SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ปอดติดเชื้อ โรคอันตรายที่แบบไม่รู้ตัว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวบัวชมพู สินธุ เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวบัวชมพู สินธุ เลขที่ 40
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปอดติดเชื้อ โรคอันตรายที่มาแบบไม่รู้ตัว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Pneumonia, the silent dangerous disease
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวบัวชมพู สินธุ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ ผู้จัดทาได้เดินทางไปยังจังหวัดน่าน เพื่อไว้อาลัยและเข้าร่วมงานศพของคุณลุงซึ่ง
เป็นญาติฝ่ายบิดาท่านหนึ่ง ซึ่งท่านเป็นผู้มีพระคุณคอยช่วยเหลือครอบครัวและเลี้ยงดูผู้จัดทานับตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งสาย
เหตุของการเสียชีวิตนั้นมากจากอาการโรคอาการติดเชื้อในปอดหรือปอดติดเชื้อ ซึ่งไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดในการเกิด
โรค โดยทางครอบครัวของคุณลุงได้นาตัวไปรักษาในโรงพยาบาลสามแห่งในกรุงเทพมหานครฯ เมื่อคาดว่าหายดีแล้ว
จึงเดินทางกลับไปยังจังหวัดน่าน แต่ก็พบว่าอาการทรุดหนักลงจนเสียชีวิตสร้างความโศกเศร้าเสียใจให้กับครอบครัว
และญาติพี่น้องเป็นอย่างยิ่ง
ทางผู้จัดทาโครงงานจึงเล็งเห็นถึงความสาคัญของอันตรายที่เกิดขึ้นจากโรคปอดติดเชื้อ จึงอยากจะให้ความรู้
และแนวทางในการปฏิบัติและป้องกันเชื้อโรคอันเป็นสาเหตุที่นาไปสู่การเกิดโรคปอดติดเชื้อ เพื่อลดการระบาดของ
โรค รวมทั้งลดการเสียชีวิตและทรัพย์สินในอนาคต
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อผู้คนส่วนใหญ่ตระหนักถึงความอันตรายและร้ายแรงของโรค
2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคและการรับมือได้อย่างถูกวิธี
3. เพื่อลดการระบาดหรือแพร่กระจายของเชื้อโรคและลดการสูยเสียชีวิตและทรัพย์สิน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ปอดติดเชื้อ คือ ภาวะติดเชื้อเฉียบพลันทางระบบทางเดินหายใจ หรือภาวะติดเชื้อที่เนื้อปอด ซึ่งประกอบไป
ด้วยถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบถุงลมปอด ก่อให้เกิดอาการปอดบวมและมีหนองขัง โดยภาวะปอดติดเชื้อจัดว่า
เป็นภาวะร้ายแรงถึงชีวิตได้ หากพบอาการปอดติดเชื้อในระยะลุกลาม
สาเหตุ
ปอดติดเชื้อมีสาเหตุจากเชื้อไวรัส เช่น ไข้หวัดใหญ่ หัด อีสุกอีใส เชื้อไวรัสซาร์ส เชื้อไข้หวัดนก หรือเกิดจาก
เชื้อแบคทีเรีย อันได้แก่ เชื้อนิวโมค็อกคัส (pneumococcus) เชื้อสแตฟฟีโลค็อกคัส (staphylococus) เชื้อเคล็บ
ซิลลา (klebsiella) และเชื้อรา ซึ่งผ่านเข้าไปยังเนื้อปอดได้จากการสูดอากาศที่มีเชื้อโรคดังกล่าว
หรือในคนที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ติดเชื้อแอนอานาโรป (Ananarob) จากฟันผุ หรือการสาลักน้าลายที่
ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไปในปอด ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะปอดติดเชื้อได้
จาแนกสาเหตุของภาวะติดเชื้อให้ชัดเจนได้ดังนี้
1. การหายใจนาเชื้อเข้าสู่ปอดโดยตรง โดยการไอ จาม ซึ่งอาจทาให้เกิดปอดอักเสบจากเชื้อกลุ่ม
atypical organisms เชื้อไวรัส เชื้อวัณโรค และเชื้อรา
2. ติดต่อโดยการสาลักเอาเศษอาหารปนเปื้อนเชื้อเข้าไปในปอด
3. การลุกลามของภาวะติดเชื้อที่อวัยวะข้างเคียงปอด เช่น ภาวะฝีในตับแตกเข้าสู่ปอด
4. การทาหัตการบางอย่างที่ไม่ระวังการปนเปื้อน เช่น การสวนสายปัสสาวะที่ไม่ถูกสุขอนามัย การให้
น้าเกลือที่ไม่ถูกสุขลักษณะ หรือการดูดเสมหะที่ไม่ปลอดเชื้อ เป็นต้น
5. เกิดจากสารเคมีบางชนิด เช่น น้ามันก๊าด ที่ผู้ป่วยสูดดมหรือนามาอมเล่นแล้วเกิดสาลักเข้าไปในปอด
ผู้ที่เสี่ยงว่าจะเกิดโรค
ภาวะปอดติดเชื้อมักพบในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่า เช่น ในเด็กทารกและเด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบ เด็กขาดสารอาหาร
ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคทางปอดเรื้อรัง เช่น โรคหืด ถุงลมโป่งพอง หรือผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกัน
