SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.ณัฏฐาภัชช์ อัมพรพิสิฏฐ์ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 น.ส.ณัฏฐาภัชช์ อัมพรพิสิฏฐ์ เลขที่ 37
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Depression in children
ประเภทโครงงาน ประเภทจาลองทฤษฎี
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ณัฏฐาภัชช์ อัมพรพิสิฏฐ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 1เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากในปัจจุบัน สังคมไทยเห็นได้ชัดว่า เด็กๆและวัยรุ่นเริ่มมีปัญหาโรคซึมเศร้าเป็นจานวนมาก และ
ยังคง เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และทาให้เกิดข่าวสารมากมายเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายหรือการทาร้ายตัวเองของเด็กเหล่านั้น
หลายๆคนที่ประสบปัญหานี้มักหาทางแก้ไม่ได้เนื่องจากความคิดในจิตใจที่ไม่สามารถหลุดพ้นจากปัญหาได้ทาให้เกิด
ความเสียหายตามมา ครอบครัวที่ลูกๆประสบปัญหาโรคซึมเศร้าส่วนใหญ่มักไม่ให้ความสนใจและมองว่าเป็นเรื่องไร้
สาระ ทาให้เด็กๆหลายคนไม่ได้รับการรักษาและแก้ไขปัญหาด้วยตนเองด้วยวิธีที่ผิดๆ ทั้งนี้โรคซึมเศร้าในเด็กเป็น
ปัญหาที่แก้ไขได้ยากกว่าโรคซึมเศร้าในผู้ใหญ่เพราะทางด้านความคิดและวุฒิภาวะที่ไม่มากพอ เด็กหลายคนจึงไม่ยอม
เข้ารับการรักษาและไม่สนใจความช่วยเหลือของคนรอบข้างแม้แต่คนในครอบครัวก็ตาม
ทางผู้จัดทาโครงงานเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคมเด็กและเยาวนที่เริ่มเป็นปัญหาขนาดใหญ่ขึ้น จึง
อยากหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและทาความเข้าใจในผู้ป่วยมากขึ้นเพื่อช่วยในการแก้ปัญหานี้ จะศึกษาหา
แนวทางอย่างละเอียดถูกต้อง และนาไปช่วยแก้ปัญหาให้กับเด็กและเยาวชนใกล้ตัวก่อน เพื่อช่วยเหลือให้เด็กๆที่
ประสบปัญหาให้หายจากโรคซึมเศร้านี้และช่วยลดปัญหาการฆ่าตัวตายของเด็กและเยาวชนที่เกิดขึ้นได้อีก
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน
2.เพื่อช่วยเหลือครอบครัวที่ไม่สามารถหาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้
3.เพื่อช่วยลดอัตราการฆ่าตัวตายของเด็กที่เริ่มเพิ่มมากขึ้นจากปัญหาโรคซึมเศร้า
4.เพื่่อช่วยรักษาคนใกล้ตัวที่ประสบปัญหาโรคซึมเศร้า
ขอบเขตโครงงาน
เด็กและเยาวชน ช่วงอายุ 10-18 ปีที่แนวโน้มในการเป็นโรคซึมเศร้า และเริ่มมีอาการทางโรคซึมเศร้า
หลักการและทฤษฎี
โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางอารมณ์ที่พบบ่อย โดยมีความชุกตลอดช่วงชีวิตถึง 12% พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
และพบได้ในทุกช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์เลวร้ายที่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึก เช่น การสูญเสีย
ความผิดหวังหรือการหย่าร้าง การเป็นโรคนี้ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลวหรือไม่มี
ความสามารถ เพราะมีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยันว่าโรคซึมเศร้ามีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการทางานของระบบสมองที่
ผิดปกติ ในปัจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทางจิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิด
ผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางานและความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง นาไปสู่ภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงขึ้น
สัญญาณอาการของโรคซึมเศร้าในเด็ก
อาการของโรคซึมเศร้าในเด็กแต่ละคนอาจแตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้ปกครองอาจสังเกตบุตรหลานของตนว่า
