SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน "โรคไบโพลาร์" โรคอารมณ์สองขั้ว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวธัญญารัตน์ สมติ๊บ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม นางสาวธัญญารัตน์ สมติ๊บ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง11
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
"โรคไบโพลาร์" โรคอารมณ์สองขั้ว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bipolar disorder
ประเภทโครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธัญญารัตน์ สมติ๊บ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง11
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจาก โรคไบโพลาร์ (Bipolar) เป็นโรคทางอารมณ์ ทาให้ผู้ป่วยเป็นคนสองบุคลิก สาหรับโรค
ไบโพลาร์ (Bipolar) นี้ เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า แต่
โรคซึมเศร้านั้นคือ โรคอารมณ์ที่ชัดเจน ที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์
ช่วงหนึ่งจะมี ลักษณะครื้นเครง รื่นเริง สนุกสนานสลับกับอารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง เหตุที่ผู้จัดทา
โครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้เพราะไม่เพียงแต่ผู้จัดทาโครงงานจะได้รับความรู้เท่านั้นแต่ผู้จัดทายัง
สามารถเผยแพร่ต่อผู้แนได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้ทาความเข้าใจโรคไบโพลาร์
2. เพื่อเป็นการแพร่กระจายข้อมูลให้กับผู้คนทั่วไปได้รับรู้
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงานเรื่องโรคไบโพลาร์นี้ตั้งขอบเขตไว้ที่โรคไบโพลาร์เพียงโรคเดียว จะไม่นาโรคที่ไม่ได้
เกี่ยวข้องด้วยเข้ามา ในโครงงานนี้ โครงงานนี้มีข้อจากัดคือ ปัจจัยเสี่ยง ประเภท อาการ การป้องกัน
และการรักษา แนวทางการรักษา
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นความผิดปกติทางอารมณ์
อย่างหนึ่งผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมาระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major
depressive episode) สลับกับช่วงที่อารมณ์ดีมากเกินปกติ (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละ
ช่วงอาจเป็นอยู่นานหลายสัปดาห์หรือหลายเดือนก็ได้โดยอาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนิน
ชีวิตของผู้ป่วยทั้งในด้านการงาน การประกอบอาชีพ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น และการดูแลตนเอง
อย่างมาก ทาให้ไม่สามารถดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างเป็นปกติ
อัตราการเกิดโรคครั้งแรกพบบ่อยที่สุดที่ช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมา คือ อายุ 20-24 ปี โดยกว่า
ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยจะมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี Bipolar Disorder ถือเป็นโรคที่มีการดาเนินโรค
ในระยะยาวเรื้อรัง และเป็นโรคที่มีโอกาสกลับเป็นซ้าได้สูง ประมาณ 70-90%
สาเหตุ
ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของความผิดปกติทางอารมณ์นั้นมีได้หลายสาเหตุ ดังนี้
ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาท ในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมน
ต่างๆ ในร่างกาย , การนอนหลับที่ผิดปกติ, ความผิดปกติของการทางานในส่วนต่างๆ ของสมองที่
เกี่ยวข้องกับการควบคุมอารมณ์
ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความเครียด หรือปัญหาต่าง ๆ ภายในชีวิตได้ก็
สามารถกระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยทางสังคมไม่ใช่
สาเหตุของโรค แต่อาจเป็นตัวกระตุ้นให้โรคแสดงอาการได้
ปัจจัยทางพันธุศาสตร์ ขณะนี้ยังไม่ทราบรูปแบบของการถ่ายทอดผ่านยีนที่ชัดเจนของโรค แต่จาก
การศึกษาพบว่าสามารถพบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่วยเป็น bipolar มากกว่าในประชากร
ทั่วไป
4
อาการ
-Bipolar Disorder อาจแบ่งกลุ่มกว้าง ๆ ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
-Bipolar I Disorder คือ มีอาการเมเนีย สลับกับช่วงซึมเศร้า หรืออาจมีอาการเมเนียเพียงอย่างเดียวก็ได้
-Bipolar II Disorder คือ มีอาการซึมเศร้า สลับกับช่วงไฮโปเมเนีย (hypomania)
อาการในช่วงอารมณ์ซึมเศร้า (Depressive Episode) มีอาการดังต่อไปนี้เกือบตลอดเวลาและเป็น
ติดต่อกันเป็นเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์
-มีอารมณ์ซึมเศร้า (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้) ผู้ป่วยจะรู้สึกเบื่อหน่ายท้อแท้
ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่างๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก อะไรที่เคยชอบทาก็จะไม่
อยากทา แรงจูงใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ก็จะลดลง
-น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหาร
หรือเจริญอาหารมาก
-นอนไม่หลับ อาจมีอาการนอนหลับยาก หรือนอนแล้วตื่นเร็วกว่าปกติ อาจนอนหลับ ๆ ตื่น ทาให้รู้สึก
ไม่สดชื่น หรือผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการนอนหลับมากไป ต้องการนอนทั้งวัน กลางวันหลับมากขึ้น
กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง
-อ่อนเพลีย รู้สึกไม่มีแรงไม่อยากทาอะไร
-รู้สึกตนเองไร้ค่า บางรายอาจรู้สึกสิ้นหวัง มองสิ่งรอบ ๆ ตัวในแง่มุมที่เป็นลบไปหมด รวมถึงอนาคต