บกพร่อง ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยที่รับประทานยาสเตียรอย์นาน ๆ เป็นต้น
ทั้งนี้อาการปอดติดเชื้ออาจพบว่าเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ทอนซิลอักเสบ หัด
อีสุกอีใส ไอกรน หรือผู้ที่ฉีดยาด้วยเข็มที่ไม่สะอาด ซึ่งอาจทาให้ติดเชื้อประเภทสแตฟฟีโลค็อกคัส (staphylococus)
ได้
ช่องทางการติดต่อของโรค
ปอดติดเชื้อสามารถแพร่กระจายได้โดยการสาลักเอาน้าลายและเสมหะของผู้ป่วยเข้าไปยังปอด
4
อาการ
อาการปอดติดเชื้อมักจะเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน ซึ่งสามารถสังเกตอาการได้ดังนี้
● มีไข้สูง บางคนมีอาการตัวร้อนตลอดเวลาหรือหนาวสั่นมาก
● ในระยะแรก ๆ อาจมีอาการไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ ต่อมาจะไอแบบมีเสมหะขุ่นข้นเป็นสีเหลือง สี
เขียว สีสนิมเหล็ก หรือมีเลือดปนมากับเสมหะ
● หายใจหอบเร็ว
● รู้สึกเจ็บแปลบในหน้าอกเวลาหายใจเข้า ไอแรง ๆ แล้วเจ็บร้าวไปที่หัวไหล่ สีข้าง หรือท้อง
ทั้งนี้อยากฝากให้สังเกตอาการปอดติดเชื้อในเด็กเล็กด้วยนะคะ โดยเฉพาะกับเด็กที่มีอายุต่ากว่า 5 ขวบ โดย
สามารถสังเกตอาการปอดติดเชื้อในเด็กได้ดังนี้
● มีอาการหายใจหอบเร็วเกินเกณฑ์ตามอายุ โดยจาแนกอาการตามอายุได้ดังนี้
○ อายุ 0-2 เดือน หายใจเกินนาทีละ 60 ครั้ง
○ อายุ 2 เดือน-1 ขวบ หายใจเกินนาทีละ 50 ครั้ง
○ อายุ 1-5 ขวบ หายใจเกินนาทีละ 40 ครั้ง
ความรุนแรงของอาการ
หากตรวจพบภาวะปอดติดเชื้อในระยะแรกเริ่ม ก็ยังมีทางเยียวยารักษาให้หายได้ ทว่าหากปอดติดเชื้อรุนแรง
อาจทาให้เกิดหนองในปอด เกิดภาวะน้าท่วมปอดอย่างเฉียบพลัน ก่อให้เกิดอาการหายใจหอบ หายใจลาบาก หรือขั้น
หนักอาจเกิดภาวะทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลันจนถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นจึงควรดูแลรักษาสุขภาพให้ดี พร้อมกับ
สังเกตความผิดปกติของร่างกายตัวเองอยู่ตลอด
การรักษา
การรักษาปอดติดเชื้อสามารถรักษาได้ 2 ทาง ได้แก่ การรักษาแบบเฉพาะเจาะจง กล่าวคือ ให้ยาปฏิชีวนะ
เพื่อฆ่าเชื้อต้นเหตุของภาวะปอดติดเชื้อ หรือแพทย์อาจเลือกรักษาแบบประคับประคองอาการ ในเคสที่ไม่สามารถใช้
ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อก่อโรคได้
การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากแบคทีเรีย
โรคปอดติดเชื้อจากแบคทีเรียสามารถรักษาได้โดยการให้ยาปฏิชีวนะซึ่งมักจะทาให้อาการดีขึ้นภายใน 3 วัน
ในผู้สูงอายุมากๆ เด็กมากๆ หรือมีอาการหายใจลากหรือไข้สูงอาจต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้ยา
ปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา หากคุณต้องไปโรงพยาบาล แพทย์อาจทาการเก็บเสมหะไปเพาะเชื้อหรือตรวจเลือดเพื่อ
ระบุหาเชื้อแบคทีเรียชนิดที่ทาให้เกิดโรค ผู้ที่มีอาการรุนแรงอาจได้รับการรักษาด้วยการให้ออกซิเจน ให้สารน้าและ
การช่วยหายใจเพื่อช่วยลดอาการ
การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากไวรัส
โรคปอดติดเชื้อจากไวรัสมักสามารถรักษาได้ที่บ้าน (หรือนอกโรงพยาบาล) หากเป็นโรคปอดติดเชื้อที่เกิดจาก
เชื้อไข้ หวัดอาจสามารถใช้ยาชื่อ Tamiflu (Oseltamivir) ในการรักษาได้ แต่การติดเชื้อไวรัสตัวอื่นสามารถรักษาได้
แต่เพียงตามอาการเท่านั้น ซึ่งก็คือการดื่มน้าเยอะๆ รับประทานอาหารให้เพียงพอ พักผ่อน รับประทานยาแก้ปวด
หรือลดไข้ และลดอาการหายใจลาบาก โรคนี้มักใช้เวลาประมาณ 1-3 สัปดาห์ก่อนที่จะหายขาด เชื้อ Mycoplasma
เป็นเชื้อที่อยู่ระหว่างไวรัสและแบคทีเรีย การเกิดปอดติดเชื้อจากเชื้อตัวนี้มักทาให้มีอาการไม่รุนแรงและมักพบได้
5
ทั่วไปในเด็กและผู้ใหญ่ตอนต้น ภาวะนี้สามารถรักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะหลายชนิดและมักไม่จาเป็นต้องนอน
โรงพยาบาล
การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อรา
หากอาการของโรคปอดติดเชื้อของคุณเกิดขึ้นช้าและเอกซเรย์มีความผิดปกติ อาจแสดงว่าคุณเกิดการติดเชื้อ
จากเชื้อรา โรคปอดติดเชื้อชนิดนี้สามารถวินิจฉัยได้จากการเจาะเลือดเพื่อดูระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อรา มีเชื้อรามากกว่า