เสี่ยงต่อ การป่วยเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ได้จากสัญญาณอาการดังต่อไปนี้
1. อารมณ์ที่ซึมเศร้าลง เบื่อหน่ายมากขึ้น หรือบางรายอาจมีอารมณ์หงุดหงิด
2. ไม่มีความสุขความเพลิดเพลินเมื่อทากิจกรรมที่ชอบ
3. ไม่อยากอาหาร น้าหนักลดลง หรือในขณะที่บางรายก็ทานอาหารมากเกินไป
4. นอนไม่หลับ หลับๆตื่นๆ หรือตื่นเร็วกว่าปกติ ในขณะที่บางรายนอนทั้งวัน
5. เฉื่อยชา
6. ไม่มีสมาธิในการเรียน ความจาแย่ลง
7. รู้สึกผิด โทษตัวเอง รู้สึกไร้ค่า
8. อยากฆ่าตัวตาย
สาเหตุของโรคซึมเศร้าในเด็ก
มักประกอบไปด้วย ทางชีวภาพ เกิดจาก
1. พันธุกรรม ถ้ามีประวัติโรคซึมเศร้าในครอบครัว ก็จะทาให้เด็กมีโอกาสป่วยด้วยโรคซึมเศร้า มากกว่าเด็กทั่วไป
2. ยาบางชนิดสามารถทาให้เป็นโรคซึมเศร้าได้ เช่น ยาเคมีบาบัด ยาลดความดัน สารเสพติด เป็นต้น
3. โรคบางชนิด เช่นโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง เป็นต้น
ทางสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ประกอบไปด้วย ความเครียด ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาในครอบครัว การทะเลาะกับแฟน
ผลการเรียนตก การคบเพื่อน ถูกเพื่อนกลั่นแกล้งเสมอ ๆ หรือรู้สึกไม่ชอบ กลัว กังวล กับบุคคลรอบข้าง หรือ เด็กขาด
ความมั่นใจในตนเอง กลัวการแข่งขัน
4
วิธีรับมือกับโรคซึมเศร้าในเด็ก
หากผู้ปกครองพบว่าบุตรหลานป่วยเป็นโรคซึมเศร้า อาจขอรับคาปรึกษาจากสายด่วนสุขภาพจิตโดยโทร
1323 หรือทานัดหมายและพาผู้ป่วยเข้าพบกุมารแพทย์หรือจิตแพทย์เด็ก รวมถึงให้ผู้ป่วยเข้ารับการบาบัดจากนัก
บาบัดทางจิตเวชอย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองเองก็เป็นส่วนสาคัญในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เพื่อช่วยให้เด็กที่ป่วยเป็นโรค
ซึมเศร้ารับมือกับภาวะนี้ได้ซึ่งอาจปฏิบัติตามคาแนะนาดังต่อไปนี้
ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างครบถ้วน นอนหลับให้เพียงพอ รวมถึงทากิจกรรม
ที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจา เพราะอาจช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้นได้ คอยพูดคุยและรับฟังผู้ป่วยอยู่เสมอ เพื่อให้
ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงรับฟังและทาความเข้าใจว่าผู้ป่วยรู้สึกอย่างไร
หากผู้ป่วยปฏิเสธการพูดคุยก็ควรแสดงให้เห็นว่าผู้ปกครองพร้อมจะอยู่เคียงข้างเด็กเสมอ หรืออาจโน้มน้าว
ให้ผู้ป่วยลองพูดคุยกับผู้ที่เด็กไว้วางใจแทน เช่น สมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว เพื่อน ครูหรือคนรู้จักที่โรงเรียน เป็น
ต้น นอกจากนี้การพูดคุยกับผู้ที่สนิทกับผู้ป่วยก็อาจช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจผู้ป่วยมากขึ้นได้ควรใช้เวลาร่วมกับผู้ป่วยให้
มากขึ้น โดยอาจทากิจกรรมที่ช่วยให้ทั้งครอบครัวผ่อนคลายความเครียด อีกทั้งยังสร้างความสุขและความสนุกสนาน
ได้เช่น ไปเดินเล่น เล่นเกม ทาอาหารร่วมกัน หรือดูภาพยนตร์สนุก ๆ ร่วมกัน ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวอาจช่วย กระตุ้นให้
ผู้ป่วยรู้สึกสดชื่นแจ่มใสขึ้น และอาจจัดการกับความรู้สึกเศร้าได้ดีขึ้น หากผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่เกิดจาก โรคซึมเศร้า
ออกมาอย่างมีทีท่าไม่พอใจหรือหงุดหงิด ผู้ปกครองควรหลีกเลี่ยงการโต้เถียงหรือการใช้คาพูดที่รุนแรง แต่ควรใช้
ความอดทนและความเข้าใจในการรับมือกับผู้ป่วยแทน เพราะหากผู้ปกครองและผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ก็อาจ
ช่วยให้อาการของโรคซึมเศร้านั้นดีขึ้นได้เช่นกัน
หากผู้ปกครองพบสัญญาณอันตรายของการฆ่าตัวตายจากโรคซึมเศร้าในเด็ก ควรติดต่อสายด่วนสุขภาพจิต
หรือรีบพาผู้ป่วยไปพบแพทย์หรือจิตแพทย์เด็กทันทีเช่น แปรเปลี่ยนความรู้สึกเศร้าเป็นความสุขหรือสงบนิ่งอย่าง
