SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาสารเสพติด
ชื่อผู้ทำโครงงาน
ชื่อ.นางสาว สิริลักษณ์ คำแสง เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว สิริลักษณ์ คำแสง เลขที่ 24 ชั้นม.6/6
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาสารเสพติด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Drug problems
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว สิริลักษณ์ คำแสง ชั้น ม.6/6 เลขที่ 24
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน)
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ
ซึ่งบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก
ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปามไม่ให้มีการเสพ
การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด
แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาใหม่ที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อต่อการดำเนินการ
และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยที่เดียวเท่านั้น ประเทศอื่นๆก็มีการเสพ การซื้อขาย
และการผลิตยาเสพติดอยู่จำนวนมากและ ข้าพเจ้าก็ได้ศึกษาและพบว่าปัญหานี้เป็นปัญหาที่ใหญ่พอสมควร
ข้าพเจ้าเลยคิดโครงงานนี้เพื่อศึกษาหาความรู้ เกี่ยวกับการติดสารเสพติดในปัจจุบันของคนไทยในสังคมไทย
และเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากยาเสพติดของคนไทย
และเพื่อเผยแผ่ความรู้ในการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยและห่างไกลยาเสพติด
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้รู้วิธีป้องกันและหลีกเลี่ยงให้ห่างไกลจากยาเสพติด
2.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด
3.เพื่อให้รู้โทษภัยและอันตรายจากยาเสพติด
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน)
1.รู้จักการป้องกันสารเสพติดที่ถูกวิธี
2.เข้าใจคำว่าสารเสพติดอย่างถูกต้อง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน)
ความหมายของยาเสพติด
พระราชบัญญัติยาเสพติด พ.ศ.2522 กำหนดความหมายของคำว่า ยาเสพติดให้โทษ ไว้ดังนี้ คือ
สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ หรือด้วยวิธีการใด ๆ
แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น ผู้ที่เสพยา ต้องเพิ่มขนาดการเสพติดมากขึ้นเป็นลำดับ
ผู้ที่เสพยา จะเกิดอาการถอนยา เมื่อหยุดใช้ยา หรือขาดยา ผู้ที่เสพยา
จะเกิดความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา ผู้ที่เสพยา
จะมีสุขภาพร่างกายที่ทรุดโทรมลงหรือกล่าวได้ว่าเป็นยาหรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ที่ผู้นั้นใช้อยู่ประจำแล้วยาหรือสารนั้นทำให้มีความผิดปกติที่ระบบประสาทกลางซึ่งจะถือว่าผู้นั้นติดยากเสพติด
ถ้ามีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 3 ประการคือ กล่าวได้ว่าเป็นยาหรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ที่ผู้นั้นใช้อยู่ประจำแล้วยาหรือสารนั้นทำให้มีความผิดปกติที่ระบบประสาทกลางซึ่งจะถือว่าผู้นั้นติดยากเสพติด
ถ้ามีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 3 ประการคือ ผู้ป่วยจะทำทุกอย่างเพื่อให้ได้ยาหรือสารนั้นมาไว้
แม้เป็นวิธีที่ผิดกฎหมาย
เช่นลักขโมยก็จะทำผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติงานตามปกติได้เนื่องจากมีอาการพิษหรืออาการขาดยาหรือสารนั้น
พฤติกรรมของผู้ป่วยเปลี่ยนไป เช่น หยุดงานบ่อย หรือไม่เอาใจใส่ครอบครัว ผู้ป่วยต้องเสพยาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (มี
Tolerance) เมื่อหยุดเสพหรือลดปริมาณการเสพลงมา จะเกิดอาการขาดยาหรือสารนั้น (Winthdrawal Symptom)
ประเภทของยาเสพติด
ยาเสพติด แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
1. แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชา เป็นต้น
1.2 ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน
แอมเฟตามีน เป็นต้น
2. แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ
2.1 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ
2.2 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนำมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้
แต่ต้องใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จำเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือโคคาอีน
โคเคอีน และเมทาโดน
2.3 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทนี้เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วย
มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนำไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกำกับไว้
4
ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับปวดต่าง ๆ เช่น
มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น
2.4 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือประเภทที่ 2
ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกำกับไว้ด้วย
ได้แก่น้ำยาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครีน
สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก 12 ชนิด ที่สามารถนำมาผลิตยาอีและยาบ้าได้