ที่ยังมาไม่ถึงด้วย
-สมาธิ และความจาแย่ลง
-คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย
อาการในช่วงที่อารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ (mania หรือ hypomania) ได้แก่
-อารมณ์เปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ร่าเริงมีความสุข เบิกบานใจ หรือหงุดหงิดง่ายก็ได้ซึ่งญาติ
ใกล้ชิดของผู้ป่วยมักจะสังเกตได้ว่าอารมณ์ของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนผิดปกติ ซึ่งอาการที่
เกิดขึ้น จะต้องเป็นติดต่อกันทุกวันอย่างน้อย 1 สัปดาห์
-มีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ผู้ป่วยจะมีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีความสามารถมาก เกินไป เชื่อว่า
ตนเองสาคัญ และยิ่งใหญ่ หรืออาจมีเนื้อหาของความคิดผิดปกติมาก ถึงขั้นว่าตนเองสาคัญ หรือ
ยิ่งใหญ่ เช่น เชื่อว่าตนเองมีอานาจมาก หรือมีพลังอานาจพิเศษ เป็นต้น
-การนอนผิดปกติไป ผู้ป่วยจะมีความต้องการในการนอนลดลง ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกว่านอนแค่ 3
ชั่วโมงก็เพียงพอแล้ว เป็นต้น
5
-ความคิดแล่นเร็ว (flight of idea) ผู้ป่วยจะคิดค่อนข้างเร็ว บางครั้งคิดหลาย ๆ เรื่องพร้อม ๆ กัน คิด
เรื่องหนึ่งไม่ทันจบก็จะคิดเรื่องอื่นทันที บางครั้งอาจแสดงออกมาในรูปของการมีโครงการต่าง ๆ
มากมาย
-พูดเร็วขึ้น เนื่องจากความคิดของผู้ป่วยแล่นเร็ว จึงส่งผลต่อคาพูด ที่แสดงออกมาให้เห็น ผู้ป่วยมักจะ
พูดเร็ว และขัดจังหวะได้ยาก ยิ่งถ้าอาการรุนแรงคาพูดจะดัง และเร็วขึ้นอย่างมากจนบางครั้งยากต่อการ
เข้าใจ
-วอกแวกง่าย ผู้ป่วยจะไม่ค่อยมีสมาธิอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน และความสนใจมักจะเปลี่ยนแปลงไป
ตามสิ่งเร้าภายนอกที่เข้ามากระตุ้นได้ง่าย
-การเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น ในผู้ป่วยบางรายจะทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดเวลา ทั้งที่ทางาน ที่โรงเรียน หรือ
ที่บ้าน มีการเคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้นชัดเจน ไม่สามารถอยู่นิ่ง ๆ ได้
-ยับยั้งชั่งใจไม่ได้ผู้ป่วยเมเนียมักจะแสดงพฤติกรรมที่เกิดจากการยับยั้งชั่งใจไม่ได้เช่น ดื่มสุรามาก ๆ
โทรศัพท์ทางไกลมาก ๆ เล่นการพนัน หรือเสี่ยงโชคอย่างมาก ใช้เงินมากขึ้น ได้
** สาหรับอาการไฮโปเมเนียนั้นจะมีอาการข้างต้นเช่นเดียวกับเมเนีย แต่จะไม่ส่งผลกระทบต่อการทา
หน้าที่ หรือการใช้ชีวิตประจาวันมากนัก และผู้ป่วยต้องมีอาการอย่างน้อยที่สุดนาน 4 วัน **
การรักษา
ประกอบด้วยการใช้ยา การดูแลด้านจิตใจ การปรับพฤติกรรมตลอดจนการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและ
วิธีการรักษาแก่ผู้ป่วยและญาติ
1. การใช้ยา
โดยมากจะเป็นยาที่ช่วยปรับอารมณ์ให้คงที่ และอาจใช้ยาต้านอาการทางจิตและยาต้านเสร้าร่วมด้วย
ยาช่วยปรับให้อารมณ์คงที่ ได้แก่ Lithium
ยาต้านอาการทางจิต ได้แก่ Olanzapine , Aripiprazole , Risperidone , Clozapine
ยาต้านเศร้า ได้แก่ Fluoxetine , Paroxetine , Sertraline
โรคนี้มีอัตราการเป็นซ้าสูงมากถึง 90% ฉะนั้นโดยทั่วไปหลังจากหายแล้ว แพทย์มักแนะนาให้กินยา
ต่ออย่างน้อย 1 ปี เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้า หรืออาจนานกว่านี้ ทั้งนี้ขึ้นกับจานวนครั้งที่เคยเป็นและ
ความรุนแรงในครั้งก่อนๆ ยาไม่ได้ทาให้สมองเสื่อมลงแต่การป่วยซ้าหลายๆครั้งทาให้สมองแย่ลงได้
2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
นอนพักผ่อนให้เพียงพอ
ดูแลสุขภาพทั่วไป เช่น ออกกาลังกาย มีกิจกรรมที่ช่วยคลายเครียด หลีกเลี่ยงสุรา สารเสพติด
กินยาตามแพทย์สั่ง ถ้ามีปัญหาผลข้างเคียงจากยา ควรปรึกษาแพทย์ก่อน ไม่ควรหยุดยาเอง
6
หมั่นสังเกตอารมณ์ของตน เรียนรู้อาการแรกเริ่มของโรค และรีบไปพบแพทย์ก่อนจะมีอาการรุนแรง
มากขึ้น
บอกคนใกล้ชิดถึงอาการเริ่มแรกของโรค ให้ช่วยสังเกตและพาไปพบแพทย์
3. การดูแลจากญาติหรือจากบุคคลใกล้ชิด
เข้าใจว่าอารมณ์และพฤติกรรมที่ผิดปกติเป็นการเจ็บป่วย ไม่ใช่นิสัยของผู้ป่วย
ช่วยดูแลให้ผู้ป่วยกินยา และปฏิบัติตัวตามคาแนะนาของแพทย์
สังเกตอารมณ์ของผู้ป่วย เรียนรู้อาการเริ่มแรกของโรค และรีบพาไปพบแพทย์
ก่อนที่จะมีอาการกาเริบรุนแรง
ช่วยควบคุมการใช้จ่ายและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่ออันตราย ถ้าเห็นว่าผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการอีก
เมื่อผู้ป่วยหายจากอาการ ให้กาลังใจในการกลับไปเรียนหรือทางาน และไม่หยุดยาก่อนปรึกษาแพทย์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครูผู้สอน
-ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเทอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
ไม่มี
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ทาให้ได้ทราบว่าโรคไบโพลาร์คืออะไร
2.ทาให้ทราบถึงสาเหตุการเกิดโรคและวิธีการป้องกัน
3.ทาให้ทราบถึงการรักษาโรค
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
HonestDocs.(2018).”โรคไบโพลาร์ (Bipolar Disorder)”.จากเว็บไซต์
https://www.honestdocs.co/bipolar/bipolar-disorder
โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ในกรุงเทพ.(2018).”โรคไบโพลาร์”.จากเว็บไซต์
https://www.bumrungrad.com/th/mental-health-center-bangkok-thailand/conditions/bipolar-disorder