รวดเร็ว พูดหรือคิดเรื่องความตายอยู่เสมอ อาการซึมเศร้าที่เด็กเป็นอยู่แย่ลง มีพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจทาให้เสียชีวิตได้
อย่างการขับรถฝ่าไฟแดง แสดงความคิดว่าสิ้นหวัง ไร้หนทาง หรือไร้ค่า จัดการสิ่งต่าง ๆ ไว้เรียบร้อยแล้ว พูดว่าไม่มี
ชีวิตอยู่คงจะดีกว่าหรืออยากตาย มีสัญญาณของการจากลาอย่างไปเยี่ยมหรือติดต่อเพื่อนสนิทและคนที่รัก เป็นต้น
การรักษาโรคซึมเศร้า
การรักษาหลักของโรคซึมเศร้า คือ การพูดคุยให้คาปรึกษาทั้งปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หรือปรึกษาคนรอบ
ข้างที่มีแนวทางการช่วยเหลือเราได้การทาจิตบาบัดและการใช้ยากลุ่มต้านเศร้า ผู้ป่วยทีมีอาการรุนแรงอาจจาเป็นต้อง
ได้รับการรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถดีขึ้นได้จนสามารถทางานและดารงชีวิตได้อย่างปกติหากได้รับ
การรักษาที่เหมาะสม
1.การรักษาด้วยการใช้ยา ยากลุ่มต้านเศร้า (Antidepressants)
ยาในกลุ่มนี้ปัจจุบันมีหลากหลายชนิด พบอาการข้างเคียงลดลงและมีจานวนผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษา
เพิ่มมากขึ้น โดยแพทย์และผู้ป่วยสามารถทางานร่วมกันในการเลือกยาให้เหมาะสม ยากลุ่มอื่นๆ (Other
Medications) ยาในกลุ่มอื่นๆ ที่นามาใช้ร่วมเพื่อการรักษาภาวะซึมเศร้าในบางราย เช่น ยากลุ่มคลายกังวล ยากลุ่ม
สมาธิ ยากลุ่มควบคุมอารมณ์หรือยากลุ่มต้านโรคจิต โดยแพทย์จะพิจารณาจากความ เหมาะสมร่วมกับการตอบสนอง
ต่อการรักษาที่ผ่านมา
2.การทาจิตบาบัด
จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนหรือเรียนรู้วิธีที่ต่างออกไปในการจัดการปัญหาหรือความท้าทายต่างๆ ที่
เข้ามาในชีวิต รวมถึงปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองต่อสิ่งต่างๆ ในแง่ลบ อันเป็นผลมาจากภาวะซึมเศร้า เช่น จิต
บาบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Psychotherapy) การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและ
พฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy) ตัวอย่าง CBT ที่ใช้ในการรักษาคือ Rational Emotive Behavior
Therapy (REBT) and Dialectical Behavior Therapy (DBT)
5
3.การรักษาแบบอื่น
เช่น การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy or ECT) Transcranial Magnetic Stimulation
(TMS) และการกระตุ้นเส้นประสาทเวกัส Vagus Nerve Stimulation
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เริ่มทาการสารวจกลุ่มเด็กที่มีความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าและกลุ่มที่เป็นโรคซึมเศร้า
2.รวบรวมข้อมูลที่ทาการสารวจมาแล้ว
3.ศึกษาผลที่ได้มาและหาวิธีการแก้ไขปัญหา
4.ลงมือทาการช่วยเหลือผู้ป่วยและแก้ปัญหาให้ตรงจุด
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์ในการใช้โปรแกรมคานวณเป็นตัวเลข
2.แบบสอบถามตรวจค่าความเป็นไปได้ของโรค
งบประมาณ
งบประมาณในการทาโครงงาน 500-1,000 บาท (รวมค่าเดินทางในการทาการสารวจ)
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ล าดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน ณัฏฐาภัชช์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณัฏฐาภัชช์
3 จัดทาโครงร่างงาน ณัฏฐาภัชช์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ณัฏฐาภัชช์
5 ปรับปรุงทดสอบ ณัฏฐาภัชช์
6 การทาเอกสารรายงาน ณัฏฐาภัชช์
7 ประเมินผลงาน ณัฏฐาภัชช์
8 นาเสนอโครงงาน ณัฏฐาภัชช์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กที่เข้าข่ายการป่วยเป็นโรคซึมเศร้านั้นในที่สุดแล้วไม่เป็นโรคซึมเศร้าเพราะได้รับการช่วยรักษาและหาวิธีป้องกัน
ให้อย่างถูกวิธี
