SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้า (Depression)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.พิมพ์ชนก ศิริไชยโสภณ เลขที่ 40 ชั้น 6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
น.ส.พิมพ์ชนก ศิริไชยโสภณ เลขที่ 40 ชั้น 6/9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคซึมเศร้า
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Depression
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.พิมพ์ชนก ศิริไชยโสภณ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นช่วงอายุใดก็ตามก็ล้วนแต่มีความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่แล้วถ้าพูดถึงคาว่าโรคซึมเศร้าฟัง
ดูไม่คุ้นหู ถ้าพูดถึงเรื่องซึมเศร้ามักจะนึกกันว่าเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากความผิดหวังซึ่งความจริง
แล้ว ที่เราพบกันในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกธรรมดา กันในชีวิตประจาวันถ้า
อารมณ์เศร้าที่เกิดขึ้นนั้นเป็นอยู่นานโดยไม่ดีขึ้น หรือเป็นรุนแรง มีอาการต่างๆ ตามมา เช่น นอนหลับๆ ตื่นๆ เบื่อ
อาหาร น้าหนักลดลงมาก หมดความสนใจต่อโลกภายนอก ไม่คิดอยากมีชีวิตอยู่อีกต่อไป ก็อาจจะเข้าข่ายของโรค
ซึมเศร้าได้คาว่า “โรค” นั้นเป็นความผิดปกติทางการแพทย์ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาเพื่อให้อาการทุเลา
ต่างจากภาวะอารมณ์เศร้าตามปกติธรรมดาที่ถ้าเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัวคลี่คลายลง หรือมีคนเข้าใจเห็นใจ อารมณ์
เศร้านี้ก็อาจหายได้การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า เป็นคนอ่อนแอ คิดมาก หรือเป็นคนไม่สู้ปัญหา เอาแต่
ท้อแท้ซึมเซา แต่ที่เขาเป็นนั้นเป็นเพราะตัวโรค กล่าวได้ว่าถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม โรคก็จะทุเลาลง
เขาก็จะกลับมาเป็นผู้ทีจิตใจแจ่มใส พร้อมจะทากิจวัตรต่างๆได้เป็นปกติ
ดั้งนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงสนใจที่จะศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าและวิเคราะห์หาปัญหาต่างๆรวมถึง
วิธีแก้ปัญหาที่สามารถทาให้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าอาการดีขึ้นได้ไม่มากก็น้อย รวมถึงการพัฒนาคนรอบข้างให้
เข้าใจผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าอีกด้วย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
2. เพื่อศึกษาวิธีการดูแลรักษา
3. เพื่อเป็นสื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
4. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดโรคซึมเศร้าที่มีอัตราเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานเรื่องโรคซึมเศร้า มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโรคซึมเศร้า สาเหตุ อาการ
ผลกระทบ การวินิจฉัย วิธีการดูแลรักษาการป้องกัน และยังมีบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับแนวโน้มของการ
รักษาโรคซึมเศร้าให้หาย ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมีระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สาเหตุ
สาเหตุที่จะกระตุ้นการเกิดโรคสูงเศร้าที่พบบ่อย ก็คือ การมีทั้งความเสี่ยงทางพันธุกรรมทางสภาพ
จิตใจ ประจวบกับการเผชิญกับสถานการณ์เลวร้ายร่วมกันทั้ง 3 ปัจจัย
1. โรคซึมเศร้าเกิดจากความเครียด
ทั้งนี้คนที่ไม่มีญาติเคยป่วยก็อาจเป็นโรคนี้ได้มาก พบว่าผู้ป่วยโรคนี้จะมีความผิดปกติของระดับสารเคมีที่