10 ชนิดที่สามารถทาให้เกิดโรคปอดติดเชื้อได้ และมักจะพบในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ามียาฆ่าเชื้อราหลายชนิดที่สามารถใช้
ในการรักษาโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อราได้ ทั้งทางการกินและให้ทางเส้นเลือดดา
การรักษาโรคปอดติดเชื้อที่มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนอาจเกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ที่เริ่มมีอาการปอดติดเชื้อจากการสาลักอาหารหรือที่เรียกว่า
aspiration pneumonia โรคปอดติดเชื้ออีกประเภทหนึ่งที่รุนแรงเรียกว่า necrotizing pneumonia ซึ่งเป็นโรค
ปอดติดเชื้อจากไวรัสที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียชนิด staphylococcus ซ้า โรคปอดติดเชื้อที่มีภาวะแทรกซ้อนเหล่านัก
ทาให้ระบบหายใจล้มเหลวและอาจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงบางรายอาจมีการสะสมของ
หนองอยู่ภายในปอดเรียกว่า ฝีในปอด (lung abscess) หากมีภาวะดังกล่าวอาจจะต้องไปทาการกรีดระบายหนอง
ออกจากปอดหรือตัดเนื้อเยื่อปอดส่วนที่เป็นโรคออก
วัคซีนสาหรับโรคปอดติดเชื้อ
เนื่องจากโรคปอดติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นตามหลังจากการเป็นไข้หวัดได้ ดังนั้นการฉีดวัคซีนโรคไข้หวัดใหญ่
ประจาปีสามารถช่วยป้องกันโรคนี้ได้ วัคซีนป้องกันโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อ pneumococcus นั้นมีการแนะนาให้ใช้
เพื่อป้องกันโรคปอดติดเชื้อ
วัคซีนชนิดนี้มี 2 แบบ คือแบบ pneumococcal conjugate vaccine (PCV13, prevnar 13) และแบบ
pneumococcal polysaccharide vaccine ( PPSV 23, pneumovax) ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรค (CDC) ได้
แนะนาให้มีการใช้ PCV13 ในเด็กที่อายุน้อยกว่า 5 ปี และผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป และเด็กที่มีอายุ 6 ปี
หรือมากกว่าที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง หรือปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ CDC ได้แนะนาการฉีดวัคซีน PPSV ในผู้ที่อายุ 65 ปีขึ้นและ
ผู้ที่อายุต่ากว่า 64 ปีที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ ทุกคนที่สูบบุหรี่ควรได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการเกิดโรค
ปอดติดเชื้
วิตามินซีกับโรคปอดติดเชื้อ
มีการทบทวนประโยชน์ของวิตามินซีเมื่อปี ค.ศ. 2013 และตีพิมพ์ลงใน Cochrane Database of
Systematic Reviews นักวิจัยได้ทาการศึกษาการศึกษา 3 ชิ้นที่มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 2300 คนและเน้นที่การใช้
วิตามินซีเพื่อป้องกัน การเป็นโรคปอดติดเชื้อพบว่าวิตามินซีมีแนวโน้มที่จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคปอดติด
เชื้อได้ แต่ยังคงต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม
การป้องกัน
1. ควรดูแลสุขอนามัยของตัวเองอย่างดี ล้างมือบ่อย ๆ
2. สวมใส่หน้ากากอนามัยเมื่อไม่สบาย หรือเมื่อร่างกายอยู่ในสภาวะอ่อนแอ ภูมิคุ้มกันต่า หรืออยู่ในที่
แออัด
3. เมื่อเป็นไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ โรคหัด โรคอิสุกอีใส ควรทาการรักษาโรคเสียแต่เนิ่น ๆ
4. ป้องกันไม่ให้เป็นโรคทางปอดเรื้อรัง เช่น โรคถุงลมโป่งพอง ซึ่งมาจากพฤติกรรมการสูบบุหรี่
6
ภาวะปอดติดเชื้ออันตรายกับสุขภาพ แต่หากรู้เท่าทันอาการ ความรุนแรงของภาวะปอดติดเชื้อก็จะลด
น้อยลง และสามารถทาการรักษาให้หายขาดได้
คาศัพท์ที่คุณควรรู้เกี่ยวกับโรคปอดติดเชื้อ
Double pneumonia : เป็นการบรรยายถึงโรคปอดติดเชื้อที่เกิดกับปอดทั้ง 2 ข้างไม่ว่าจะมาจากประเภทไหน
หรือสาเหตุอะไร
Walking pneumonia : คานี้มีความหมายตรงตัวก็คือผู้ป่วยโรคปอดติดเชื้อที่มีอาการไม่รุนแรงและแข็งแรง
พอที่จะเดินได้ มีโรคปอดติดเชื้อประมาณ 50% ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ซึ่งกลุ่มนี้มักจะมีอาการรุนแรงน้อยกว่ากลุ่ม
ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Walking pneumonia อาจสามารถเรียกว่า atypical pneumonia และ
mycoplasma pneumonia ได้
