SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
โครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน วิธีการดูว่าคุณเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.พิชญนันท์ จันทรศานติ เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
น.ส.พิชญนันท์ จันทรศานติ ม.6/4 เลขที่ 15
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
วิธีการดูว่าคุณเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How to know if you are depressed
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.พิชญนันท์ จันทรศานติ ม.6/4 เลขที่ 15
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 และ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบัน มีคนเป็นโรคซึมเศร้าจานวนมาก ทั้งเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ต่างมีปัญหาทั้งหลายปัจจัย ทั้ง
สภาพแวดล้อม อดีตที่ฝังใจ ใช้ชีวิตอย่างไม่มีความสุข ความไม่ลงตัวกับคนใกล้ชิด ทั้งหมดนี้ต่างเป็น สาเหตุที่
ก่อให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ และโรคซึมเศร้ายังนาไปสู่ปัญหาการฆ่าตัวตายอีกด้วย การที่เป็นโรคซึมเศร้านั้น ต้องอยู่ใน
การดูแลของแพทย์ด้วย โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่พบ บ่อยมาก ผู้ป่วยจะสูญเสียโอกาสทั้งในด้านการศึกษาและ
อาชีพการทางานในขณะที่ป่วย อีกทั้งยังเป็น ความเจ็บป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูงถึง 15-18% ซึ่งไม่
เพียงแต่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเท่านั้นที่รู้สึก ทุกข์ทรมาน คนในครอบครัวก็ต้องพลอยได้รับความทุกข์นั้นไปด้วย โรค
ซึมเศร้าเป็นความเจ็บป่วยที่ เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความคิด และทุกๆส่วนของร่างกาย โดยมีผลต่อการนอนหลับ การ
รับประทาน อาหาร ตลอดจนความรู้สึกที่มีต่อตนเองและสิ่งต่างๆรอบตัว ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาการของโรคอาจอยู่
ได้นานเป็นสัปดาห์ เป็นเดือนหรือเป็นปี การรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมจะสามารถช่วยเหลือและกาจัด อาการของ
โรคได้ รวมทั้งป้องกันภาวะแทรกซ้อนอื่นๆที่จะเกิดขึ้นได้ ผู้คนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เกี่ยวกับ โรคซึมเศร้า ปัญหา
เหล่านี้สามารถแก้ไขได้หากเราทาความเข้าใจและศึกษาอย่างถี่ถ้วน ดังนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงเลือกเรื่องโรคซึมเศร้ามา
ทาโครงงานนี้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้จัดทาโครงงานและผู้ที่สนใจจะศึกษา
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อทราบสาเหตุของโรคซึมเศร้า
2.เพื่อเป็นการเช็คว่าคุณเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่
3.เพื่อทราบการดูแลรักษาเบื้องต้น
4.เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้าลงในเว็บไซต์
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า สาเหตุของการเกิดโรคซึมเศร้า อาการของโรคซึมเศร้า และผลเสียที่ร้ายแรง
เรามีแนวทางการรักษาอย่างไรและมีประเมินว่าคุณเสี่ยงที่จะเป็นผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหรือไม่ เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นโรค
ซึมเศร้ากลับมามีชีวิตที่สดใสเหมือนกับคนปกติ เพื่อเป็นการลดปัญหาสาเหตุการฆ่าตัวตายที่เกิดจากโรคซึมเศร้า
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางอารมณ์ที่พบบ่อย จากสถิติทั่วโลกพบว่ามีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าประมาณ 350 ล้านคน
มีความชุกราว 2-10 เปอร์เซ็นต์ และเป็นในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ส่วนในไทยมีจานวนผู้ป่วยซึมเศร้าเพศหญิง
เป็นอันดับที่ 3 และเพศชายเป็นอันดับที่ 8 ทั้งนี้ในปี 2557 กรมสุขภาพจิตของไทยได้คัดกรองกลุ่มเสี่ยงจานวน 12
ล้านคน ในจานวนนี้มีแนวโน้มป่วยโรคซึมเศร้า 6 ล้านคน ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่าเป็นโรคซึมเศร้า 5 แสนคน มี
แนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย 6 แสนคน และคาดว่าคนไทยน่าจะมีภาวะซึมเศร้าถึงประมาณ 1.2 ล้านคน
โรคซึมเศร้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง และโรคซึมเศร้าเรื้อรัง ในที่นี้จะ
กล่าวถึงชนิดเรื้อรังเพียงโดยสังเขปด้านล่าง ส่วนบทความทั้งหมดจะเน้นไปที่โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรงเท่านั้น
โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major Depression) เป็นอาการซึมเศร้าอย่างที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตการทางานหรือการเรียน
รวมไปถึงการนอนหลับและการกินอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอย่างรุนแรง โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Persistent Depressive