2.เด็กที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเข้ารับการรักษาอย่างถูกวิธีพ่อแม่ยอมรับการให้ลูกเข้ารักษา
3.ครอบครัวที่ประสบปัญหาได้รับการช่วยเหลือ
4.อัตราของเด็กที่เป็นโรคซึมเศร้าลดลงและไม่มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้น
6
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย , ชุมชนในตาบลหนองหอย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและศาสนาและวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง
https://bit.ly/2kQ7KJj
https://bit.ly/2HJcNBy
https://www.phyathai.com/article_detail.php?id=2123
https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/depression
https://sites.google.com/site/roksummdd/paccay-seiyng-khxng-rokh
https://ww2.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/treatment-of-depression

More Related Content

What's hot

สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanwarath Khemthong
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้Thanyalak Chanmai
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1mewsanit
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Patchara Pussadee
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 

What's hot (19)

Work1
Work1Work1
Work1
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้สมุนไพรไทยน่ารู้
สมุนไพรไทยน่ารู้
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
1
11
1
 

Similar to at1

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วdaranpornkotkaew
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thansuda07
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornratAmornrat49882
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project dewdrw
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project dewdrw
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project dewdrw
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์kedsarapan
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนtassanee chaicharoen
 

Similar to at1 (20)

Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 24-jaruwan
2562 final-project 24-jaruwan2562 final-project 24-jaruwan
2562 final-project 24-jaruwan
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat2562 final-project 44-609_amornrat
2562 final-project 44-609_amornrat
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Happy
HappyHappy
Happy
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียนใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
ใบกิจกรรมประเมินทักษะการคิดหลังเรียน
 

at1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.ณัฏฐาภัชช์ อัมพรพิสิฏฐ์ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 น.ส.ณัฏฐาภัชช์ อัมพรพิสิฏฐ์ เลขที่ 37 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Depression in children ประเภทโครงงาน ประเภทจาลองทฤษฎี ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ณัฏฐาภัชช์ อัมพรพิสิฏฐ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากในปัจจุบัน สังคมไทยเห็นได้ชัดว่า เด็กๆและวัยรุ่นเริ่มมีปัญหาโรคซึมเศร้าเป็นจานวนมาก และ ยังคง เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และทาให้เกิดข่าวสารมากมายเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายหรือการทาร้ายตัวเองของเด็กเหล่านั้น