More Related Content

What's hot

2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyaratthunyaratnatai
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาโครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาPeerapong Densatan
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรsrp Lee
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์bamhattamanee
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 
2562 final-project -602-20_last_ver2
2562 final-project -602-20_last_ver22562 final-project -602-20_last_ver2
2562 final-project -602-20_last_ver2bunz pd
 

What's hot (18)

The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
Boonyisa612
Boonyisa612Boonyisa612
Boonyisa612
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์ขื่อโครงงาน             การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
ขื่อโครงงาน การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยาโครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
โครงร่างโครงงาน-จิตวิทยา
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอร
 
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
โครงงานการทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
2562 final-project -602-20_last_ver2
2562 final-project -602-20_last_ver22562 final-project -602-20_last_ver2
2562 final-project -602-20_last_ver2
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

Similar to (Bipolar disorder) (20)

W.11
W.11W.11
W.11
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 

More from sunsumm

Project 2 3 computer
Project 2 3 computerProject 2 3 computer
Project 2 3 computersunsumm
 
Exercise in-teens
Exercise in-teensExercise in-teens
Exercise in-teenssunsumm
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Assssssssssssssssssssunsumm
 
2561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 186112561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 18611sunsumm
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentationsunsumm
 

More from sunsumm (7)

Project 2 3 computer
Project 2 3 computerProject 2 3 computer
Project 2 3 computer
 
Exercise in-teens
Exercise in-teensExercise in-teens
Exercise in-teens
 
Fat
FatFat
Fat
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Asssssssssssssssssss
 
As
AsAs
As
 
2561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 186112561 project-artificial intelligence 18611
2561 project-artificial intelligence 18611
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 