Disorder) แม้จะมีอาการและความรุนแรงของอาการน้อยกว่า แต่ภาวะซึมเศร้าชนิดนี้จะคงอยู่กับผู้ป่วยยาวนานกว่า
มาก เป็นเวลาอย่างน้อยตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรังก็อาจมีบางช่วงเวลาที่ต้องเผชิญภาวะ
ซึมเศร้าชนิดรุนแรงร่วมด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์เลวร้ายที่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึก เช่น
การสูญเสีย ความผิดหวังหรือการหย่าร้าง การเป็นโรคนี้ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ
ล้มเหลวหรือไม่มีความสามารถ เพราะมีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยันว่าโรคซึมเศร้ามีสาเหตุส่วนหนึ่งจาก
การทางานของระบบสมองที่ผิดปกติ ในปัจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทาง
จิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิดผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางานและความสัมพันธ์
กับคนรอบข้าง นาไปสู่ภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงมากขึ้น เราสามารถรู้ได้ว่าใครเป็นโรคซึมเศร้าโดยดูจากพฤติกรรมที่
เปลี่ยนไป เช่น ด้านอารมณ์ เศร้าหมอง เบื่อหน่าย หดหู่ ขาดความสนุกสนาน ขาดความสนใจ และขาดอารมณ์
ตอบสนองต่อเหตุการณ์สนุกสนาน หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล ด้านความคิด ไม่มีสมาธิ และความจาลดลง มองโลกใน
แง่ร้าย คิดวนเวียนอยู่กับเรืองต่างๆ สิ้นหวังและโดดเดี่ยว สูญเสียความมั่นใจในตัวเอง มีความคิดที่จะทาร้ายตัวเอง
ด้านกายภาพ เคลื่อนไหวช้า สีหน้าเศร้าหมองโต้ตอบช้า สะเทือนใจง่าย นอนไม่ค่อยหลับ ตื่นบ่อยหรือตื่นเช้ากว่า
ปกติ ความอยากอาหารลดลง น้าหนักตัวลดลง รู้สึกเหนื่อยง่ายแม้จะใช้แรงเพียงเล็กน้อย
สาหรับคนส่วนใหญ่แล้วคาว่าโรคซึมเศร้าฟังดูไม่คุ้นหู ถ้าพูดถึงเรื่องซึมเศร้าเรามักจะนึกกันว่าเป็นเรื่องของ
อารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากความผิดหวัง หรือการสูญเสียมากกว่าที่จะเป็นโรค ซึ่งตามจริงแล้ว ที่เราพบกันใน
ชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกธรรมดาๆ ที่มีกันในชีวิตประจาวัน มากบ้างน้อยบ้าง
อย่างไรก็ตามในบางครั้ง ถ้าอารมณ์เศร้าที่เกิดขึ้นนั้นเป็นอยู่นานโดยไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้น หรือเป็นรุนแรง มีอาการต่างๆ
ติดตามมา เช่น นอนหลับๆ ตื่นๆ เบื่ออาหาร น้าหนักลดลงมาก หมดความสนใจต่อโลกภายนอก ไม่คิดอยากมีชีวิตอยู่
อีกต่อไป ก็อาจจะเข้าข่ายของโรคซึมเศร้าแล้ว คาว่า “โรค” บ่งว่าเป็นความผิดปกติทางการแพทย์ ซึ่งจาเป็นต้องได้รับ
การดูแลรักษาเพื่อให้อาการทุเลา ต่างจากภาวะอารมณ์เศร้าตามปกติธรรมดาที่ถ้าเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัวคลี่คลายลง
หรือมีคนเข้าใจเห็นใจ อารมณ์เศร้านี้ก็อาจหายได้ ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้านอกจากมีอารมณ์ซึมเศร้าร่วมกับอาการ
ต่างๆ แล้ว การทางานหรือการประกอบกิจวัตรประจาวันก็แย่ลงด้วย คนที่เป็นแม่บ้านก็ทางานบ้านน้อยลงหรือมีงาน
บ้านคั่งค้าง คนที่ทางานนอกบ้านก็อาจขาดงานบ่อยๆ จนถูกเพ่งเล็ง เรียกว่าตัวโรคทาให้การประกอบกิจวัตร
ประจาวันต่างๆ บกพร่องลง หากจะเปรียบกับโรคทางร่างกายก็คงคล้ายๆ กัน เช่น ในโรคหัวใจ ผู้ที่เป็นก็จะมีอาการ
4
ต่างๆ ร่วมกับการทาอะไรต่างๆ ได้น้อยหรือไม่ดีเท่าเดิม ดังนั้น การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นเป็นคน
อ่อนแอ คิดมาก หรือเป็นคนไม่สู้ปัญหา เอาแต่ท้อแท้ ซึมเซา แต่ที่เขาเป็นนั้นเป็นเพราะตัวโรค กล่าวได้ว่าถ้าได้รับการ
รักษาที่ถูกต้องเหมาะสม โรคก็จะทุเลาลง เขาก็จะกลับมาเป็นผู้ทีจิตใจแจ่มใส พร้อมจะทากิจวัตรต่างๆ ดังเดิม
ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมค่อนข้างมาก การเปลี่ยนแปลงหลักๆ จะเป็นในด้านอารมณ์
ความรู้สึกนึกคิด พฤติกรรม ร่วมกับอาการทางร่างกายต่างๆ
ศาสตราจารย์นายแพทย์มาโนช หล่อตระกูล
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อโครงการ คือ โรคซึมเศร้า
2.วางแผนการดาเนินงาน โดยศึกษาค้นคว้าข้อมูล
3.ทาแบบโครงงาน
4.นาเสนอโครงงาน
5.ประเมินผล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตในเรื่อง อาการของโรคซึมเศร้า สาเหตุ ของโรค
ซึมเศร้า การดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเบื้องต้น และ ผลกระทบโรคซึมเศร้า ตลอดจนการจัดทาโครงงานและนาเสนอ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ทราบถึงอาการของโรคซึมเศร้า สาเหตุของโรคซึมเศร้า วิธีการดูแลผู้ป่วย เบื้องต้น รวมทั้งทราบผลการประเมินและ
กระทบของโรคซึมเศร้า
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ กลุ่มสาระการเรียนสุขศึกษา
5
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1.ประชาสัมพันธ์กรมสุขภาพจิต http://www.prdmh.com
2.ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
3.ทีมแพทย์ HONESTDOCS https://www.honestdocs.com