Atypical pneumonia : เป็นโรคปอดติดเชื้อที่ทาให้มีไข้ต่าๆ ไอเล็กแห้งๆ ที่น้อยกว่าการติดเชื้อแบคทีเรีย
ภาวะนี้ยังรวมถึงโรคปอดติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อ Legionnaire ที่เกิดจากการสูดดมละอองน้าที่มีเชื้อจากเครื่องปรับ
อาการ สปา หรือน้าพุ และ Chlamydophila pneumonia ซึ่งเป็นกลุ่ม atypical pneumonia ที่ไม่รุนแรงและพบ
ได้ในผู้สูงอายุ
Mycoplasma pneumonia : โรคนี้สามารถจัดอยู่ได้ทั้งในกลุ่ม atypical และ walking pneumonia โดยเป็น
โรคปอดติดเชื้อที่เกิดจากการติดเชื้อ Mycoplasma ที่เกี่ยวข้องกับแบคทีเรีย การติดเชื้อนี้มักพบได้บ่อยในผู้ป่วยอายุ
น้อยและสามารถติดต่อกันได้เหมือนไข้หวัดในสถานที่ที่อยู่อาศัยแบบแออัด อาการของโรคนี้คล้ายกับไข้หวัด และมัก
สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ โรคปอดติดเชื้อชนิดนี้มักไม่จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาล ทาให้บางครั้งโรคนี้
ถูกเรียกว่า walking pneumonia
Opportunistic pneumonia : เป็นคาที่อธิบายโรคปอดอักเสบทุกชนิดที่เกิดในคนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อที่
ก่อให้เกิดโรคในผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเป็นเชื้อที่ไม่ก่อโรคในคนปกติ เช่น Pneumocystis pneumonia ซึ่งเคยจัดเป็นเชื้อ
กลุ่มปรสิตแต่ตอนนี้ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเชื้อรา Opportunistic pneumonia นี้สามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีการติด
เชื้อ HIV/AIDS, ผู้ที่กาลังอยู่ในระหว่างการรักษาโรคมะเร็ง หรือผู้ที่มีการปลูกถ่ายอวัยวะ
Bronchial pneumonia : โรคปอดติดเชื้อสามารถส่งผลต่อปอดได้ใน 2 รูปแบบคือแบบ bronchial และแบบ
lobar Bronchial pneumonia มักทาให้เกิดปื้นทั่วๆ ปอดทั้ง 2 ข้าง คาว่า bronchial หมายถึงหลอดลมที่มีอยู่ทั่ว
ปอดซึ่งได้มีการติดเชื้อจากโรคปอดติดเชื้อ ในผู้ที่เป็นโรคหอบหืดหรือหลอดลมอักเสบ อาจมีความเสี่ยงในการเกิดโรค
ปอดติดเชื้อสูงขึ้น เนื่องจากมีการสร้างมูกขึ้นมาอุดตันทางเดินหลอดลมเหล่านี้
Lobar pneumonia : หมายถึงโรคปอดติดเชื้อที่เกิดอยู่เพียงส่วนในส่วนหนึ่งของปอดที่เรียกว่า lobe มักเกิด
จากการติดเชื้อแบคทีเรีย pneumococcus และมักเป็นโรคที่มีความรุนแรง
Aspiration pneumonia : เป็นโรคปอดติดเชื้อที่เกิดจากการสาลักอาหารหรือน้าเข้าสู่ปอด สารเหล่านี้จะทาให้
เกิดการระคายเคืองภายในปอดและเกิดการติดเชื้อตามมา คุณอาจมีความเสี่ยงในการเกิดโรคปอดติดเชื้อชนิดนี้
เพิ่มขึ้นหากมีการอาเจียนขณะที่กาลังดื่มน้า, มีปัญหาด้านระบบประสาทที่ส่งผลต่อการกลืน, หรือหากเป็นโรคกรด
ไหลย้อน
7
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
8
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
W.111
W.111W.111
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
mewsanit
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser9e401a1
 
W.1
W.1W.1
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
ssuserb746cf
 
W.11
W.11W.11
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
Suppamas
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
Natthapatch37
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
pornkanok02
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
pimchanokSirichaisop
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
ssuser8b423e
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชWeeraphon Parawach
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
siradamew
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
sunsumm
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 

Similar to ใบงานที่ 5

Nut1
Nut1Nut1
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
RungtiwaWongchai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
pimrapat_55
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
Pack Matapong
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
barbeesati