2.5 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทที่ 1 ถึง 4 ได้แก่
ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืชกระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น
3. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
3.1 ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท
3.2 ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน
3.3 ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย
3.4 ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทได้พร้อม ๆ กัน
4. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 9 ประเภท คือ
4.1 ประเภทฝิ่น หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน เพทิดีน
4.2 ประเภทยาปิทูเรท รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทำนองเดียวกัน ได้แก่ เซโคบาร์ปิตาล อะโมบาร์ปิตาล พาราลดีไฮด์เป็นต้น
4.3 ประเภทแอลกอฮอล ได้แก่ เหล้า เบียร์ วิสกี้
4.4 ประเภทแอมเฟตามีน ได้แก่ แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน
4.5 ประเภทโคเคน ได้แก่ โคเคน ใบโคคา
4.6 ประเภทกัญชา ได้แก่ ใบกัญชา ยางกัญชา
4.7 ประเภทใบกระท่อม
4.8 ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็นที เมสตาลีน เมลัดมอนิ่งกลอรี่ ต้นลำโพง เห็ดเมาบางชนิด
4.9 ประเภทอื่นๆ นอกเหนือจาก 8 ประเภทข้างต้น ได้แก่ สารระเหยต่างๆ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ
วิธีเสพสารเสพติดมีหลายทางได้แก่
1. ทางปาก คือ
- กิน เช่น ยาอี, ยากล่อมประสาท และยานอนหลับ เป็นต้น
- เคี้ยว เช่น ใบกระท่อม, ใบโคคา, LSD เป็นต้น
- อม เช่น เหล้าแห้ง , LSD เป็นต้น
- อมไว้ใต้ลิ้น เช่น เฮโรอีน, โคเคน, LSD เป็นต้น
- ซุกไว้ตามซอกเหงือก เช่น ฝิ่น เป็นต้น
- ดื่ม เช่น แอลกอฮอล์, เครื่องดื่มผสมยากระตุ้น, ยากล่อม หรือหลอนประสาท, กัญชา
2. จมูก คือ
- สูด, นัตย์ (Snort) เช่น โคเคน , ยาเค เป็นต้น
- ดม เช่น สารระเหย เป็นต้น
5
3. สูบ คือ
- คลุกบุหรี่สูบ เช่น กัญชา, ฝิ่น, เฮโรอีน, โคเคน, ยาบ้า เป็นต้น
- สูบบ้องอาจสูบผ่านน้ำหรือไม่ผ่านน้ำก็ได้ เช่น ฝิ่น, กัญชา, โคนเคน,ยาบ้า เป็นต้น
- สูบควันหรือไอระเหย เช่น ยาบ้า, โคเคน เป็นต้น
4. ฉีด คือ
- ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น เฮโรอีน เป็นต้น
- ฉีดเข้ากล้าม เช่น มอร์ฟีน, เฮโรอีน เป็นต้น
- ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ เช่น ยาบ้า, เฮโรอีน, โคเคน เป็นต้น
5. อื่นๆ
- เช่น สอดทวาร, ซุกไว้ใต้หนังตา, ทำเป็นลิปสติกทาปาก หรือทางผิวหนัง เป็นต้น
ยาเสพติดชนิดต่าง ๆ ที่แพร่ระบาดในสังคมไทย
มอร์ฟีน (MORPHINE)
โฮโรอีน (HEROIN)
โคเคน (COCAINE)
กัญชา (CANNABIS)
กระท่อม (KRATOM)
เห็ดขี้ควาย (PSILOCYBE CUBENSIS MUSHROOM)
แอมเฟตามีน (AMPHETAMINE)
อีเฟดรีน (EPHEDINE)
แอลเอสดี (LSD)
บาร์บิทูเรต (BARBITIRATE)
สารระเหย (VOLATILE SOLVENT)
สุรา (Alcohol)
บุหรี่
สาเหตุการติดยาเสพติด
1. สาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
จำแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท
1. อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเป็นนิสัยของคนโดยทั่วไป
และโดยที่ไม่คิดว่าตนจะติดสิ่งเสพย์ติดนี้ได้ จึงไปทำการทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น ในการทดลองใช้ครั้งแรกๆ
อาจมีความรู้สึกดีหรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น ก็อาจประมาท ไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นอีก
จนใจที่สุดก็ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น หรือ ถ้าไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดบางชนิด เช่น เฮโรอีน แม้จะเสพเพียงครั้งเดียว
ก็อาจทำให้ติดได้
2. ความคึกคะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเก่งเป็นนิสัย โดยเฉพาะวัยรุ่นมักจะมีนิสัยดังกล่าว
คนพวกนี้อาจแสดงความเก่งกล้าของตน ในกลุ่มเพื่อนโดยการแสดงการใช้สิ่งเสพย์ติดชนิดต่าง ๆ
6
เพราะเห็นแก่ความสนุกสนาน ตื่นเต้น และให้เพื่อนฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมิได้คำนึง ถึงผลเสียหาย หรือ
อันตรายที่จะเกิดขึ้นในภายหลังแต่อย่างไร ในที่สุดจนเองก็กลายเป็นคนติดสิ่งเสพย์ติดนั้น
3. การชักชวนของคนอื่น อาจเกิดจากการเชื่อตามคำชักชวนโฆษณา ของผู้ขายสินค้าที่ เป็นสิ่งเสพย์ติดบางชนิด
เช่น ยากระตุ้นประสาทต่างๆ ยาขยัน ยาม้า ยาบ้า เป็นต้น
โดยผู้ขายโฆษณาสรรพคุณของสิ่งเสพย์ติดนั้นว่ามีคุณภาพดีสารพัดอย่างเช่น ทำให้มีกำลังวังชา ทำให้มีจิตใจแจ่มใส
ทำให้มีสุขภาพดี ทำให้มีสติปัญญาดี สามารถรักษาโรคได้บางชนิด เป็นต้น
ผู้ที่เชื่อคำชักชวนโฆษณาดังกล่าวจึงไปซื้อตามคำชักชวนของเพื่อนฝูง ซึ่งโดยมากเป็นพวกที่ติดสิ่งเสพย์ติดนั้นอยู่แล้ว
ด้วยความเกรงใจเพื่อน หรือ เชื่อเพื่อน หรือต้องการแสดงว่าตัวเป็นพวกเดียวกับเพื่อน จึงใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น
2.สาเหตุที่เกิดจากการถูกหลอกลวง
ปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใช้สิ่งเสพย์ติดผสมลงในสินค้าที่ขาย
เพื่อให้ผู้ซื้อสินค้านั้นไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีนี้