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4sinekkn
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)ssuser37a5ed
 

What's hot (15)

W.111
W.111W.111
W.111
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4
 
Book club 2
Book club 2Book club 2
Book club 2
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 

Similar to Comm 1-final

2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanokpimchanokSirichaisop
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1mewsanit
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 

Similar to Comm 1-final (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

More from RungtiwaWongchai

More from RungtiwaWongchai (18)

presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
presentation 2
presentation 2presentation 2
presentation 2
 
education presentation
education presentationeducation presentation
education presentation
 
3
33
3
 
กิจกรรมที่2 โครงงาน
กิจกรรมที่2 โครงงานกิจกรรมที่2 โครงงาน
กิจกรรมที่2 โครงงาน
 
Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1
 
Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1Power pointhub hand-painted-1-1
Power pointhub hand-painted-1-1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Computerfainal
ComputerfainalComputerfainal
Computerfainal
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
Work.1
Work.1Work.1
Work.1
 
2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally2562 final-project 02-rungtiwa-finally
2562 final-project 02-rungtiwa-finally
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project -1 finally
2562 final-project -1 finally2562 final-project -1 finally
2562 final-project -1 finally
 
Work.1
Work.1Work.1
Work.1
 
Final project 604-37
Final project 604-37Final project 604-37
Final project 604-37
 
2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa2562 final-project 02-rungtiwa
2562 final-project 02-rungtiwa
 