เซลล์สมองสร้างขึ้นเพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์
2. สภาพทางจิตใจที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงดู
ก็เป็นปัจจัยที่เสี่ยงอีกประการหนึ่งต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน คนที่ขาดความภูมิใจในตนเอง
มองตนเองและโลกที่เขาอยู่ในตลอดเวลา หรือเครียดง่ายเมื่อเจอมรสุมชีวิตล้วนทาให้เขาเหล่านั้นมีโอกาสป่วยง่าย
ขึ้น
3. การเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย
เช่น หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรื่นหรือ
ต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนาก็อาจกระตุ้นให้โลกซึมเศร้ากาเริบได้
อาการ
 โรคซึมเศร้ามีอาการรู้สึกเศร้าใจ หม่นหมอง หงุดหงิด หรือรู้สึกกังวลใจ ไม่สบายใจ
 ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง หรือสิ่งที่เคยให้ความสนุกสนานในอดีต
 น้าหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้น ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลงไป
 นอนไม่หลับ หรือนอนมากเกินกว่าปกติ
 คนที่เป็นโรคซึมเศร้า จะรู้สึกผิด สิ้นหวัง หรือรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า
4
 ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถตัดสินใจเองได้ความจาแย่ลง
 อ่อนเพลีย เมื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรง
 กระวนกระวาย ไม่อยากทากิจกรรมใดๆ
 คิดถึงแต่ความตาย และอยากที่จะฆ่าตัวตาย
การรักษาโรคซึมเศร้า
1. การรักษาทางจิตใจของผู้ป่ วยโรคซึมเศร้า
มีวิธีรักษาทางจิตใจอยู่หลายรูปแบบ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ซึ่งอาจเป็นการ ”พูดคุย” กับ
จิตแพทย์10 ถึง 20 ครั้ง อันจะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจกับสาเหตุของปัญหาและนาไปสู่การแก้ไขปัญหา โดย
การเปลี่ยนมุมมองกับแพทย์การรักษาทางพฤติกรรมจะช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีที่จะได้รับความพอใจ หรือความสุข
จากการกระทาของเขาและพบวิธีที่จะหยุดพฤติกรรมที่ อาจนาไปสู่ความซึมเศร้าด้วย
2. รักษาโรคซึมเศร้าด้วยการใช้ยา
ยารักษาโรคซึมเศร้าออกฤทธิ์โดยปรับระดับสารเคมีในสมองให้สมดุล เป็นการรักษาโรคโดยตรงมิใช่เป็น
เพียงยาที่ทาให้ง่วงหลับ จะได้ไม่ต้องคิดมากเช่นที่คนมักเข้าใจผิดกัน ผู้ป่วยส่วนใหญ่ มักต้องการหยุดกินยาเร็วกว่า
ที่ควรเป็น ข้อสาคัญและพึงปฏิบัติที่สุดก็คือการกินยาอย่างต่อเนื่อง จนกว่าแพทย์จะบอกให้ท่านหยุด ถึงแม้ว่าจะ
รู้สึกดีขึ้นแล้วก็ตามยาบางตัวต้องค่อยๆลดขนาดลง เพื่อให้โอกาสร่างกายปรับตัว
โรคซึมเศร้าในแต่ละช่วงวัย
1. โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้ชาย
ว่ากันว่าจานวนของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เป็นผู้ชายจะพบได้น้อยกว่าผู้หญิง แต่น่าแปลกที่อัตราการฆ่าตัว
ตายในผู้ชายมีมากกว่า ซึ่งเมื่อเพศชายป่วยเป็นโรคซึมเศร้าแล้ว โอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจก็มีสูงมาก ส่วนใหญ่
มักใช้ยาเสพติดและเครื่องที่มีแอลกอฮอล์เป็นตัวช่วยแก้ปัญหาภาวะซึมเศร้านั้นบางรายก็ตั้งหน้าตั้งตาทางานให้
หนัก ถึงแม้จะหงุดหงิดง่าย โกรธง่าย แต่ก็ไม่เคยท้อแท้
2.โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้หญิง
จากตรวจพบก็ทาให้รู้ว่าในผู้หญิงนั้นเป็นโรคซึมเศร้าในจานวนที่มากกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า ซึ่งเชื่อว่าเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน อาทิ มีประจาเดือน การตั้งครรภ์ ภาวะหลังคลอด หรือการเข้าสู่วัยทอง อีกทั้ง