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
NattanichaYRC
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
Sirirat Raiwklang
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
Charinrat Surijan
 
2562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-12562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-1
Thanaponchanpanya
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
mew46716
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
Nantharat Pansara
 
Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22
dalika
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
duangdeunnkamhanghan
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
Narrongdej3110
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
Gitniphat Prom
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Auracha Wattanapong
 
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Aom Warintorn
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
ssuser015151
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
Tanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
Tanutkit Kinruean
 

Similar to ใบงานที่ 5 (20)

Nut1
Nut1Nut1
Nut1
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-12562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-1
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5-โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ใบงานที่ 5

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ปอดติดเชื้อ โรคอันตรายที่แบบไม่รู้ตัว ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวบัวชมพู สินธุ เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวบัวชมพู สินธุ เลขที่ 40 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปอดติดเชื้อ โรคอันตรายที่มาแบบไม่รู้ตัว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Pneumonia, the silent dangerous disease ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวบัวชมพู สินธุ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ ผู้จัดทาได้เดินทางไปยังจังหวัดน่าน เพื่อไว้อาลัยและเข้าร่วมงานศพของคุณลุงซึ่ง เป็นญาติฝ่ายบิดาท่านหนึ่ง ซึ่งท่านเป็นผู้มีพระคุณคอยช่วยเหลือครอบครัวและเลี้ยงดูผู้จัดทานับตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งสาย เหตุของการเสียชีวิตนั้นมากจากอาการโรคอาการติดเชื้อในปอดหรือปอดติดเชื้อ ซึ่งไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดในการเกิด โรค โดยทางครอบครัวของคุณลุงได้นาตัวไปรักษาในโรงพยาบาลสามแห่งในกรุงเทพมหานครฯ เมื่อคาดว่าหายดีแล้ว จึงเดินทางกลับไปยังจังหวัดน่าน แต่ก็พบว่าอาการทรุดหนักลงจนเสียชีวิตสร้างความโศกเศร้าเสียใจให้กับครอบครัว และญาติพี่น้องเป็นอย่างยิ่ง ทางผู้จัดทาโครงงานจึงเล็งเห็นถึงความสาคัญของอันตรายที่เกิดขึ้นจากโรคปอดติดเชื้อ จึงอยากจะให้ความรู้ และแนวทางในการปฏิบัติและป้องกันเชื้อโรคอันเป็นสาเหตุที่นาไปสู่การเกิดโรคปอดติดเชื้อ เพื่อลดการระบาดของ โรค รวมทั้งลดการเสียชีวิตและทรัพย์สินในอนาคต
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อผู้คนส่วนใหญ่ตระหนักถึงความอันตรายและร้ายแรงของโรค 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคและการรับมือได้อย่างถูกวิธี 3. เพื่อลดการระบาดหรือแพร่กระจายของเชื้อโรคและลดการสูยเสียชีวิตและทรัพย์สิน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ปอดติดเชื้อ คือ ภาวะติดเชื้อเฉียบพลันทางระบบทางเดินหายใจ หรือภาวะติดเชื้อที่เนื้อปอด ซึ่งประกอบไป ด้วยถุงลมปอดและเนื้อเยื่อโดยรอบถุงลมปอด ก่อให้เกิดอาการปอดบวมและมีหนองขัง โดยภาวะปอดติดเชื้อจัดว่า เป็นภาวะร้ายแรงถึงชีวิตได้ หากพบอาการปอดติดเชื้อในระยะลุกลาม สาเหตุ ปอดติดเชื้อมีสาเหตุจากเชื้อไวรัส เช่น ไข้หวัดใหญ่ หัด อีสุกอีใส เชื้อไวรัสซาร์ส เชื้อไข้หวัดนก หรือเกิดจาก เชื้อแบคทีเรีย