Comm 1-final

  • 1. 1 โครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน วิธีการดูว่าคุณเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.พิชญนันท์ จันทรศานติ เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม น.ส.พิชญนันท์ จันทรศานติ ม.6/4 เลขที่ 15 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วิธีการดูว่าคุณเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How to know if you are depressed ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education media) ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.พิชญนันท์ จันทรศานติ ม.6/4 เลขที่ 15 ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 และ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบัน มีคนเป็นโรคซึมเศร้าจานวนมาก ทั้งเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ต่างมีปัญหาทั้งหลายปัจจัย ทั้ง สภาพแวดล้อม อดีตที่ฝังใจ ใช้ชีวิตอย่างไม่มีความสุข ความไม่ลงตัวกับคนใกล้ชิด ทั้งหมดนี้ต่างเป็น สาเหตุที่ ก่อให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ และโรคซึมเศร้ายังนาไปสู่ปัญหาการฆ่าตัวตายอีกด้วย การที่เป็นโรคซึมเศร้านั้น ต้องอยู่ใน การดูแลของแพทย์ด้วย โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางจิตเวชที่พบ บ่อยมาก ผู้ป่วยจะสูญเสียโอกาสทั้งในด้านการศึกษาและ อาชีพการทางานในขณะที่ป่วย อีกทั้งยังเป็น ความเจ็บป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูงถึง 15-18% ซึ่งไม่ เพียงแต่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเท่านั้นที่รู้สึก ทุกข์ทรมาน คนในครอบครัวก็ต้องพลอยได้รับความทุกข์นั้นไปด้วย โรค ซึมเศร้าเป็นความเจ็บป่วยที่ เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความคิด และทุกๆส่วนของร่างกาย โดยมีผลต่อการนอนหลับ การ รับประทาน อาหาร ตลอดจนความรู้สึกที่มีต่อตนเองและสิ่งต่างๆรอบตัว ถ้าไม่ได้รับการรักษาอาการของโรคอาจอยู่ ได้นานเป็นสัปดาห์ เป็นเดือนหรือเป็นปี การรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมจะสามารถช่วยเหลือและกาจัด อาการของ โรคได้ รวมทั้งป้องกันภาวะแทรกซ้อนอื่นๆที่จะเกิดขึ้นได้ ผู้คนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เกี่ยวกับ โรคซึมเศร้า ปัญหา เหล่านี้สามารถแก้ไขได้หากเราทาความเข้าใจและศึกษาอย่างถี่ถ้วน ดังนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงเลือกเรื่องโรคซึมเศร้ามา ทาโครงงานนี้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้จัดทาโครงงานและผู้ที่สนใจจะศึกษา วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อทราบสาเหตุของโรคซึมเศร้า 2.เพื่อเป็นการเช็คว่าคุณเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ 3.เพื่อทราบการดูแลรักษาเบื้องต้น 4.เพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้าลงในเว็บไซต์