ในชีวิตของพวกเขายังจะต้องรับผิดชอบในหลายๆ อย่างทั้งในบ้านและนอกบ้าน ทาให้เกิดความเครียด ในการ
รักษาก็ทาได้แค่ให้เข้ากาลังใจและทาความเข้าใจกับผู้ป่วยให้มากที่สุด
3.โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในเด็ก
ในเด็กโอกาสที่จะเกิดโรคนี้ก็มีเช่นกัน อาการที่สังเกตเห็นได้ในเด็กเล็ก อาทิ ไม่ไปโรงเรียน แกล้งทาเป็น
ป่วย ติดพ่อแม่ หรือเป็นกังวลกลัวว่าพ่อแม่จะเสียชีวิต ส่วนในเด็กโตก็จะมีอาการเงียบ ไม่ยอมพูดยอมจา , มักมี
ปัญหาที่โรงเรียน , มองโลกในแง่ร้าย
5
4.โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุ
แล้วการเข้าสู่วัยทองนั้นมักทาให้อารมณ์ผกผันไม่เป็นปกติ ซึ่งคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็นเรื่องธรรมดาของ
คนวัยนี้ แต่ในความเป็นจริงแล้วกลับไม่ใช่เสียทั้งหมด เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่จะแสดงอาการออกทางกายซะมาก
โดยตัวยาที่ใช้ก็จะมีผลข้างเคียงที่ทาให้เกิดอาการของโรคซึมเศร้าได้เช่นกัน หากส่งตัวเข้ารับการวินิจฉัยและรักษา
ก็จะทาให้การใช้ชีวิตของผู้ป่วยในวัยนี้มีความสุขอย่างแน่นอน
วิธีการป้องกัน
 อย่านาตัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน
 อย่าตั้งเป้าหมายที่บรรลุได้ยาก หรือเข้าไปแบกความรับผิดชอบมากๆ
 พยายามย่อยงานใหญ่ให้เป็นงานเล็ก เลือกทาที่สาคัญกว่าก่อน แล้วทาให้เต็มที่เท่าที่จะเป็นไปได้
 อย่าคาดหวังกับตนเองมากเกินไป เพราะนั่นคือ คุณกาลังสร้างความล้มเหลว
 ร่วมกิจกรรมที่คุณอาจเพลินใจ เช่น การออกกาลังกาย ดูหนัง ดูกีฬา เข้ากิจกรรมทางศาสนาหรือสังคม แต่
อย่าหักโหมหรือหงุดหงิด ถ้ามันไม่ช่วยให้คุณรู้สึกสบายใจขึ้นอย่างทันใจ เพราะอาจใช้เวลาบ้าง
 อย่าด่วนตัดสินใจกับเรื่องใหญ่ๆ ในชีวิต เช่น ลาออก เปลี่ยนงาน แต่งงาน หรือหย่า โดยไม่ปรึกษาคนอื่นที่
รู้จักคุณดีและ มีมุมมองที่เป็นกลางต่อปัญหาพอ ไม่ว่าด้วยเหตุใด พยายามเลื่อนการตัดสินใจออกไปก่อน
จนกว่าอาการป่วยของคุณจะดีขึ้น
 อย่าหวังว่าจะหายจากอาการซึมเศร้าแบบ “ลัดนิ้วมือเดียว” เพราะเป็นไปได้ยาก จงพยายามช่วยตนเองให้
มากที่สุด โดยไม่โทษตนเองว่า ที่ไม่หายเพราะตนเองไม่พยายามหรือไม่ดีพอ
 พึงระลึกว่า จะไม่ยอมรับความคิดในแง่ร้าย บอกตนเองว่ามันเป็นสวนหนึ่งของอาการของโรค และจะ
หายไปเมื่ออาการของโรคดีขึ้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
6
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้ามากขึ้น
2.บุคคลทั่วไปได้ตระหนักถึงความสาคัญเห็นถึงผลกระทบที่ร้ายแรงของโรคซึมเศร้าเป็นแนวทางป้องกัน
ก่อนที่โรคนี้จะเกิดกับตนและคนรอบข้าง
3.บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าและนาไปปฏิบัติได้จริง
4.พัฒนาทักษะความสามารถในการสร้างเว็บบล็อก งานกราฟิก การใช้คอมพิวเตอร์ นาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้
7
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
sanook.com. (2562) ทาความรู้จัก "โรคซึมเศร้า" และวิธีการดูแล ฟื้นฟู จิตใจ. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2562,
จากเว็บไซต์: https://www.sanook.com/health/721/?fbclid=IwAR2RwaMtCiwnayx0BBIyG_lm-
0F4sNJ2zPLiHe1UnRpDbK_apFlRRJfYvrw
med.mahidol. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560) โรคซึมเศร้าโดย
ละเอียด. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017?fbclid=IwAR13-
gRn6Z3Vqwqth6iFr6nOhJNvpOrB7U1sWi-Kp-JMt5w8VuGDsFO5jT8