หลายๆคนที่ประสบปัญหานี้มักหาทางแก้ไม่ได้เนื่องจากความคิดในจิตใจที่ไม่สามารถหลุดพ้นจากปัญหาได้ทาให้เกิด ความเสียหายตามมา ครอบครัวที่ลูกๆประสบปัญหาโรคซึมเศร้าส่วนใหญ่มักไม่ให้ความสนใจและมองว่าเป็นเรื่องไร้ สาระ ทาให้เด็กๆหลายคนไม่ได้รับการรักษาและแก้ไขปัญหาด้วยตนเองด้วยวิธีที่ผิดๆ ทั้งนี้โรคซึมเศร้าในเด็กเป็น ปัญหาที่แก้ไขได้ยากกว่าโรคซึมเศร้าในผู้ใหญ่เพราะทางด้านความคิดและวุฒิภาวะที่ไม่มากพอ เด็กหลายคนจึงไม่ยอม เข้ารับการรักษาและไม่สนใจความช่วยเหลือของคนรอบข้างแม้แต่คนในครอบครัวก็ตาม ทางผู้จัดทาโครงงานเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคมเด็กและเยาวนที่เริ่มเป็นปัญหาขนาดใหญ่ขึ้น จึง อยากหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและทาความเข้าใจในผู้ป่วยมากขึ้นเพื่อช่วยในการแก้ปัญหานี้ จะศึกษาหา แนวทางอย่างละเอียดถูกต้อง และนาไปช่วยแก้ปัญหาให้กับเด็กและเยาวชนใกล้ตัวก่อน เพื่อช่วยเหลือให้เด็กๆที่ ประสบปัญหาให้หายจากโรคซึมเศร้านี้และช่วยลดปัญหาการฆ่าตัวตายของเด็กและเยาวชนที่เกิดขึ้นได้อีก
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน 2.เพื่อช่วยเหลือครอบครัวที่ไม่สามารถหาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้ 3.เพื่อช่วยลดอัตราการฆ่าตัวตายของเด็กที่เริ่มเพิ่มมากขึ้นจากปัญหาโรคซึมเศร้า 4.เพื่่อช่วยรักษาคนใกล้ตัวที่ประสบปัญหาโรคซึมเศร้า ขอบเขตโครงงาน เด็กและเยาวชน ช่วงอายุ 10-18 ปีที่แนวโน้มในการเป็นโรคซึมเศร้า และเริ่มมีอาการทางโรคซึมเศร้า หลักการและทฤษฎี โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางอารมณ์ที่พบบ่อย โดยมีความชุกตลอดช่วงชีวิตถึง 12% พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และพบได้ในทุกช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์เลวร้ายที่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึก เช่น การสูญเสีย ความผิดหวังหรือการหย่าร้าง การเป็นโรคนี้ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลวหรือไม่มี ความสามารถ เพราะมีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยันว่าโรคซึมเศร้ามีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการทางานของระบบสมองที่ ผิดปกติ ในปัจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทางจิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิด ผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางานและความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง นาไปสู่ภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงขึ้น สัญญาณอาการของโรคซึมเศร้าในเด็ก อาการของโรคซึมเศร้าในเด็กแต่ละคนอาจแตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้ปกครองอาจสังเกตบุตรหลานของตนว่า เสี่ยงต่อ การป่วยเป็นโรคซึมเศร้าหรือไม่ได้จากสัญญาณอาการดังต่อไปนี้ 1. อารมณ์ที่ซึมเศร้าลง เบื่อหน่ายมากขึ้น หรือบางรายอาจมีอารมณ์หงุดหงิด 2. ไม่มีความสุขความเพลิดเพลินเมื่อทากิจกรรมที่ชอบ 3. ไม่อยากอาหาร น้าหนักลดลง หรือในขณะที่บางรายก็ทานอาหารมากเกินไป 4. นอนไม่หลับ หลับๆตื่นๆ หรือตื่นเร็วกว่าปกติ ในขณะที่บางรายนอนทั้งวัน 5. เฉื่อยชา 6. ไม่มีสมาธิในการเรียน ความจาแย่ลง 7. รู้สึกผิด โทษตัวเอง รู้สึกไร้ค่า 8. อยากฆ่าตัวตาย สาเหตุของโรคซึมเศร้าในเด็ก มักประกอบไปด้วย ทางชีวภาพ เกิดจาก 1. พันธุกรรม ถ้ามีประวัติโรคซึมเศร้าในครอบครัว ก็จะทาให้เด็กมีโอกาสป่วยด้วยโรคซึมเศร้า มากกว่าเด็กทั่วไป 2. ยาบางชนิดสามารถทาให้เป็นโรคซึมเศร้าได้ เช่น ยาเคมีบาบัด ยาลดความดัน สารเสพติด เป็นต้น 3. โรคบางชนิด เช่นโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง เป็นต้น ทางสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ประกอบไปด้วย ความเครียด ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาในครอบครัว การทะเลาะกับแฟน ผลการเรียนตก การคบเพื่อน ถูกเพื่อนกลั่นแกล้งเสมอ ๆ หรือรู้สึกไม่ชอบ กลัว กังวล กับบุคคลรอบข้าง หรือ เด็กขาด ความมั่นใจในตนเอง กลัวการแข่งขัน