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า สาเหตุของการเกิดโรคซึมเศร้า อาการของโรคซึมเศร้า และผลเสียที่ร้ายแรง เรามีแนวทางการรักษาอย่างไรและมีประเมินว่าคุณเสี่ยงที่จะเป็นผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหรือไม่ เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นโรค ซึมเศร้ากลับมามีชีวิตที่สดใสเหมือนกับคนปกติ เพื่อเป็นการลดปัญหาสาเหตุการฆ่าตัวตายที่เกิดจากโรคซึมเศร้า หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางอารมณ์ที่พบบ่อย จากสถิติทั่วโลกพบว่ามีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าประมาณ 350 ล้านคน มีความชุกราว 2-10 เปอร์เซ็นต์ และเป็นในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ส่วนในไทยมีจานวนผู้ป่วยซึมเศร้าเพศหญิง เป็นอันดับที่ 3 และเพศชายเป็นอันดับที่ 8 ทั้งนี้ในปี 2557 กรมสุขภาพจิตของไทยได้คัดกรองกลุ่มเสี่ยงจานวน 12 ล้านคน ในจานวนนี้มีแนวโน้มป่วยโรคซึมเศร้า 6 ล้านคน ได้รับการวินิจฉัยแล้วว่าเป็นโรคซึมเศร้า 5 แสนคน มี แนวโน้มที่จะฆ่าตัวตาย 6 แสนคน และคาดว่าคนไทยน่าจะมีภาวะซึมเศร้าถึงประมาณ 1.2 ล้านคน โรคซึมเศร้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง และโรคซึมเศร้าเรื้อรัง ในที่นี้จะ กล่าวถึงชนิดเรื้อรังเพียงโดยสังเขปด้านล่าง ส่วนบทความทั้งหมดจะเน้นไปที่โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรงเท่านั้น โรคซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major Depression) เป็นอาการซึมเศร้าอย่างที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตการทางานหรือการเรียน รวมไปถึงการนอนหลับและการกินอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอย่างรุนแรง โรคซึมเศร้าเรื้อรัง (Persistent Depressive Disorder) แม้จะมีอาการและความรุนแรงของอาการน้อยกว่า แต่ภาวะซึมเศร้าชนิดนี้จะคงอยู่กับผู้ป่วยยาวนานกว่า มาก เป็นเวลาอย่างน้อยตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ซึ่งผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเรื้อรังก็อาจมีบางช่วงเวลาที่ต้องเผชิญภาวะ ซึมเศร้าชนิดรุนแรงร่วมด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์เลวร้ายที่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึก เช่น การสูญเสีย ความผิดหวังหรือการหย่าร้าง การเป็นโรคนี้ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลวหรือไม่มีความสามารถ เพราะมีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยันว่าโรคซึมเศร้ามีสาเหตุส่วนหนึ่งจาก การทางานของระบบสมองที่ผิดปกติ ในปัจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทาง จิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิดผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางานและความสัมพันธ์ กับคนรอบข้าง นาไปสู่ภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงมากขึ้น เราสามารถรู้ได้ว่าใครเป็นโรคซึมเศร้าโดยดูจากพฤติกรรมที่ เปลี่ยนไป เช่น ด้านอารมณ์ เศร้าหมอง เบื่อหน่าย หดหู่ ขาดความสนุกสนาน ขาดความสนใจ และขาดอารมณ์ ตอบสนองต่อเหตุการณ์สนุกสนาน หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล ด้านความคิด ไม่มีสมาธิ และความจาลดลง มองโลกใน แง่ร้าย คิดวนเวียนอยู่กับเรืองต่างๆ สิ้นหวังและโดดเดี่ยว สูญเสียความมั่นใจในตัวเอง มีความคิดที่จะทาร้ายตัวเอง ด้านกายภาพ เคลื่อนไหวช้า สีหน้าเศร้าหมองโต้ตอบช้า สะเทือนใจง่าย นอนไม่ค่อยหลับ ตื่นบ่อยหรือตื่นเช้ากว่า ปกติ ความอยากอาหารลดลง น้าหนักตัวลดลง