ผู้ซื้ออาหารนั้นมารับประทาน จะไม่รู้สึกว่าตนเองเกิดการติดสิ่งเสพย์ติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากรับประทานอาหาร
ขนม หรือเครื่องดื่มที่ซื้อจากร้านนั้น ๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึกผิด สังเกตต่อความต้องการ
จะซื้ออาหารจากร้านนั้นมารับประทาน หรือต่อเมื่อ มีอาการเสพย์ติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง
1.คนที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุต่าง ๆ เช่นได้รับบาดเจ็บรุนแรง เป็นแผลเรื้อรัง
มีความเจ็บปวดอยู่เป็นประจำ เป็นโรคประจำตัวบางอย่าง เป็นต้น ทำให้ได้รับทุกข์ทรมานมาก หรือ เป็นประจำ
จึงพยายามแสวงหาวิธีที่จะช่วยเหลือตนเองให้พ้นจากความทุกข์ทรมานนั้นซึ่งวิธีหนึ่งที่ทำได้ง่ายคือ
การรับประทานยาที่มีฤทธิ์ระงับอาการเจ็บปวดนั้นได้ ซึ่งไม่ใช่เป็นการรักษาที่เป็นต้นเหตุของความเจ็บป่วย
เพียงแต่ระงับอาการเจ็บปวดให้หมดไปหรือลดน้อยลงได้ชั่วขณะ เมื่อฤทธิ์ยาหมดไปก็จะกลับเจ็บปวดใหม่
ผู้ป่วยก็จะใช้ยานั้นอีก เมื่อทำเช่นนี้ไปนานๆ เกิดอาการติดยานั้นขึ้น
2.ผู้ที่มีจิตใจไม่เป็นปกติ เช่น มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวังในชีวิต มีความเศร้าสลดเสียใจ เป็นต้น
ทำให้สภาวะจิตใจไม่เป็นปกติจนเกิดการป่วยทางจิตขึ้น
จึงพยายามหายาหรือสิ่งเสพย์ติดที่มีฤทธิ์สามารถคลายความเครียดจากทางจิตได้ชั่วขณะหนึ่งมารับประทาน
แต่ไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุเมื่อยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับเครียดอีก และ ผู้ป่วยก็จะเสพสิ่งเสพย์ติด ถ้าทำเช่นนี้
ไปเรื่อยๆ ก็จะทำให้ผู้นั้นติดยาเสพย์ติดในที่สุด
3. การไปซื้อยามารับประทานเองโดยไม่ทราบสรรพคุณยาที่แท้จริงขนาดยาที่ควรรับประทาน
การรับประทานยาเกินจำนวนกว่าที่แพทย์ได้สั่งไว้ การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด
หรือรับประทานติดต่อกันนานๆ บางครั้งอาจมีอาการถึงตายได้ หรือบางครั้งทำให้เกิดการเสพติดยานั้นได้
3.สาเหตุอื่นๆ
การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต หรือ เป็นผู้ขายหรือผู้ผลิตเอง
จึงทำให้มีโอกาสติดสิ่งเสพย์ติดให้โทษนั้นมากกว่าคนทั่วไป
เมื่อมีเพื่อนสนิทหรือพี่น้องที่ติดสิ่งเสพย์ติดอยู่ ผู้นั้นย่อมได้เห็นวิธีการเสพ ของผู้ที่อยู่ใกล้ชิด ทั้งใจเห็นพฤติกรรมต่างๆ
ของเขาด้วย และยังอาจได้รับคำแนะนำหรือชักชวนจากผู้เสพด้วย จึงมีโอกาสติดได้
1. คนบางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยมีรายได้ลดลง หรือมีหนี้สินมาก
เมื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ไม่ได้ก็หันไปใช้สิ่งเสพย์ติด ช่วยผ่อนคลายความรู้สึก ในความทุกข์ยากต่างเหล่านี้
7
แม้จะรู้ว่าเป็นชั่วครู่ชั่วยามก็ตามเช่นกลุ้มใจที่เป็นหนี้คนอื่นก็ไปกินเหล้า หรือ
สูบกัญชาให้เมาเพื่อที่จะได้ลืมเรื่องหนี้สิน บางคนต้องการรายได้เพิ่มขึ้น โดยพยายามทำงานให้หนัก และ มากขึ้นทั้ง ๆ
ที่ร่างกายอ่อนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุ้นประสาทเพื่อให้สามารถทำงานต่อไปได้
ถ้าทำอยู่เป็นประจำทำให้ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น
2. การเลียนแบบ การที่ไปเห็นผู้ที่ตนสนิทสนมรักใคร่หรือเพื่อน จึงเห็นว่าเป็นสิ่งน่าลอง เป็นสิ่งโก้เก๋
เป็นสิ่งแสดงความเป็นพวกเดียวกัน จึงไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นจนติด
3. คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวังในชีวิตสังคม
เพื่อเป็นการประชดตนเองหรือคนอื่น จึงไปใช้สิ่งเสพย์ติดจนติด ทั้งๆ ที่ทราบว่าเป็นสิ่งไม่ดี ก็ตาม
สาเหตุสำคัญที่ทำให้ติดยาเสพติด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยรุ่น
1. จากการถูกชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะเกิดจากเพื่อนสนิทที่กำลังติดยาอยู่และ
อยากจะให้เพื่อนลองบ้าง ปัญหานี้มักจะเกิดกับเด็กที่มีปัญหาทางครอบครัวขาดความอบอุ่น ใจแตก
เอาเพื่อนเป็นที่พึ่งนอกจากนี้ผู้ที่อยู่ในแหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการ ชักจูง
คุณภาพของยาเสพติดว่าดีต่าง ๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า เมื่อเสพแล้วจะทำให้ปลอด โปร่ง
เหมาะแก่การเรียนการทำงาน การชักจูงดังกล่าวอาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ถูกชักจูง กำลังมึนเมา สุราเที่ยวแตร่กัน
จึงทำให้เกิดการติดยาได้
2. จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่า
คงจะไม่ติดง่าย ๆ แต่เมื่อ ทดลอง เสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก
แม้เสพเพียงครั้งหรือสอง ครั้ง ก็จะติดแล้ว
3. จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่า
สิ่งที่ ตนได้กินเข้าไปนั้น เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง
อะไรตามที่ผู้หลอกลวงแนะนำผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ติดยาเสพติดไป
4. เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นหืด เป็นโรคประสาทได้รับ
ความทรมานทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัว เองมานานแต่ก็ไม่หาย จึงหันเข้าหายาเสพติด
จนติดยาในที่สุด
5. จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนี้คิดว่าตัวเองเป็นคนเก่งอยากลองซึ่งรู้แก่ใจว่า
ยาเสพติดให้โทษเป็นสิ่งไม่ดีแต่ด้วยความที่คึกคะนองเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดง
ความเด่นดังอวดเพื่อนว่าข้านี้คือพระเอก ขาดความยั้งคิดจึงเสพยา เสพติดและติดยาในที่สุด
6. จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มี
การเสพและค้ายาเสพติด ภาวะ ทางเศรษฐกิจบีบคั้นจิตใจ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล เหนือ
จิตใจผลักดันให้ผู้ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว บางคนหันมาพึ่งยาเสพติดโดยคิดว่าจะช่วย
ให้ตนเองหลุดพ้นจากสภาพต่าง ๆ ที่คับข้องใจเหล่านั้นได้
8
ประโยชน์ของสารเสพติด
การจัดประเภทของยาเสพติดให้โทษ ได้แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ประเภท1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง
ไม่มีใช้ในทางการแพทย์ เช่น เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีนหรือยาบ้า ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษที่ใช้ในทางการแพทย์
เช่น มอร์ฟีน โคเคน ประเภท 3 ยาเตรียมที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ เช่นยาแก้ไอผสมไอโอดีน ประเภท
4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดประเภท 1 หรือ 2 เช่นสารที่ใช้ในการผลิตเฮโรอีน และประเภท 5
ยาเสพติดที่ไม่จัดอยู่ในประเภท 1-4 เป็นพืช ได้แก่ กัญชา พืชฝิ่น พืชกระท่อม พืชเห็ด ขี้ควาย
สำหรับยาเสพติดที่ใช้ในทางการแพทย์นั้นจัดอยู่ในประเภทที่ 2 อันประกอบด้วย กลุ่มมอร์ฟีนและโคเคน
ซึ่งจะใช้เป็นยาระงับอาการปวดและใช้ในการผ่าตัด โดยปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่ายาเสพติดให้โทษบางชนิด
สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ดีในทางการแพทย์
และมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการรักษาและบรรเทาอาการเจ็บปวดของคนไข้
ยาเสพติดที่ใช้ในทางการแพทย์จะมีคณะกรรมการอาหารและยาหรือ อย. กำกับดูแลอย่างเข้มงวด
โดยจะคอยควบคุมการรับ การจ่าย การเก็บรักษาตัวยา การกระจายยาเสพติดที่ใช้รักษาไปยังสถานพยาบาลต่างๆ
โดยจะจำหน่ายยาให้แก่ผู้ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายเท่านั้น
ส่วนร้านขายยาทั่วไปจะไม่ได้รับอนุญาตให้จำหน่ายหรือมีไว้ครอบครอง
แต่หากมีการจำหน่ายต้องมีใบสั่งแพทย์จากทาง อย. อย่างถูกต้อง
ปัจจุบันการใช้ยาเสพติดในการรักษาของประเทศไทย กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนา
และมีข้อกำหนดทางการแพทย์เกี่ยวกับปริมาณการใช้สารเสพติดอย่างเพียงพอ เพื่อความเหมาะสมต่อผู้ป่วย
ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้ป่วยเป็นหลัก และระมัดระวังการใช้เป็นพิเศษ
โดยในอนาคตจะมีการคิดค้นและเพิ่มตัวยาเสพติดใหม่ๆ นำมาใช้ในทางการแพทย์ เพื่อใช้ทำการรักษาผู้ป่วยต่อไป
โทษและพิษภัยของสารเสพติด
เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไปเสพสารเหล่านี้เข้า ซึ่งเป็นโทษที่มองไม่เห็นชัด
เปรียบเสมือนเป็นฆาตกรเงียบ ที่ทำลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุกวัน ก่อปัญหาอาชญากรรม ปัญหาสุขภาพ
ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและบ้านเมืองอย่างร้ายแรง
เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทที่มีฤทธิ์เป็นอันตรายต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง
ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของร่างกายและชีวิตมนุษย์
การติดสารเสพติดเหล่านั้นจึงไม่มีประโยชน์อะไรเกิดขึ้นแก่ร่างกายเลย แต่กลับจะเกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ
จนอาจทำให้เสียชีวิต หรือ เกิดโทษและอันตรายต่อครอบครัว เพื่อนบ้าน สังคม และชุมชนต่างๆ ต่อไปได้อีกมาก
โทษพิษภัยต่อครอบครัว
1. ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และญาติพี่น้องจะหมดสิ้นไป ไม่สนใจที่จะดูแลครอบครัว
2. ทำให้สูญเสียทรัพย์สินเงินทองที่จะต้องหามาซื้อสารเสพติดจนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอื่นและต้องเสียเงินรักษา ตัวเอง
3. ทำงานไม่ได้ขาดหลักประกันของครอบครัว และนายจ้างหมดความไว้วางใจ
4. สูญเสียสมรรถภาพในการหาเลี้ยงครอบครัว นำความหายนะมาสู่ครอบครัวและญาติพี่น้อง การสังเกต
9
อาการของผู้ใช้ยาเสพติด
วิธีสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพยาเสพติด
สามารถสังเกตได้จากความเปลี่ยนแปลงหรือลักษณะอาการและสิ่งที่ตรวจพบดังต่อไปนี้ คือ
1. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ นิสัย ความประพฤติ และบุคลิกภาพ
- เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิดง่าย เอาแต่ใจขาดเหตุผล
- ขาดเรียน ชอบหนีโรงเรียน หรือขาดงานบ่อย ๆ จนผิดปกติ
- ไม่มีความเชื่อมั่นในตนเอง เชื่อถือไม่ได้
- ความคิดเชื่องช้า สติปัญญาเสื่อมลง ความจำเสื่อม มีผลให้การเรียน หรือการทำงานบกพร่อง
- พูดจาเชื่อถือไม่ได้ พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย ไม่สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ขาดความรับผิดชอบ
- มักเก็บตัวเงียบ ๆ หลบซ่อนตัวเอง ทำตัวปกปิดลึกลับ