More Related Content

What's hot

2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser8b423e
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weedssuser8b5bea
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)sunsumm
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 

What's hot (20)

Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
at1
at1at1
at1
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Activity 1
Activity 1Activity 1
Activity 1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)(Bipolar disorder)
(Bipolar disorder)
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 

Similar to 2562 final-project 40-609_pimchanok

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยNarrongdej3110
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10buakhamlungkham
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าNattanichaYRC
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขNattanichaYRC
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32ssuser015151
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32ssuser015151
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610patittaoumm
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610patittaoumm
 

Similar to 2562 final-project 40-609_pimchanok (20)

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final project-32
2562 final project-322562 final project-32
2562 final project-32
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project-32
2562 final-project-322562 final-project-32
2562 final-project-32
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 

2562 final-project 40-609_pimchanok

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้า (Depression) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.พิมพ์ชนก ศิริไชยโสภณ เลขที่ 40 ชั้น 6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม น.ส.พิมพ์ชนก ศิริไชยโสภณ เลขที่ 40 ชั้น 6/9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคซึมเศร้า ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Depression ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.พิมพ์ชนก ศิริไชยโสภณ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นช่วงอายุใดก็ตามก็ล้วนแต่มีความเครียด ซึ่งส่วนใหญ่แล้วถ้าพูดถึงคาว่าโรคซึมเศร้าฟัง ดูไม่คุ้นหู ถ้าพูดถึงเรื่องซึมเศร้ามักจะนึกกันว่าเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากความผิดหวังซึ่งความจริง แล้ว ที่เราพบกันในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกธรรมดา กันในชีวิตประจาวันถ้า อารมณ์เศร้าที่เกิดขึ้นนั้นเป็นอยู่นานโดยไม่ดีขึ้น หรือเป็นรุนแรง มีอาการต่างๆ ตามมา เช่น นอนหลับๆ ตื่นๆ เบื่อ อาหาร น้าหนักลดลงมาก หมดความสนใจต่อโลกภายนอก ไม่คิดอยากมีชีวิตอยู่อีกต่อไป ก็อาจจะเข้าข่ายของโรค ซึมเศร้าได้คาว่า “โรค” นั้นเป็นความผิดปกติทางการแพทย์ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาเพื่อให้อาการทุเลา ต่างจากภาวะอารมณ์เศร้าตามปกติธรรมดาที่ถ้าเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัวคลี่คลายลง หรือมีคนเข้าใจเห็นใจ อารมณ์ เศร้านี้ก็อาจหายได้การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า เป็นคนอ่อนแอ คิดมาก หรือเป็นคนไม่สู้ปัญหา เอาแต่ ท้อแท้ซึมเซา แต่ที่เขาเป็นนั้นเป็นเพราะตัวโรค กล่าวได้ว่าถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม โรคก็จะทุเลาลง เขาก็จะกลับมาเป็นผู้ทีจิตใจแจ่มใส พร้อมจะทากิจวัตรต่างๆได้เป็นปกติ ดั้งนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงสนใจที่จะศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าและวิเคราะห์หาปัญหาต่างๆรวมถึง วิธีแก้ปัญหาที่สามารถทาให้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าอาการดีขึ้นได้ไม่มากก็น้อย