รู้สึกเหนื่อยง่ายแม้จะใช้แรงเพียงเล็กน้อย สาหรับคนส่วนใหญ่แล้วคาว่าโรคซึมเศร้าฟังดูไม่คุ้นหู ถ้าพูดถึงเรื่องซึมเศร้าเรามักจะนึกกันว่าเป็นเรื่องของ อารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากความผิดหวัง หรือการสูญเสียมากกว่าที่จะเป็นโรค ซึ่งตามจริงแล้ว ที่เราพบกันใน ชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกธรรมดาๆ ที่มีกันในชีวิตประจาวัน มากบ้างน้อยบ้าง อย่างไรก็ตามในบางครั้ง ถ้าอารมณ์เศร้าที่เกิดขึ้นนั้นเป็นอยู่นานโดยไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้น หรือเป็นรุนแรง มีอาการต่างๆ ติดตามมา เช่น นอนหลับๆ ตื่นๆ เบื่ออาหาร น้าหนักลดลงมาก หมดความสนใจต่อโลกภายนอก ไม่คิดอยากมีชีวิตอยู่ อีกต่อไป ก็อาจจะเข้าข่ายของโรคซึมเศร้าแล้ว คาว่า “โรค” บ่งว่าเป็นความผิดปกติทางการแพทย์ ซึ่งจาเป็นต้องได้รับ การดูแลรักษาเพื่อให้อาการทุเลา ต่างจากภาวะอารมณ์เศร้าตามปกติธรรมดาที่ถ้าเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัวคลี่คลายลง หรือมีคนเข้าใจเห็นใจ อารมณ์เศร้านี้ก็อาจหายได้ ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้านอกจากมีอารมณ์ซึมเศร้าร่วมกับอาการ ต่างๆ แล้ว การทางานหรือการประกอบกิจวัตรประจาวันก็แย่ลงด้วย คนที่เป็นแม่บ้านก็ทางานบ้านน้อยลงหรือมีงาน บ้านคั่งค้าง คนที่ทางานนอกบ้านก็อาจขาดงานบ่อยๆ จนถูกเพ่งเล็ง เรียกว่าตัวโรคทาให้การประกอบกิจวัตร ประจาวันต่างๆ บกพร่องลง หากจะเปรียบกับโรคทางร่างกายก็คงคล้ายๆ กัน เช่น ในโรคหัวใจ ผู้ที่เป็นก็จะมีอาการ
  • 4. 4 ต่างๆ ร่วมกับการทาอะไรต่างๆ ได้น้อยหรือไม่ดีเท่าเดิม ดังนั้น การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นเป็นคน อ่อนแอ คิดมาก หรือเป็นคนไม่สู้ปัญหา เอาแต่ท้อแท้ ซึมเซา แต่ที่เขาเป็นนั้นเป็นเพราะตัวโรค กล่าวได้ว่าถ้าได้รับการ รักษาที่ถูกต้องเหมาะสม โรคก็จะทุเลาลง เขาก็จะกลับมาเป็นผู้ทีจิตใจแจ่มใส พร้อมจะทากิจวัตรต่างๆ ดังเดิม ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมค่อนข้างมาก การเปลี่ยนแปลงหลักๆ จะเป็นในด้านอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด พฤติกรรม ร่วมกับอาการทางร่างกายต่างๆ ศาสตราจารย์นายแพทย์มาโนช หล่อตระกูล วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อโครงการ คือ โรคซึมเศร้า 2.วางแผนการดาเนินงาน โดยศึกษาค้นคว้าข้อมูล 3.ทาแบบโครงงาน 4.นาเสนอโครงงาน 5.ประเมินผล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตในเรื่อง อาการของโรคซึมเศร้า สาเหตุ ของโรค ซึมเศร้า การดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเบื้องต้น และ ผลกระทบโรคซึมเศร้า ตลอดจนการจัดทาโครงงานและนาเสนอ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ทราบถึงอาการของโรคซึมเศร้า สาเหตุของโรคซึมเศร้า วิธีการดูแลผู้ป่วย เบื้องต้น รวมทั้งทราบผลการประเมินและ กระทบของโรคซึมเศร้า สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ กลุ่มสาระการเรียนสุขศึกษา
  • 5. 5 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1.ประชาสัมพันธ์กรมสุขภาพจิต http://www.prdmh.com 2.ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 3.ทีมแพทย์ HONESTDOCS https://www.honestdocs.com