- ชอบเข้าห้องน้ำนาน ๆ
- พบอุปกรณ์เกี่ยวกับการเสพยา เช่น หลอดฉีดยา เข็มฉีดยา กระดาษซองตะกั่ว
- พูดจาก้าวร้าว ดื้อรั้น ผิดไปจากเดิม
- ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายไม่เรียบร้อย สกปรกไม่ค่อยอาบน้ำ
- มีนิสัย มีข้ออ้างในการออกนอกบ้านเสมอ ชอบเที่ยวเตร่กลับบ้านผิดเวลา
- ทรัพย์สินในบ้านสูญหายบ่อย เพราะจะขโมยเอาไปขายเพื่อซื้อยาเสพ
- เกียจคร้าน ไม่ชอบทำงาน
- ง่วงเหงาหาวนอน นอนตื่นสายผิดปกติ
- มีอาการวิตกกังวล เศร้าซึม สีหน้าจะหมองคล้ำ
2. อาการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
- สุขภาพร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม ซีดเหลือง ไม่มีแรง อ่อนเพลียง่าย
- ริมฝีปากเขียวคล้ำ แห้งแตก
- ตาแดงก่ำ รูม่านตาขยาย
- น้ำมูกไหล เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรง
- บริเวณแขน ตามข้อพับ หัวไหล่ มีรอยแผล รอยช้ำเป็นจ้ำ ๆ (ร่องรอยการฉีดยาเสพติดเข้าเส้น)
- มีรอยแผลเป็นที่บริเวณแขน ท้องแขน อันเนื่องมาจากใช้ของมีคมกรีดเป็นทาง ๆ
- ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลผุพอง อาจมีน้ำหนอง น้ำเหลืองคล้ายโรคผิวหนัง
- ชอบใส่เสื้อแขนยาว และสวมแว่นตากรองแสงสีเข้ม เพื่อปิดร่องรอย และอาการจากการเสพยาเสพติด
3. ลักษณะของอาการขาดยา
- หาวนอนบ่อย จามคล้ายคนเป็นหวัด น้ำมูก น้ำตาไหล
- กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อาจถ่ายอุจจาระเป็นเลือด
- เหงื่อออกมากผิดปกติ
10
- ปวดเมื่อย ร่างกายปวดเสียวในกระดูก ม่านตาขยายโตขึ้น ตาพร่าไม่สู้แดดมีอาการดิ้นทุรนทุราย
- มีอาการสั่น หรือเป็นตะคริวตามมือแขนขา หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง
- มีอาการชัก เกร็ง ไข้ขึ้นสูง ความดันโลหิตสูง
- หัวใจเต้นแรงและถี่ผิดปกติ
- นอนไม่หลับ
- เพ้อ คลุ้มคลั่ง อาละวาด ควบคุมตนเองไม่ได้
หลักในการหลีกเลี่ยงและป้องกันการติดสิ่งเสพย์ติด
1. เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ ครู และคนอื่นๆ ที่น่านับถือและหวังดี (จริงๆ)
2. เมื่อมีปัญหาควรปรึกษาครอบครัว ครู หรือผู้ใหญ่ที่น่านับถือ
ไม่ควรเก็บปัญหานั้นไว้หรือหาทางลืมปัญหาโดยใช้สิ่งเสพย์ติดช่วยหรือ ใช้เพื่อเป็นการประชด
3. หลีกเลี่ยงให้ห่างไกลจากผู้ติดสิ่งเสพย์ติด หรือผู้จำหน่ายสิ่งเสพย์ติด
4. ถ้าพบคนกำลังเสพสิ่งเสพย์ติด หรือจำหน่ายให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่
5. ศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสิ่งเสพย์ติด เพื่อจะได้ป้องกันตัวและผู้ใกล้ชิดให้ห่างจากสิ่งเสพย์ติด
6. ต้องไม่ให้ความร่วมมือเข้าไปเกี่ยวข้องกับเพื่อนที่ติดสิ่งเสพย์ติด เช่นไม่ให้ยืมเงิน
7. ไม่หลงเชื่อคำชักชวนโฆษณา หรือคำแนะนำใดๆ หรือแสดงความเก่งกล้าเกี่ยวกับการเสพสิ่งเสพย์ติด
8. ไม่ใช้ยาอันตรายทุกชนิดโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์ และควรใช้ยาที่แพทย์แนะนำให้ตามขนาดที่แพทย์สั่งไว้
เท่านั้น
9. หากสงสัยว่าตนเองจะติดสิ่งเสพย์ติดต้องรีบแจ้งให้ผู้ใหญ่ทราบ
10. ยึดมั่นในหลักธรรมของศาสนา หรือคำสอนของศาสนาทุกศาสนา
เพราะทุกศาสนามีจุดมุ่งหมายให้บุคคลประพฤติแต่สิ่งดีงามและละเว้นความชั่ว
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นำเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทำรายงาน
-นำเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
0 บาท
11
ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน
ลำดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ
ผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน สิริลักษณ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล สิริลักษณ์
3 จัดทำโครงร่างงาน สิริลักษณ์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน สิริลักษณ์
5 ปรับปรุงทดสอบ สิริลักษณ์
6 การทำเอกสารรายงาน สิริลักษณ์
7 ประเมินผลงาน สิริลักษณ์
8 นำเสนอโครงงาน สิริลักษณ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน)
1.ผู้จัดทำมีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนำไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้ได้
3.ผู้อื่นสามารถนำความรู้ตรงนี้ไปใช้ประโยชน์ได้
สถานที่ดำเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราช
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน)
บ้านจอมยุทธ.ความหมายของยาเสพติด.25 กันยายน 2562.
https://www.baanjomyut.com/library/drugs/index.html
Nasac.Article.ประเภทของสารเสพติด.25 กันยายน 2562.
http://www.sri.cmu.ac.th/~nsac/All_Page/Drug/habit-forming_drug_Page.htm
site.google.วิธีเสพสารเสพติด.25 กันยายน 2562.
https://sites.google.com/site/drugs2559/withi-kar-seph-sar-seph-tid
site.google.สาเหตุการติดยา.26 กันยายน 2562.
https://sites.google.com/site/payhayasephtidnichumchn/sahetu-kar-tid-ya-seph-tid
site.google.ประโยชน์ของสารเสพติด.26 กันยายน 2562.
https://sites.google.com/site/ruphisphayruhangkilyasephtid/prayochn-khxng-ya-seph-tid
site.google.โทษของสารเสพติด.26 กันยายน 2562.
12
https://sites.google.com/site/yasephtiddrug/4-thos-khxng-ya-seph-tid