  • 4. 4 วิธีรับมือกับโรคซึมเศร้าในเด็ก หากผู้ปกครองพบว่าบุตรหลานป่วยเป็นโรคซึมเศร้า อาจขอรับคาปรึกษาจากสายด่วนสุขภาพจิตโดยโทร 1323 หรือทานัดหมายและพาผู้ป่วยเข้าพบกุมารแพทย์หรือจิตแพทย์เด็ก รวมถึงให้ผู้ป่วยเข้ารับการบาบัดจากนัก บาบัดทางจิตเวชอย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองเองก็เป็นส่วนสาคัญในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เพื่อช่วยให้เด็กที่ป่วยเป็นโรค ซึมเศร้ารับมือกับภาวะนี้ได้ซึ่งอาจปฏิบัติตามคาแนะนาดังต่อไปนี้ ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างครบถ้วน นอนหลับให้เพียงพอ รวมถึงทากิจกรรม ที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายเป็นประจา เพราะอาจช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้นได้ คอยพูดคุยและรับฟังผู้ป่วยอยู่เสมอ เพื่อให้ ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงรับฟังและทาความเข้าใจว่าผู้ป่วยรู้สึกอย่างไร หากผู้ป่วยปฏิเสธการพูดคุยก็ควรแสดงให้เห็นว่าผู้ปกครองพร้อมจะอยู่เคียงข้างเด็กเสมอ หรืออาจโน้มน้าว ให้ผู้ป่วยลองพูดคุยกับผู้ที่เด็กไว้วางใจแทน เช่น สมาชิกคนอื่น ๆ ในครอบครัว เพื่อน ครูหรือคนรู้จักที่โรงเรียน เป็น ต้น นอกจากนี้การพูดคุยกับผู้ที่สนิทกับผู้ป่วยก็อาจช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจผู้ป่วยมากขึ้นได้ควรใช้เวลาร่วมกับผู้ป่วยให้ มากขึ้น โดยอาจทากิจกรรมที่ช่วยให้ทั้งครอบครัวผ่อนคลายความเครียด อีกทั้งยังสร้างความสุขและความสนุกสนาน ได้เช่น ไปเดินเล่น เล่นเกม ทาอาหารร่วมกัน หรือดูภาพยนตร์สนุก ๆ ร่วมกัน ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวอาจช่วย กระตุ้นให้ ผู้ป่วยรู้สึกสดชื่นแจ่มใสขึ้น และอาจจัดการกับความรู้สึกเศร้าได้ดีขึ้น หากผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่เกิดจาก โรคซึมเศร้า ออกมาอย่างมีทีท่าไม่พอใจหรือหงุดหงิด ผู้ปกครองควรหลีกเลี่ยงการโต้เถียงหรือการใช้คาพูดที่รุนแรง แต่ควรใช้ ความอดทนและความเข้าใจในการรับมือกับผู้ป่วยแทน เพราะหากผู้ปกครองและผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ก็อาจ ช่วยให้อาการของโรคซึมเศร้านั้นดีขึ้นได้เช่นกัน หากผู้ปกครองพบสัญญาณอันตรายของการฆ่าตัวตายจากโรคซึมเศร้าในเด็ก ควรติดต่อสายด่วนสุขภาพจิต หรือรีบพาผู้ป่วยไปพบแพทย์หรือจิตแพทย์เด็กทันทีเช่น แปรเปลี่ยนความรู้สึกเศร้าเป็นความสุขหรือสงบนิ่งอย่าง รวดเร็ว พูดหรือคิดเรื่องความตายอยู่เสมอ อาการซึมเศร้าที่เด็กเป็นอยู่แย่ลง มีพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจทาให้เสียชีวิตได้ อย่างการขับรถฝ่าไฟแดง แสดงความคิดว่าสิ้นหวัง ไร้หนทาง หรือไร้ค่า จัดการสิ่งต่าง ๆ ไว้เรียบร้อยแล้ว พูดว่าไม่มี ชีวิตอยู่คงจะดีกว่าหรืออยากตาย มีสัญญาณของการจากลาอย่างไปเยี่ยมหรือติดต่อเพื่อนสนิทและคนที่รัก เป็นต้น การรักษาโรคซึมเศร้า การรักษาหลักของโรคซึมเศร้า คือ การพูดคุยให้คาปรึกษาทั้งปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หรือปรึกษาคนรอบ ข้างที่มีแนวทางการช่วยเหลือเราได้การทาจิตบาบัดและการใช้ยากลุ่มต้านเศร้า ผู้ป่วยทีมีอาการรุนแรงอาจจาเป็นต้อง ได้รับการรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถดีขึ้นได้จนสามารถทางานและดารงชีวิตได้อย่างปกติหากได้รับ การรักษาที่เหมาะสม 1.