อันได้แก่ เชื้อนิวโมค็อกคัส (pneumococcus) เชื้อสแตฟฟีโลค็อกคัส (staphylococus) เชื้อเคล็บ ซิลลา (klebsiella) และเชื้อรา ซึ่งผ่านเข้าไปยังเนื้อปอดได้จากการสูดอากาศที่มีเชื้อโรคดังกล่าว หรือในคนที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ติดเชื้อแอนอานาโรป (Ananarob) จากฟันผุ หรือการสาลักน้าลายที่ ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไปในปอด ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะปอดติดเชื้อได้ จาแนกสาเหตุของภาวะติดเชื้อให้ชัดเจนได้ดังนี้ 1. การหายใจนาเชื้อเข้าสู่ปอดโดยตรง โดยการไอ จาม ซึ่งอาจทาให้เกิดปอดอักเสบจากเชื้อกลุ่ม atypical organisms เชื้อไวรัส เชื้อวัณโรค และเชื้อรา 2. ติดต่อโดยการสาลักเอาเศษอาหารปนเปื้อนเชื้อเข้าไปในปอด 3. การลุกลามของภาวะติดเชื้อที่อวัยวะข้างเคียงปอด เช่น ภาวะฝีในตับแตกเข้าสู่ปอด 4. การทาหัตการบางอย่างที่ไม่ระวังการปนเปื้อน เช่น การสวนสายปัสสาวะที่ไม่ถูกสุขอนามัย การให้ น้าเกลือที่ไม่ถูกสุขลักษณะ หรือการดูดเสมหะที่ไม่ปลอดเชื้อ เป็นต้น 5. เกิดจากสารเคมีบางชนิด เช่น น้ามันก๊าด ที่ผู้ป่วยสูดดมหรือนามาอมเล่นแล้วเกิดสาลักเข้าไปในปอด ผู้ที่เสี่ยงว่าจะเกิดโรค ภาวะปอดติดเชื้อมักพบในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่า เช่น ในเด็กทารกและเด็กอายุต่ากว่า 5 ขวบ เด็กขาดสารอาหาร ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคทางปอดเรื้อรัง เช่น โรคหืด ถุงลมโป่งพอง หรือผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกัน บกพร่อง ผู้ป่วยเบาหวาน และผู้ป่วยที่รับประทานยาสเตียรอย์นาน ๆ เป็นต้น ทั้งนี้อาการปอดติดเชื้ออาจพบว่าเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ทอนซิลอักเสบ หัด อีสุกอีใส ไอกรน หรือผู้ที่ฉีดยาด้วยเข็มที่ไม่สะอาด ซึ่งอาจทาให้ติดเชื้อประเภทสแตฟฟีโลค็อกคัส (staphylococus) ได้ ช่องทางการติดต่อของโรค ปอดติดเชื้อสามารถแพร่กระจายได้โดยการสาลักเอาน้าลายและเสมหะของผู้ป่วยเข้าไปยังปอด
  • 4. 4 อาการ อาการปอดติดเชื้อมักจะเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน ซึ่งสามารถสังเกตอาการได้ดังนี้ ● มีไข้สูง บางคนมีอาการตัวร้อนตลอดเวลาหรือหนาวสั่นมาก ● ในระยะแรก ๆ อาจมีอาการไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ ต่อมาจะไอแบบมีเสมหะขุ่นข้นเป็นสีเหลือง สี เขียว สีสนิมเหล็ก หรือมีเลือดปนมากับเสมหะ ● หายใจหอบเร็ว ● รู้สึกเจ็บแปลบในหน้าอกเวลาหายใจเข้า ไอแรง ๆ แล้วเจ็บร้าวไปที่หัวไหล่ สีข้าง หรือท้อง ทั้งนี้อยากฝากให้สังเกตอาการปอดติดเชื้อในเด็กเล็กด้วยนะคะ โดยเฉพาะกับเด็กที่มีอายุต่ากว่า 5 ขวบ โดย สามารถสังเกตอาการปอดติดเชื้อในเด็กได้ดังนี้ ● มีอาการหายใจหอบเร็วเกินเกณฑ์ตามอายุ โดยจาแนกอาการตามอายุได้ดังนี้ ○ อายุ 0-2 เดือน หายใจเกินนาทีละ 60 ครั้ง ○ อายุ 2 เดือน-1 ขวบ หายใจเกินนาทีละ 50 ครั้ง ○ อายุ 1-5 ขวบ หายใจเกินนาทีละ 40 ครั้ง ความรุนแรงของอาการ หากตรวจพบภาวะปอดติดเชื้อในระยะแรกเริ่ม ก็ยังมีทางเยียวยารักษาให้หายได้ ทว่าหากปอดติดเชื้อรุนแรง อาจทาให้เกิดหนองในปอด เกิดภาวะน้าท่วมปอดอย่างเฉียบพลัน ก่อให้เกิดอาการหายใจหอบ หายใจลาบาก หรือขั้น หนักอาจเกิดภาวะทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลันจนถึงแก่ชีวิตได้ ดังนั้นจึงควรดูแลรักษาสุขภาพให้ดี พร้อมกับ สังเกตความผิดปกติของร่างกายตัวเองอยู่ตลอด การรักษา การรักษาปอดติดเชื้อสามารถรักษาได้ 2 ทาง ได้แก่ การรักษาแบบเฉพาะเจาะจง กล่าวคือ ให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อฆ่าเชื้อต้นเหตุของภาวะปอดติดเชื้อ หรือแพทย์อาจเลือกรักษาแบบประคับประคองอาการ ในเคสที่ไม่สามารถใช้ ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อก่อโรคได้ การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากแบคทีเรีย โรคปอดติดเชื้อจากแบคทีเรียสามารถรักษาได้โดยการให้ยาปฏิชีวนะซึ่งมักจะทาให้อาการดีขึ้นภายใน 3 วัน ในผู้สูงอายุมากๆ เด็กมากๆ หรือมีอาการหายใจลากหรือไข้สูงอาจต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้ยา ปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา หากคุณต้องไปโรงพยาบาล แพทย์อาจทาการเก็บเสมหะไปเพาะเชื้อหรือตรวจเลือดเพื่อ ระบุหาเชื้อแบคทีเรียชนิดที่ทาให้เกิดโรค ผู้ที่มีอาการรุนแรงอาจได้รับการรักษาด้วยการให้ออกซิเจน ให้สารน้าและ การช่วยหายใจเพื่อช่วยลดอาการ การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากไวรัส โรคปอดติดเชื้อจากไวรัสมักสามารถรักษาได้ที่บ้าน (หรือนอกโรงพยาบาล) หากเป็นโรคปอดติดเชื้อที่เกิดจาก เชื้อไข้ หวัดอาจสามารถใช้ยาชื่อ Tamiflu (Oseltamivir) ในการรักษาได้ แต่การติดเชื้อไวรัสตัวอื่นสามารถรักษาได้ แต่เพียงตามอาการเท่านั้น ซึ่งก็คือการดื่มน้าเยอะๆ รับประทานอาหารให้เพียงพอ พักผ่อน รับประทานยาแก้ปวด หรือลดไข้ และลดอาการหายใจลาบาก โรคนี้มักใช้เวลาประมาณ 1-3 สัปดาห์ก่อนที่จะหายขาด เชื้อ Mycoplasma เป็นเชื้อที่อยู่ระหว่างไวรัสและแบคทีเรีย การเกิดปอดติดเชื้อจากเชื้อตัวนี้มักทาให้มีอาการไม่รุนแรงและมักพบได้
  • 5. 5 ทั่วไปในเด็กและผู้ใหญ่ตอนต้น ภาวะนี้สามารถรักษาได้ด้วยยาปฏิชีวนะหลายชนิดและมักไม่จาเป็นต้องนอน โรงพยาบาล การรักษาโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อรา หากอาการของโรคปอดติดเชื้อของคุณเกิดขึ้นช้าและเอกซเรย์มีความผิดปกติ อาจแสดงว่าคุณเกิดการติดเชื้อ จากเชื้อรา โรคปอดติดเชื้อชนิดนี้สามารถวินิจฉัยได้จากการเจาะเลือดเพื่อดูระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อรา มีเชื้อรามากกว่า 10 ชนิดที่สามารถทาให้เกิดโรคปอดติดเชื้อได้ และมักจะพบในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ามียาฆ่าเชื้อราหลายชนิดที่สามารถใช้ ในการรักษาโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อราได้ ทั้งทางการกินและให้ทางเส้นเลือดดา การรักษาโรคปอดติดเชื้อที่มีภาวะแทรกซ้อน ภาวะแทรกซ้อนอาจเกิดขึ้นได้บ่อยในผู้ที่เริ่มมีอาการปอดติดเชื้อจากการสาลักอาหารหรือที่เรียกว่า aspiration pneumonia โรคปอดติดเชื้ออีกประเภทหนึ่งที่รุนแรงเรียกว่า necrotizing pneumonia ซึ่งเป็นโรค ปอดติดเชื้อจากไวรัสที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียชนิด staphylococcus ซ้า โรคปอดติดเชื้อที่มีภาวะแทรกซ้อนเหล่านัก ทาให้ระบบหายใจล้มเหลวและอาจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงบางรายอาจมีการสะสมของ หนองอยู่ภายในปอดเรียกว่า ฝีในปอด (lung abscess) หากมีภาวะดังกล่าวอาจจะต้องไปทาการกรีดระบายหนอง ออกจากปอดหรือตัดเนื้อเยื่อปอดส่วนที่เป็นโรคออก วัคซีนสาหรับโรคปอดติดเชื้อ เนื่องจากโรคปอดติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นตามหลังจากการเป็นไข้หวัดได้ ดังนั้นการฉีดวัคซีนโรคไข้หวัดใหญ่ ประจาปีสามารถช่วยป้องกันโรคนี้ได้ วัคซีนป้องกันโรคปอดติดเชื้อจากเชื้อ pneumococcus นั้นมีการแนะนาให้ใช้ เพื่อป้องกันโรคปอดติดเชื้อ วัคซีนชนิดนี้มี 2 แบบ คือแบบ pneumococcal conjugate vaccine (PCV13, prevnar 13) และแบบ pneumococcal polysaccharide vaccine ( PPSV 23, pneumovax) ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรค (CDC) ได้ แนะนาให้มีการใช้ PCV13 ในเด็กที่อายุน้อยกว่า 5 ปี และผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป และเด็กที่มีอายุ 6 ปี หรือมากกว่าที่มีโรคประจาตัวเรื้อรัง หรือปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ CDC ได้แนะนาการฉีดวัคซีน PPSV ในผู้ที่อายุ 65 ปีขึ้นและ ผู้ที่อายุต่ากว่า 64 ปีที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อ ทุกคนที่สูบบุหรี่ควรได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันการเกิดโรค ปอดติดเชื้ วิตามินซีกับโรคปอดติดเชื้อ มีการทบทวนประโยชน์ของวิตามินซีเมื่อปี ค.ศ. 2013 และตีพิมพ์ลงใน Cochrane Database of Systematic Reviews นักวิจัยได้ทาการศึกษาการศึกษา 3 ชิ้นที่มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 2300 คนและเน้นที่การใช้ วิตามินซีเพื่อป้องกัน การเป็นโรคปอดติดเชื้อพบว่าวิตามินซีมีแนวโน้มที่จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคปอดติด เชื้อได้ แต่ยังคงต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม การป้องกัน 1. ควรดูแลสุขอนามัยของตัวเองอย่างดี ล้างมือบ่อย ๆ 2. สวมใส่หน้ากากอนามัยเมื่อไม่สบาย หรือเมื่อร่างกายอยู่ในสภาวะอ่อนแอ ภูมิคุ้มกันต่า หรืออยู่ในที่ แออัด 3. เมื่อเป็นไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ โรคหัด โรคอิสุกอีใส ควรทาการรักษาโรคเสียแต่เนิ่น ๆ 4. ป้องกันไม่ให้เป็นโรคทางปอดเรื้อรัง เช่น โรคถุงลมโป่งพอง ซึ่งมาจากพฤติกรรมการสูบบุหรี่