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
panita aom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Pukkad Kcn
 
Facebook123
Facebook123Facebook123
Facebook123
Anchali1
 

What's hot (18)

2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)
 
Dararath
DararathDararath
Dararath
 
2562 final-project 21.26pdf
2562 final-project 21.26pdf2562 final-project 21.26pdf
2562 final-project 21.26pdf
 
Kingg 16
Kingg 16Kingg 16
Kingg 16
 
King 16
King 16King 16
King 16
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 21.26
2562 final-project 21.262562 final-project 21.26
2562 final-project 21.26
 
At22
At22At22
At22
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
Facebook123
Facebook123Facebook123
Facebook123
 
Putticha
PuttichaPutticha
Putticha
 
ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้ประโยชน์ของผลไม้
ประโยชน์ของผลไม้
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 

Similar to at1

2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06
KTPH2348
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
wasavaros
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
ssuser8b5bea
 

Similar to at1 (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-12562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-1
 
โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
Num preeyaphorn
Num preeyaphornNum preeyaphorn
Num preeyaphorn
 
2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงานใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
ไบโอมคอม
ไบโอมคอมไบโอมคอม
ไบโอมคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project ทิว
2559 project ทิว2559 project ทิว
2559 project ทิว
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project 06-610
2562 final-project 06-6102562 final-project 06-610
2562 final-project 06-610
 
2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed2562 final-project -1-23-1 weed
2562 final-project -1-23-1 weed
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วน
 
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอางมาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
 