การรักษาด้วยการใช้ยา ยากลุ่มต้านเศร้า (Antidepressants) ยาในกลุ่มนี้ปัจจุบันมีหลากหลายชนิด พบอาการข้างเคียงลดลงและมีจานวนผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษา เพิ่มมากขึ้น โดยแพทย์และผู้ป่วยสามารถทางานร่วมกันในการเลือกยาให้เหมาะสม ยากลุ่มอื่นๆ (Other Medications) ยาในกลุ่มอื่นๆ ที่นามาใช้ร่วมเพื่อการรักษาภาวะซึมเศร้าในบางราย เช่น ยากลุ่มคลายกังวล ยากลุ่ม สมาธิ ยากลุ่มควบคุมอารมณ์หรือยากลุ่มต้านโรคจิต โดยแพทย์จะพิจารณาจากความ เหมาะสมร่วมกับการตอบสนอง ต่อการรักษาที่ผ่านมา 2.การทาจิตบาบัด จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนหรือเรียนรู้วิธีที่ต่างออกไปในการจัดการปัญหาหรือความท้าทายต่างๆ ที่ เข้ามาในชีวิต รวมถึงปรับเปลี่ยนความคิดและมุมมองต่อสิ่งต่างๆ ในแง่ลบ อันเป็นผลมาจากภาวะซึมเศร้า เช่น จิต บาบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal Psychotherapy) การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและ พฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy) ตัวอย่าง CBT ที่ใช้ในการรักษาคือ Rational Emotive Behavior Therapy (REBT) and Dialectical Behavior Therapy (DBT)
  • 5. 5 3.การรักษาแบบอื่น เช่น การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy or ECT) Transcranial Magnetic Stimulation (TMS) และการกระตุ้นเส้นประสาทเวกัส Vagus Nerve Stimulation วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เริ่มทาการสารวจกลุ่มเด็กที่มีความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าและกลุ่มที่เป็นโรคซึมเศร้า 2.รวบรวมข้อมูลที่ทาการสารวจมาแล้ว 3.ศึกษาผลที่ได้มาและหาวิธีการแก้ไขปัญหา 4.ลงมือทาการช่วยเหลือผู้ป่วยและแก้ปัญหาให้ตรงจุด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ในการใช้โปรแกรมคานวณเป็นตัวเลข 2.แบบสอบถามตรวจค่าความเป็นไปได้ของโรค งบประมาณ งบประมาณในการทาโครงงาน 500-1,000 บาท (รวมค่าเดินทางในการทาการสารวจ) ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ล าดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ณัฏฐาภัชช์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ณัฏฐาภัชช์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ณัฏฐาภัชช์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ณัฏฐาภัชช์ 5 ปรับปรุงทดสอบ ณัฏฐาภัชช์ 6 การทาเอกสารรายงาน ณัฏฐาภัชช์ 7 ประเมินผลงาน ณัฏฐาภัชช์ 8 นาเสนอโครงงาน ณัฏฐาภัชช์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เด็กที่เข้าข่ายการป่วยเป็นโรคซึมเศร้านั้นในที่สุดแล้วไม่เป็นโรคซึมเศร้าเพราะได้รับการช่วยรักษาและหาวิธีป้องกัน ให้อย่างถูกวิธี 2.เด็กที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเข้ารับการรักษาอย่างถูกวิธีพ่อแม่ยอมรับการให้ลูกเข้ารักษา 3.ครอบครัวที่ประสบปัญหาได้รับการช่วยเหลือ 4.อัตราของเด็กที่เป็นโรคซึมเศร้าลดลงและไม่มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้น
  • 6. 6 สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย , ชุมชนในตาบลหนองหอย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาและศาสนาและวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง https://bit.ly/2kQ7KJj https://bit.ly/2HJcNBy https://www.phyathai.com/article_detail.php?id=2123 https://www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/depression https://sites.google.com/site/roksummdd/paccay-seiyng-khxng-rokh https://ww2.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/treatment-of-depression