(Bipolar disorder)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน "โรคไบโพลาร์" โรคอารมณ์สองขั้ว ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวธัญญารัตน์ สมติ๊บ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวธัญญารัตน์ สมติ๊บ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง11 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) "โรคไบโพลาร์" โรคอารมณ์สองขั้ว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bipolar disorder ประเภทโครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธัญญารัตน์ สมติ๊บ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง11 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจาก โรคไบโพลาร์ (Bipolar) เป็นโรคทางอารมณ์ ทาให้ผู้ป่วยเป็นคนสองบุคลิก สาหรับโรค ไบโพลาร์ (Bipolar) นี้ เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคทางด้านเรื่องอารมณ์ กลุ่มเดียวกับโรคซึมเศร้า แต่ โรคซึมเศร้านั้นคือ โรคอารมณ์ที่ชัดเจน ที่มีอารมณ์เบื่อเศร้า แต่โรคไบโพลาร์ จะมีลักษณะที่มีอารมณ์ ช่วงหนึ่งจะมี ลักษณะครื้นเครง รื่นเริง สนุกสนานสลับกับอารมณ์ซึมเศร้าอีกช่วงหนึ่ง เหตุที่ผู้จัดทา โครงงานตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้เพราะไม่เพียงแต่ผู้จัดทาโครงงานจะได้รับความรู้เท่านั้นแต่ผู้จัดทายัง สามารถเผยแพร่ต่อผู้แนได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาและเรียนรู้ทาความเข้าใจโรคไบโพลาร์ 2. เพื่อเป็นการแพร่กระจายข้อมูลให้กับผู้คนทั่วไปได้รับรู้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงานเรื่องโรคไบโพลาร์นี้ตั้งขอบเขตไว้ที่โรคไบโพลาร์เพียงโรคเดียว จะไม่นาโรคที่ไม่ได้ เกี่ยวข้องด้วยเข้ามา ในโครงงานนี้ โครงงานนี้มีข้อจากัดคือ ปัจจัยเสี่ยง ประเภท อาการ การป้องกัน และการรักษา แนวทางการรักษา หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) หรือ โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว เป็นความผิดปกติทางอารมณ์ อย่างหนึ่งผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมาระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับช่วงที่อารมณ์ดีมากเกินปกติ (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละ ช่วงอาจเป็นอยู่นานหลายสัปดาห์หรือหลายเดือนก็ได้โดยอาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนิน ชีวิตของผู้ป่วยทั้งในด้านการงาน การประกอบอาชีพ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น และการดูแลตนเอง อย่างมาก ทาให้ไม่สามารถดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างเป็นปกติ อัตราการเกิดโรคครั้งแรกพบบ่อยที่สุดที่ช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมา คือ อายุ 20-24 ปี โดยกว่า ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยจะมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี Bipolar Disorder ถือเป็นโรคที่มีการดาเนินโรค ในระยะยาวเรื้อรัง และเป็นโรคที่มีโอกาสกลับเป็นซ้าได้สูง ประมาณ 70-90% สาเหตุ ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของความผิดปกติทางอารมณ์นั้นมีได้หลายสาเหตุ ดังนี้ ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาท ในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมน ต่างๆ ในร่างกาย , การนอนหลับที่ผิดปกติ, ความผิดปกติของการทางานในส่วนต่างๆ ของสมองที่ เกี่ยวข้องกับการควบคุมอารมณ์ ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความเครียด หรือปัญหาต่าง ๆ ภายในชีวิตได้ก็ สามารถกระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยทางสังคมไม่ใช่ สาเหตุของโรค แต่อาจเป็นตัวกระตุ้นให้โรคแสดงอาการได้ ปัจจัยทางพันธุศาสตร์ ขณะนี้ยังไม่ทราบรูปแบบของการถ่ายทอดผ่านยีนที่ชัดเจนของโรค แต่จาก การศึกษาพบว่าสามารถพบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่วยเป็น bipolar มากกว่าในประชากร ทั่วไป