  • 6. 6 ภาวะปอดติดเชื้ออันตรายกับสุขภาพ แต่หากรู้เท่าทันอาการ ความรุนแรงของภาวะปอดติดเชื้อก็จะลด น้อยลง และสามารถทาการรักษาให้หายขาดได้ คาศัพท์ที่คุณควรรู้เกี่ยวกับโรคปอดติดเชื้อ Double pneumonia : เป็นการบรรยายถึงโรคปอดติดเชื้อที่เกิดกับปอดทั้ง 2 ข้างไม่ว่าจะมาจากประเภทไหน หรือสาเหตุอะไร Walking pneumonia : คานี้มีความหมายตรงตัวก็คือผู้ป่วยโรคปอดติดเชื้อที่มีอาการไม่รุนแรงและแข็งแรง พอที่จะเดินได้ มีโรคปอดติดเชื้อประมาณ 50% ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ซึ่งกลุ่มนี้มักจะมีอาการรุนแรงน้อยกว่ากลุ่ม ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Walking pneumonia อาจสามารถเรียกว่า atypical pneumonia และ mycoplasma pneumonia ได้ Atypical pneumonia : เป็นโรคปอดติดเชื้อที่ทาให้มีไข้ต่าๆ ไอเล็กแห้งๆ ที่น้อยกว่าการติดเชื้อแบคทีเรีย ภาวะนี้ยังรวมถึงโรคปอดติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อ Legionnaire ที่เกิดจากการสูดดมละอองน้าที่มีเชื้อจากเครื่องปรับ อาการ สปา หรือน้าพุ และ Chlamydophila pneumonia ซึ่งเป็นกลุ่ม atypical pneumonia ที่ไม่รุนแรงและพบ ได้ในผู้สูงอายุ Mycoplasma pneumonia : โรคนี้สามารถจัดอยู่ได้ทั้งในกลุ่ม atypical และ walking pneumonia โดยเป็น โรคปอดติดเชื้อที่เกิดจากการติดเชื้อ Mycoplasma ที่เกี่ยวข้องกับแบคทีเรีย การติดเชื้อนี้มักพบได้บ่อยในผู้ป่วยอายุ น้อยและสามารถติดต่อกันได้เหมือนไข้หวัดในสถานที่ที่อยู่อาศัยแบบแออัด อาการของโรคนี้คล้ายกับไข้หวัด และมัก สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ โรคปอดติดเชื้อชนิดนี้มักไม่จาเป็นต้องนอนโรงพยาบาล ทาให้บางครั้งโรคนี้ ถูกเรียกว่า walking pneumonia Opportunistic pneumonia : เป็นคาที่อธิบายโรคปอดอักเสบทุกชนิดที่เกิดในคนที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อที่ ก่อให้เกิดโรคในผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเป็นเชื้อที่ไม่ก่อโรคในคนปกติ เช่น Pneumocystis pneumonia ซึ่งเคยจัดเป็นเชื้อ กลุ่มปรสิตแต่ตอนนี้ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเชื้อรา Opportunistic pneumonia นี้สามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีการติด เชื้อ HIV/AIDS, ผู้ที่กาลังอยู่ในระหว่างการรักษาโรคมะเร็ง หรือผู้ที่มีการปลูกถ่ายอวัยวะ Bronchial pneumonia : โรคปอดติดเชื้อสามารถส่งผลต่อปอดได้ใน 2 รูปแบบคือแบบ bronchial และแบบ lobar Bronchial pneumonia มักทาให้เกิดปื้นทั่วๆ ปอดทั้ง 2 ข้าง คาว่า bronchial หมายถึงหลอดลมที่มีอยู่ทั่ว ปอดซึ่งได้มีการติดเชื้อจากโรคปอดติดเชื้อ ในผู้ที่เป็นโรคหอบหืดหรือหลอดลมอักเสบ อาจมีความเสี่ยงในการเกิดโรค ปอดติดเชื้อสูงขึ้น เนื่องจากมีการสร้างมูกขึ้นมาอุดตันทางเดินหลอดลมเหล่านี้ Lobar pneumonia : หมายถึงโรคปอดติดเชื้อที่เกิดอยู่เพียงส่วนในส่วนหนึ่งของปอดที่เรียกว่า lobe มักเกิด จากการติดเชื้อแบคทีเรีย pneumococcus และมักเป็นโรคที่มีความรุนแรง Aspiration pneumonia : เป็นโรคปอดติดเชื้อที่เกิดจากการสาลักอาหารหรือน้าเข้าสู่ปอด สารเหล่านี้จะทาให้ เกิดการระคายเคืองภายในปอดและเกิดการติดเชื้อตามมา คุณอาจมีความเสี่ยงในการเกิดโรคปอดติดเชื้อชนิดนี้ เพิ่มขึ้นหากมีการอาเจียนขณะที่กาลังดื่มน้า, มีปัญหาด้านระบบประสาทที่ส่งผลต่อการกลืน, หรือหากเป็นโรคกรด ไหลย้อน
  • 7. 7 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน
  • 8. 8 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________