/Source: วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ปีที่ 19 ฉบับที่ 4, ตุลาคม 2517, หน้า 243-263. รายละเอียด / Details: สรุป ได้รายงานผู้ป่วยที่มีอาการระบาดของโรคประสาทฉีสทีเรียในชั้นเรียนของ โรงเรียนสหศึกษาแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ผู้ป่วยเป็นเด็กนักเรียนหญิงทั้งหมด จานวน 4 คน อายุระหว่าง 14-17 ปี ต่อ จานวนนักเรียนทั้งชั้น 43 คน (หญิง 17, ชาย 26). ผู้ป่วย 3 คนได้ส่งไปพบจิตแพทย์ และหนึ่งคนในจานวนนี้ได้รับการ วินิจฉัย ว่าเป็นโรคประสาทอ่อนจากโรงพยาบาลโรคจิตแห่งหนึ่ง ผู้ป่วย 2 รายได้รับการตรวจอย่างละเอียดรวมทั้งการ ทดสอบทางจิตวิทยา. ผู้ป่วยทั้ง 3 ราย มีประวัติมีอาการทางประสาทมาเป็นเวลา 2-5 ปี ก่อนจะมีอาการครั้งนี้. สภาพ ของเศรษฐานะและความสัมพันธ์ในครอบครัวในผู้ป่วย 2 รายไม่ดี. ผู้ป่วยที่เริ่มไม่สบายเป็นคนแรกมีอาการของโรค ประสาทเป็นๆ หายๆ มาตั้งแต่อายุ 11 ปี และสาเหตุกระตุ้นที่ทาให้เกิดอาการเป็นครั้งแรกคืออาการปวดท้องเรื้อรัง อาการของผู้ป่วยที่บ่งว่าเป็น hysterical neurosis คือ fainting and falling spells, anxiety attacks, hyperventilation symptoms, unconsciousness, confusion, disorientation, restlessness, scrreaming and abnormal movements. อาการดังกล่าวในผู้ป่วยเราเมื่อเปรียบเทียบกับของผู้ป่วยที่มีอาการระบาดคล้ายกัน ของต่างประเทศ ปรากฎว่าผู้ป่วยเรามีอาการมากกว่า และอาการของโรคบ่งว่าเป็น hysterical neurosis ชัดเจนกว่า. อาการระบาดเกิดอยู่นานประมาณ 4 เดือน สาเหตุของการระบาดของโรคนี้ได้นามาวิจารณ์โดยละเอียด. การแยก ผู้ป่วยออกจากกันทันทีที่เมื่อคนใดคนหนึ่งเป็น และการปิดข่าวไม่ให้ผู้ป่วยคนอื่นทราบ เป็๋นการป้องกันการระบาดที่ ถูกต้องและได้ผลดี. วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดหัวข้อที่สนใจ 2.นาเสนอหัวข้อต่อครูที่ปรึกษาโครงงาน 3.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อที่จัดทาผ่านอินเทอร์เน็ต 4.จัดทาเอกสารรายงาน 5.นาเสนอต่อครูที่ปรึกษาโครงงานอีกครั้ง 6.ปรับปรุงแก้ไขรายงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.สมาร์ทโฟน 3.IPad งบประมาณ -
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคฮิสทีเรีย 2.ได้หาวิธีรักษาและแก้ไขโรคฮิสทีเรีย สถานที่ดาเนินการ 1.โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ 2.บ้านแม่ริม อาเภอแม่สา ต.แม่ริม จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระสุขศึกษา 2.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3.หลักการจิตวิทยา แหล่งอ้างอิง https://www.facebook.com/ArtandCultureThaiPBS/photos/a.317005454976351/1590010781009139/ ?comment_id=1590129327663951 https://bupa.co.th/histeria-0290/ http://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/Hysteria_HPD https://www.pobpad.com/%E0%B8%AE%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0% B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2
  • 7. 7