at1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาสารเสพติด ชื่อผู้ทำโครงงาน ชื่อ.นางสาว สิริลักษณ์ คำแสง เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว สิริลักษณ์ คำแสง เลขที่ 24 ชั้นม.6/6 คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาสารเสพติด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Drug problems ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว สิริลักษณ์ คำแสง ชั้น ม.6/6 เลขที่ 24 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำโครงงาน) ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งของประเทศ ซึ่งบ่อนทำลายทรัพยากรและความมั่นคงของประเทศชาติและสังคมเป็นอย่างมาก ได้มีการดำเนินงานในทุกวิถีทางที่จะป้องกันและปราบปามไม่ให้มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติด แต่เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาใหม่ที่มีความยุ่งยากและสลับซับซ้อต่อการดำเนินการ และไม่ได้มีแต่ประเทศไทยที่เดียวเท่านั้น ประเทศอื่นๆก็มีการเสพ การซื้อขาย และการผลิตยาเสพติดอยู่จำนวนมากและ ข้าพเจ้าก็ได้ศึกษาและพบว่าปัญหานี้เป็นปัญหาที่ใหญ่พอสมควร ข้าพเจ้าเลยคิดโครงงานนี้เพื่อศึกษาหาความรู้ เกี่ยวกับการติดสารเสพติดในปัจจุบันของคนไทยในสังคมไทย และเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากยาเสพติดของคนไทย และเพื่อเผยแผ่ความรู้ในการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยและห่างไกลยาเสพติด วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้รู้วิธีป้องกันและหลีกเลี่ยงให้ห่างไกลจากยาเสพติด 2.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด 3.เพื่อให้รู้โทษภัยและอันตรายจากยาเสพติด
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำกัดของการทำโครงงาน) 1.รู้จักการป้องกันสารเสพติดที่ถูกวิธี 2.เข้าใจคำว่าสารเสพติดอย่างถูกต้อง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำโครงงาน) ความหมายของยาเสพติด พระราชบัญญัติยาเสพติด พ.ศ.2522 กำหนดความหมายของคำว่า ยาเสพติดให้โทษ ไว้ดังนี้ คือ สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น ผู้ที่เสพยา ต้องเพิ่มขนาดการเสพติดมากขึ้นเป็นลำดับ ผู้ที่เสพยา จะเกิดอาการถอนยา เมื่อหยุดใช้ยา หรือขาดยา ผู้ที่เสพยา จะเกิดความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา ผู้ที่เสพยา จะมีสุขภาพร่างกายที่ทรุดโทรมลงหรือกล่าวได้ว่าเป็นยาหรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ที่ผู้นั้นใช้อยู่ประจำแล้วยาหรือสารนั้นทำให้มีความผิดปกติที่ระบบประสาทกลางซึ่งจะถือว่าผู้นั้นติดยากเสพติด ถ้ามีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 3 ประการคือ กล่าวได้ว่าเป็นยาหรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ที่ผู้นั้นใช้อยู่ประจำแล้วยาหรือสารนั้นทำให้มีความผิดปกติที่ระบบประสาทกลางซึ่งจะถือว่าผู้นั้นติดยากเสพติด ถ้ามีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 3 ประการคือ ผู้ป่วยจะทำทุกอย่างเพื่อให้ได้ยาหรือสารนั้นมาไว้ แม้เป็นวิธีที่ผิดกฎหมาย เช่นลักขโมยก็จะทำผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติงานตามปกติได้เนื่องจากมีอาการพิษหรืออาการขาดยาหรือสารนั้น พฤติกรรมของผู้ป่วยเปลี่ยนไป เช่น หยุดงานบ่อย หรือไม่เอาใจใส่ครอบครัว ผู้ป่วยต้องเสพยาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (มี Tolerance) เมื่อหยุดเสพหรือลดปริมาณการเสพลงมา จะเกิดอาการขาดยาหรือสารนั้น (Winthdrawal Symptom) ประเภทของยาเสพติด ยาเสพติด แบ่งได้หลายรูปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1. แบ่งตามแหล่งที่เกิด ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.1 ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตมาจากพืช เช่น ฝิ่น กระท่อม กัญชา เป็นต้น 1.2 ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เป็นต้น 2. แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ 2.1 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ 2.2 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนำมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จำเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือโคคาอีน โคเคอีน และเมทาโดน 2.3 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทนี้เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนำไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกำกับไว้
  • 4. 4 ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น 2.4 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกำกับไว้ด้วย ได้แก่น้ำยาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครีน สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก 12 ชนิด ที่สามารถนำมาผลิตยาอีและยาบ้าได้ 2.5 ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทที่ 1 ถึง 4 ได้แก่ ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืชกระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น 3. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 3.1 ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท 3.2 ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน 3.3 ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย 3.4 ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทได้พร้อม ๆ กัน 4. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 9 ประเภท คือ 4.1 ประเภทฝิ่น หรือ มอร์ฟีน รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน เพทิดีน 4.2 ประเภทยาปิทูเรท รวมทั้งยาที่มีฤทธิ์ทำนองเดียวกัน ได้แก่ เซโคบาร์ปิตาล อะโมบาร์ปิตาล พาราลดีไฮด์เป็นต้น 4.3 ประเภทแอลกอฮอล ได้แก่ เหล้า เบียร์ วิสกี้ 4.4 ประเภทแอมเฟตามีน ได้แก่ แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน 4.5 ประเภทโคเคน ได้แก่ โคเคน ใบโคคา 4.6 ประเภทกัญชา ได้แก่ ใบกัญชา ยางกัญชา 4.7 ประเภทใบกระท่อม 4.8 ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็นที เมสตาลีน เมลัดมอนิ่งกลอรี่ ต้นลำโพง เห็ดเมาบางชนิด 4.9 ประเภทอื่นๆ นอกเหนือจาก 8 ประเภทข้างต้น ได้แก่ สารระเหยต่างๆ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน น้ำยาล้างเล็บ วิธีเสพสารเสพติดมีหลายทางได้แก่ 1. ทางปาก คือ - กิน เช่น ยาอี, ยากล่อมประสาท และยานอนหลับ เป็นต้น - เคี้ยว เช่น ใบกระท่อม, ใบโคคา, LSD เป็นต้น - อม เช่น เหล้าแห้ง , LSD เป็นต้น - อมไว้ใต้ลิ้น เช่น เฮโรอีน, โคเคน, LSD เป็นต้น - ซุกไว้ตามซอกเหงือก เช่น ฝิ่น เป็นต้น - ดื่ม เช่น แอลกอฮอล์, เครื่องดื่มผสมยากระตุ้น, ยากล่อม หรือหลอนประสาท, กัญชา 2. จมูก คือ - สูด, นัตย์ (Snort) เช่น โคเคน , ยาเค เป็นต้น - ดม เช่น สารระเหย เป็นต้น