รวมถึงการพัฒนาคนรอบข้างให้ เข้าใจผู้ที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าอีกด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า 2. เพื่อศึกษาวิธีการดูแลรักษา 3. เพื่อเป็นสื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า 4. เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดโรคซึมเศร้าที่มีอัตราเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานเรื่องโรคซึมเศร้า มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโรคซึมเศร้า สาเหตุ อาการ ผลกระทบ การวินิจฉัย วิธีการดูแลรักษาการป้องกัน และยังมีบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับแนวโน้มของการ รักษาโรคซึมเศร้าให้หาย ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมีระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สาเหตุ สาเหตุที่จะกระตุ้นการเกิดโรคสูงเศร้าที่พบบ่อย ก็คือ การมีทั้งความเสี่ยงทางพันธุกรรมทางสภาพ จิตใจ ประจวบกับการเผชิญกับสถานการณ์เลวร้ายร่วมกันทั้ง 3 ปัจจัย 1. โรคซึมเศร้าเกิดจากความเครียด ทั้งนี้คนที่ไม่มีญาติเคยป่วยก็อาจเป็นโรคนี้ได้มาก พบว่าผู้ป่วยโรคนี้จะมีความผิดปกติของระดับสารเคมีที่ เซลล์สมองสร้างขึ้นเพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์ 2. สภาพทางจิตใจที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงดู ก็เป็นปัจจัยที่เสี่ยงอีกประการหนึ่งต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน คนที่ขาดความภูมิใจในตนเอง มองตนเองและโลกที่เขาอยู่ในตลอดเวลา หรือเครียดง่ายเมื่อเจอมรสุมชีวิตล้วนทาให้เขาเหล่านั้นมีโอกาสป่วยง่าย ขึ้น 3. การเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย เช่น หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรื่นหรือ ต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนาก็อาจกระตุ้นให้โลกซึมเศร้ากาเริบได้ อาการ  โรคซึมเศร้ามีอาการรู้สึกเศร้าใจ หม่นหมอง หงุดหงิด หรือรู้สึกกังวลใจ ไม่สบายใจ  ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง หรือสิ่งที่เคยให้ความสนุกสนานในอดีต  น้าหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้น ความอยากอาหารเปลี่ยนแปลงไป  นอนไม่หลับ หรือนอนมากเกินกว่าปกติ  คนที่เป็นโรคซึมเศร้า จะรู้สึกผิด สิ้นหวัง หรือรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า
  • 4. 4  ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถตัดสินใจเองได้ความจาแย่ลง  อ่อนเพลีย เมื่อยล้า ไม่มีเรี่ยวแรง  กระวนกระวาย ไม่อยากทากิจกรรมใดๆ  คิดถึงแต่ความตาย และอยากที่จะฆ่าตัวตาย การรักษาโรคซึมเศร้า 1. การรักษาทางจิตใจของผู้ป่ วยโรคซึมเศร้า มีวิธีรักษาทางจิตใจอยู่หลายรูปแบบ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ซึ่งอาจเป็นการ ”พูดคุย” กับ จิตแพทย์10 ถึง 20 ครั้ง อันจะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจกับสาเหตุของปัญหาและนาไปสู่การแก้ไขปัญหา โดย การเปลี่ยนมุมมองกับแพทย์การรักษาทางพฤติกรรมจะช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีที่จะได้รับความพอใจ หรือความสุข จากการกระทาของเขาและพบวิธีที่จะหยุดพฤติกรรมที่ อาจนาไปสู่ความซึมเศร้าด้วย 2. รักษาโรคซึมเศร้าด้วยการใช้ยา ยารักษาโรคซึมเศร้าออกฤทธิ์โดยปรับระดับสารเคมีในสมองให้สมดุล เป็นการรักษาโรคโดยตรงมิใช่เป็น เพียงยาที่ทาให้ง่วงหลับ จะได้ไม่ต้องคิดมากเช่นที่คนมักเข้าใจผิดกัน ผู้ป่วยส่วนใหญ่ มักต้องการหยุดกินยาเร็วกว่า ที่ควรเป็น ข้อสาคัญและพึงปฏิบัติที่สุดก็คือการกินยาอย่างต่อเนื่อง จนกว่าแพทย์จะบอกให้ท่านหยุด ถึงแม้ว่าจะ รู้สึกดีขึ้นแล้วก็ตามยาบางตัวต้องค่อยๆลดขนาดลง เพื่อให้โอกาสร่างกายปรับตัว โรคซึมเศร้าในแต่ละช่วงวัย 1. โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้ชาย ว่ากันว่าจานวนของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เป็นผู้ชายจะพบได้น้อยกว่าผู้หญิง แต่น่าแปลกที่อัตราการฆ่าตัว ตายในผู้ชายมีมากกว่า ซึ่งเมื่อเพศชายป่วยเป็นโรคซึมเศร้าแล้ว โอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจก็มีสูงมาก ส่วนใหญ่ มักใช้ยาเสพติดและเครื่องที่มีแอลกอฮอล์เป็นตัวช่วยแก้ปัญหาภาวะซึมเศร้านั้นบางรายก็ตั้งหน้าตั้งตาทางานให้ หนัก ถึงแม้จะหงุดหงิดง่าย โกรธง่าย แต่ก็ไม่เคยท้อแท้ 2.โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้หญิง จากตรวจพบก็ทาให้รู้ว่าในผู้หญิงนั้นเป็นโรคซึมเศร้าในจานวนที่มากกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า ซึ่งเชื่อว่าเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน อาทิ มีประจาเดือน การตั้งครรภ์ ภาวะหลังคลอด หรือการเข้าสู่วัยทอง อีกทั้ง ในชีวิตของพวกเขายังจะต้องรับผิดชอบในหลายๆ อย่างทั้งในบ้านและนอกบ้าน ทาให้เกิดความเครียด ในการ รักษาก็ทาได้แค่ให้เข้ากาลังใจและทาความเข้าใจกับผู้ป่วยให้มากที่สุด 3.โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในเด็ก ในเด็กโอกาสที่จะเกิดโรคนี้ก็มีเช่นกัน อาการที่สังเกตเห็นได้ในเด็กเล็ก อาทิ ไม่ไปโรงเรียน แกล้งทาเป็น ป่วย ติดพ่อแม่ หรือเป็นกังวลกลัวว่าพ่อแม่จะเสียชีวิต ส่วนในเด็กโตก็จะมีอาการเงียบ ไม่ยอมพูดยอมจา , มักมี ปัญหาที่โรงเรียน , มองโลกในแง่ร้าย
  • 5. 5 4.โรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุ แล้วการเข้าสู่วัยทองนั้นมักทาให้อารมณ์ผกผันไม่เป็นปกติ ซึ่งคนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็นเรื่องธรรมดาของ คนวัยนี้ แต่ในความเป็นจริงแล้วกลับไม่ใช่เสียทั้งหมด เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่จะแสดงอาการออกทางกายซะมาก โดยตัวยาที่ใช้ก็จะมีผลข้างเคียงที่ทาให้เกิดอาการของโรคซึมเศร้าได้เช่นกัน หากส่งตัวเข้ารับการวินิจฉัยและรักษา ก็จะทาให้การใช้ชีวิตของผู้ป่วยในวัยนี้มีความสุขอย่างแน่นอน วิธีการป้องกัน  อย่านาตัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน  อย่าตั้งเป้าหมายที่บรรลุได้ยาก หรือเข้าไปแบกความรับผิดชอบมากๆ  พยายามย่อยงานใหญ่ให้เป็นงานเล็ก เลือกทาที่สาคัญกว่าก่อน แล้วทาให้เต็มที่เท่าที่จะเป็นไปได้  อย่าคาดหวังกับตนเองมากเกินไป เพราะนั่นคือ คุณกาลังสร้างความล้มเหลว  ร่วมกิจกรรมที่คุณอาจเพลินใจ เช่น การออกกาลังกาย ดูหนัง ดูกีฬา เข้ากิจกรรมทางศาสนาหรือสังคม แต่ อย่าหักโหมหรือหงุดหงิด ถ้ามันไม่ช่วยให้คุณรู้สึกสบายใจขึ้นอย่างทันใจ เพราะอาจใช้เวลาบ้าง  อย่าด่วนตัดสินใจกับเรื่องใหญ่ๆ ในชีวิต เช่น ลาออก เปลี่ยนงาน แต่งงาน หรือหย่า โดยไม่ปรึกษาคนอื่นที่ รู้จักคุณดีและ มีมุมมองที่เป็นกลางต่อปัญหาพอ ไม่ว่าด้วยเหตุใด พยายามเลื่อนการตัดสินใจออกไปก่อน จนกว่าอาการป่วยของคุณจะดีขึ้น  อย่าหวังว่าจะหายจากอาการซึมเศร้าแบบ “ลัดนิ้วมือเดียว” เพราะเป็นไปได้ยาก จงพยายามช่วยตนเองให้ มากที่สุด โดยไม่โทษตนเองว่า ที่ไม่หายเพราะตนเองไม่พยายามหรือไม่ดีพอ  พึงระลึกว่า จะไม่ยอมรับความคิดในแง่ร้าย บอกตนเองว่ามันเป็นสวนหนึ่งของอาการของโรค และจะ หายไปเมื่ออาการของโรคดีขึ้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 6. 6 งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้ามากขึ้น 2.บุคคลทั่วไปได้ตระหนักถึงความสาคัญเห็นถึงผลกระทบที่ร้ายแรงของโรคซึมเศร้าเป็นแนวทางป้องกัน ก่อนที่โรคนี้จะเกิดกับตนและคนรอบข้าง 3.บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าและนาไปปฏิบัติได้จริง 4.พัฒนาทักษะความสามารถในการสร้างเว็บบล็อก งานกราฟิก การใช้คอมพิวเตอร์ นาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้
  • 7. 7 สถานที่ดาเนินการ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) sanook.com. (2562) ทาความรู้จัก "โรคซึมเศร้า" และวิธีการดูแล ฟื้นฟู จิตใจ. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.sanook.com/health/721/?fbclid=IwAR2RwaMtCiwnayx0BBIyG_lm- 0F4sNJ2zPLiHe1UnRpDbK_apFlRRJfYvrw med.mahidol. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560) โรคซึมเศร้าโดย ละเอียด. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017?fbclid=IwAR13- gRn6Z3Vqwqth6iFr6nOhJNvpOrB7U1sWi-Kp-JMt5w8VuGDsFO5jT8