  • 4. 4 อาการ -Bipolar Disorder อาจแบ่งกลุ่มกว้าง ๆ ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ -Bipolar I Disorder คือ มีอาการเมเนีย สลับกับช่วงซึมเศร้า หรืออาจมีอาการเมเนียเพียงอย่างเดียวก็ได้ -Bipolar II Disorder คือ มีอาการซึมเศร้า สลับกับช่วงไฮโปเมเนีย (hypomania) อาการในช่วงอารมณ์ซึมเศร้า (Depressive Episode) มีอาการดังต่อไปนี้เกือบตลอดเวลาและเป็น ติดต่อกันเป็นเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ -มีอารมณ์ซึมเศร้า (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้) ผู้ป่วยจะรู้สึกเบื่อหน่ายท้อแท้ ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่างๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก อะไรที่เคยชอบทาก็จะไม่ อยากทา แรงจูงใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ก็จะลดลง -น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหาร หรือเจริญอาหารมาก -นอนไม่หลับ อาจมีอาการนอนหลับยาก หรือนอนแล้วตื่นเร็วกว่าปกติ อาจนอนหลับ ๆ ตื่น ทาให้รู้สึก ไม่สดชื่น หรือผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการนอนหลับมากไป ต้องการนอนทั้งวัน กลางวันหลับมากขึ้น กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง -อ่อนเพลีย รู้สึกไม่มีแรงไม่อยากทาอะไร -รู้สึกตนเองไร้ค่า บางรายอาจรู้สึกสิ้นหวัง มองสิ่งรอบ ๆ ตัวในแง่มุมที่เป็นลบไปหมด รวมถึงอนาคต ที่ยังมาไม่ถึงด้วย -สมาธิ และความจาแย่ลง -คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย อาการในช่วงที่อารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ (mania หรือ hypomania) ได้แก่ -อารมณ์เปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ร่าเริงมีความสุข เบิกบานใจ หรือหงุดหงิดง่ายก็ได้ซึ่งญาติ ใกล้ชิดของผู้ป่วยมักจะสังเกตได้ว่าอารมณ์ของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนผิดปกติ ซึ่งอาการที่ เกิดขึ้น จะต้องเป็นติดต่อกันทุกวันอย่างน้อย 1 สัปดาห์ -มีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ผู้ป่วยจะมีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีความสามารถมาก เกินไป เชื่อว่า ตนเองสาคัญ และยิ่งใหญ่ หรืออาจมีเนื้อหาของความคิดผิดปกติมาก ถึงขั้นว่าตนเองสาคัญ หรือ ยิ่งใหญ่ เช่น เชื่อว่าตนเองมีอานาจมาก หรือมีพลังอานาจพิเศษ เป็นต้น -การนอนผิดปกติไป ผู้ป่วยจะมีความต้องการในการนอนลดลง ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกว่านอนแค่ 3 ชั่วโมงก็เพียงพอแล้ว เป็นต้น
  • 5. 5 -ความคิดแล่นเร็ว (flight of idea) ผู้ป่วยจะคิดค่อนข้างเร็ว บางครั้งคิดหลาย ๆ เรื่องพร้อม ๆ กัน คิด เรื่องหนึ่งไม่ทันจบก็จะคิดเรื่องอื่นทันที บางครั้งอาจแสดงออกมาในรูปของการมีโครงการต่าง ๆ มากมาย -พูดเร็วขึ้น เนื่องจากความคิดของผู้ป่วยแล่นเร็ว จึงส่งผลต่อคาพูด ที่แสดงออกมาให้เห็น ผู้ป่วยมักจะ พูดเร็ว และขัดจังหวะได้ยาก ยิ่งถ้าอาการรุนแรงคาพูดจะดัง และเร็วขึ้นอย่างมากจนบางครั้งยากต่อการ เข้าใจ -วอกแวกง่าย ผู้ป่วยจะไม่ค่อยมีสมาธิอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน และความสนใจมักจะเปลี่ยนแปลงไป ตามสิ่งเร้าภายนอกที่เข้ามากระตุ้นได้ง่าย -การเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น ในผู้ป่วยบางรายจะทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดเวลา ทั้งที่ทางาน ที่โรงเรียน หรือ ที่บ้าน มีการเคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้นชัดเจน ไม่สามารถอยู่นิ่ง ๆ ได้ -ยับยั้งชั่งใจไม่ได้ผู้ป่วยเมเนียมักจะแสดงพฤติกรรมที่เกิดจากการยับยั้งชั่งใจไม่ได้เช่น ดื่มสุรามาก ๆ โทรศัพท์ทางไกลมาก ๆ เล่นการพนัน หรือเสี่ยงโชคอย่างมาก ใช้เงินมากขึ้น ได้ ** สาหรับอาการไฮโปเมเนียนั้นจะมีอาการข้างต้นเช่นเดียวกับเมเนีย แต่จะไม่ส่งผลกระทบต่อการทา หน้าที่ หรือการใช้ชีวิตประจาวันมากนัก และผู้ป่วยต้องมีอาการอย่างน้อยที่สุดนาน 4 วัน ** การรักษา ประกอบด้วยการใช้ยา การดูแลด้านจิตใจ การปรับพฤติกรรมตลอดจนการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและ วิธีการรักษาแก่ผู้ป่วยและญาติ 1. การใช้ยา โดยมากจะเป็นยาที่ช่วยปรับอารมณ์ให้คงที่ และอาจใช้ยาต้านอาการทางจิตและยาต้านเสร้าร่วมด้วย ยาช่วยปรับให้อารมณ์คงที่ ได้แก่ Lithium ยาต้านอาการทางจิต ได้แก่ Olanzapine , Aripiprazole , Risperidone , Clozapine ยาต้านเศร้า ได้แก่ Fluoxetine , Paroxetine , Sertraline โรคนี้มีอัตราการเป็นซ้าสูงมากถึง 90% ฉะนั้นโดยทั่วไปหลังจากหายแล้ว แพทย์มักแนะนาให้กินยา ต่ออย่างน้อย 1 ปี เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้า หรืออาจนานกว่านี้ ทั้งนี้ขึ้นกับจานวนครั้งที่เคยเป็นและ ความรุนแรงในครั้งก่อนๆ ยาไม่ได้ทาให้สมองเสื่อมลงแต่การป่วยซ้าหลายๆครั้งทาให้สมองแย่ลงได้ 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นอนพักผ่อนให้เพียงพอ ดูแลสุขภาพทั่วไป เช่น ออกกาลังกาย มีกิจกรรมที่ช่วยคลายเครียด หลีกเลี่ยงสุรา สารเสพติด กินยาตามแพทย์สั่ง ถ้ามีปัญหาผลข้างเคียงจากยา ควรปรึกษาแพทย์ก่อน ไม่ควรหยุดยาเอง
  • 6. 6 หมั่นสังเกตอารมณ์ของตน เรียนรู้อาการแรกเริ่มของโรค และรีบไปพบแพทย์ก่อนจะมีอาการรุนแรง มากขึ้น บอกคนใกล้ชิดถึงอาการเริ่มแรกของโรค ให้ช่วยสังเกตและพาไปพบแพทย์ 3. การดูแลจากญาติหรือจากบุคคลใกล้ชิด เข้าใจว่าอารมณ์และพฤติกรรมที่ผิดปกติเป็นการเจ็บป่วย ไม่ใช่นิสัยของผู้ป่วย ช่วยดูแลให้ผู้ป่วยกินยา และปฏิบัติตัวตามคาแนะนาของแพทย์ สังเกตอารมณ์ของผู้ป่วย เรียนรู้อาการเริ่มแรกของโรค และรีบพาไปพบแพทย์ ก่อนที่จะมีอาการกาเริบรุนแรง ช่วยควบคุมการใช้จ่ายและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่ออันตราย ถ้าเห็นว่าผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการอีก เมื่อผู้ป่วยหายจากอาการ ให้กาลังใจในการกลับไปเรียนหรือทางาน และไม่หยุดยาก่อนปรึกษาแพทย์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครูผู้สอน -ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเทอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ ไม่มี
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ทาให้ได้ทราบว่าโรคไบโพลาร์คืออะไร 2.ทาให้ทราบถึงสาเหตุการเกิดโรคและวิธีการป้องกัน 3.ทาให้ทราบถึงการรักษาโรค สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) HonestDocs.(2018).”โรคไบโพลาร์ (Bipolar Disorder)”.จากเว็บไซต์ https://www.honestdocs.co/bipolar/bipolar-disorder โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ในกรุงเทพ.(2018).”โรคไบโพลาร์”.จากเว็บไซต์ https://www.bumrungrad.com/th/mental-health-center-bangkok-thailand/conditions/bipolar-disorder