  • 5. 5 3. สูบ คือ - คลุกบุหรี่สูบ เช่น กัญชา, ฝิ่น, เฮโรอีน, โคเคน, ยาบ้า เป็นต้น - สูบบ้องอาจสูบผ่านน้ำหรือไม่ผ่านน้ำก็ได้ เช่น ฝิ่น, กัญชา, โคนเคน,ยาบ้า เป็นต้น - สูบควันหรือไอระเหย เช่น ยาบ้า, โคเคน เป็นต้น 4. ฉีด คือ - ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น เฮโรอีน เป็นต้น - ฉีดเข้ากล้าม เช่น มอร์ฟีน, เฮโรอีน เป็นต้น - ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ เช่น ยาบ้า, เฮโรอีน, โคเคน เป็นต้น 5. อื่นๆ - เช่น สอดทวาร, ซุกไว้ใต้หนังตา, ทำเป็นลิปสติกทาปาก หรือทางผิวหนัง เป็นต้น ยาเสพติดชนิดต่าง ๆ ที่แพร่ระบาดในสังคมไทย มอร์ฟีน (MORPHINE) โฮโรอีน (HEROIN) โคเคน (COCAINE) กัญชา (CANNABIS) กระท่อม (KRATOM) เห็ดขี้ควาย (PSILOCYBE CUBENSIS MUSHROOM) แอมเฟตามีน (AMPHETAMINE) อีเฟดรีน (EPHEDINE) แอลเอสดี (LSD) บาร์บิทูเรต (BARBITIRATE) สารระเหย (VOLATILE SOLVENT) สุรา (Alcohol) บุหรี่ สาเหตุการติดยาเสพติด 1. สาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จำแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท 1. อยากทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเป็นนิสัยของคนโดยทั่วไป และโดยที่ไม่คิดว่าตนจะติดสิ่งเสพย์ติดนี้ได้ จึงไปทำการทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น ในการทดลองใช้ครั้งแรกๆ อาจมีความรู้สึกดีหรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น ก็อาจประมาท ไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นอีก จนใจที่สุดก็ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น หรือ ถ้าไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดบางชนิด เช่น เฮโรอีน แม้จะเสพเพียงครั้งเดียว ก็อาจทำให้ติดได้ 2. ความคึกคะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเก่งเป็นนิสัย โดยเฉพาะวัยรุ่นมักจะมีนิสัยดังกล่าว คนพวกนี้อาจแสดงความเก่งกล้าของตน ในกลุ่มเพื่อนโดยการแสดงการใช้สิ่งเสพย์ติดชนิดต่าง ๆ
  • 6. 6 เพราะเห็นแก่ความสนุกสนาน ตื่นเต้น และให้เพื่อนฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมิได้คำนึง ถึงผลเสียหาย หรือ อันตรายที่จะเกิดขึ้นในภายหลังแต่อย่างไร ในที่สุดจนเองก็กลายเป็นคนติดสิ่งเสพย์ติดนั้น 3. การชักชวนของคนอื่น อาจเกิดจากการเชื่อตามคำชักชวนโฆษณา ของผู้ขายสินค้าที่ เป็นสิ่งเสพย์ติดบางชนิด เช่น ยากระตุ้นประสาทต่างๆ ยาขยัน ยาม้า ยาบ้า เป็นต้น โดยผู้ขายโฆษณาสรรพคุณของสิ่งเสพย์ติดนั้นว่ามีคุณภาพดีสารพัดอย่างเช่น ทำให้มีกำลังวังชา ทำให้มีจิตใจแจ่มใส ทำให้มีสุขภาพดี ทำให้มีสติปัญญาดี สามารถรักษาโรคได้บางชนิด เป็นต้น ผู้ที่เชื่อคำชักชวนโฆษณาดังกล่าวจึงไปซื้อตามคำชักชวนของเพื่อนฝูง ซึ่งโดยมากเป็นพวกที่ติดสิ่งเสพย์ติดนั้นอยู่แล้ว ด้วยความเกรงใจเพื่อน หรือ เชื่อเพื่อน หรือต้องการแสดงว่าตัวเป็นพวกเดียวกับเพื่อน จึงใช้สิ่งเสพย์ติดนั้น 2.สาเหตุที่เกิดจากการถูกหลอกลวง ปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใช้สิ่งเสพย์ติดผสมลงในสินค้าที่ขาย เพื่อให้ผู้ซื้อสินค้านั้นไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีนี้ ผู้ซื้ออาหารนั้นมารับประทาน จะไม่รู้สึกว่าตนเองเกิดการติดสิ่งเสพย์ติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มที่ซื้อจากร้านนั้น ๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึกผิด สังเกตต่อความต้องการ จะซื้ออาหารจากร้านนั้นมารับประทาน หรือต่อเมื่อ มีอาการเสพย์ติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง 1.คนที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุต่าง ๆ เช่นได้รับบาดเจ็บรุนแรง เป็นแผลเรื้อรัง มีความเจ็บปวดอยู่เป็นประจำ เป็นโรคประจำตัวบางอย่าง เป็นต้น ทำให้ได้รับทุกข์ทรมานมาก หรือ เป็นประจำ จึงพยายามแสวงหาวิธีที่จะช่วยเหลือตนเองให้พ้นจากความทุกข์ทรมานนั้นซึ่งวิธีหนึ่งที่ทำได้ง่ายคือ การรับประทานยาที่มีฤทธิ์ระงับอาการเจ็บปวดนั้นได้ ซึ่งไม่ใช่เป็นการรักษาที่เป็นต้นเหตุของความเจ็บป่วย เพียงแต่ระงับอาการเจ็บปวดให้หมดไปหรือลดน้อยลงได้ชั่วขณะ เมื่อฤทธิ์ยาหมดไปก็จะกลับเจ็บปวดใหม่ ผู้ป่วยก็จะใช้ยานั้นอีก เมื่อทำเช่นนี้ไปนานๆ เกิดอาการติดยานั้นขึ้น 2.ผู้ที่มีจิตใจไม่เป็นปกติ เช่น มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวังในชีวิต มีความเศร้าสลดเสียใจ เป็นต้น ทำให้สภาวะจิตใจไม่เป็นปกติจนเกิดการป่วยทางจิตขึ้น จึงพยายามหายาหรือสิ่งเสพย์ติดที่มีฤทธิ์สามารถคลายความเครียดจากทางจิตได้ชั่วขณะหนึ่งมารับประทาน แต่ไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุเมื่อยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับเครียดอีก และ ผู้ป่วยก็จะเสพสิ่งเสพย์ติด ถ้าทำเช่นนี้ ไปเรื่อยๆ ก็จะทำให้ผู้นั้นติดยาเสพย์ติดในที่สุด 3. การไปซื้อยามารับประทานเองโดยไม่ทราบสรรพคุณยาที่แท้จริงขนาดยาที่ควรรับประทาน การรับประทานยาเกินจำนวนกว่าที่แพทย์ได้สั่งไว้ การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด หรือรับประทานติดต่อกันนานๆ บางครั้งอาจมีอาการถึงตายได้ หรือบางครั้งทำให้เกิดการเสพติดยานั้นได้ 3.สาเหตุอื่นๆ การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต หรือ เป็นผู้ขายหรือผู้ผลิตเอง จึงทำให้มีโอกาสติดสิ่งเสพย์ติดให้โทษนั้นมากกว่าคนทั่วไป เมื่อมีเพื่อนสนิทหรือพี่น้องที่ติดสิ่งเสพย์ติดอยู่ ผู้นั้นย่อมได้เห็นวิธีการเสพ ของผู้ที่อยู่ใกล้ชิด ทั้งใจเห็นพฤติกรรมต่างๆ ของเขาด้วย และยังอาจได้รับคำแนะนำหรือชักชวนจากผู้เสพด้วย จึงมีโอกาสติดได้ 1. คนบางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยมีรายได้ลดลง หรือมีหนี้สินมาก เมื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ไม่ได้ก็หันไปใช้สิ่งเสพย์ติด ช่วยผ่อนคลายความรู้สึก ในความทุกข์ยากต่างเหล่านี้
  • 7. 7 แม้จะรู้ว่าเป็นชั่วครู่ชั่วยามก็ตามเช่นกลุ้มใจที่เป็นหนี้คนอื่นก็ไปกินเหล้า หรือ สูบกัญชาให้เมาเพื่อที่จะได้ลืมเรื่องหนี้สิน บางคนต้องการรายได้เพิ่มขึ้น โดยพยายามทำงานให้หนัก และ มากขึ้นทั้ง ๆ ที่ร่างกายอ่อนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุ้นประสาทเพื่อให้สามารถทำงานต่อไปได้ ถ้าทำอยู่เป็นประจำทำให้ติดสิ่งเสพย์ติดนั้น 2. การเลียนแบบ การที่ไปเห็นผู้ที่ตนสนิทสนมรักใคร่หรือเพื่อน จึงเห็นว่าเป็นสิ่งน่าลอง เป็นสิ่งโก้เก๋ เป็นสิ่งแสดงความเป็นพวกเดียวกัน จึงไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นจนติด 3. คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวังในชีวิตสังคม เพื่อเป็นการประชดตนเองหรือคนอื่น จึงไปใช้สิ่งเสพย์ติดจนติด ทั้งๆ ที่ทราบว่าเป็นสิ่งไม่ดี ก็ตาม สาเหตุสำคัญที่ทำให้ติดยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยรุ่น 1. จากการถูกชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะเกิดจากเพื่อนสนิทที่กำลังติดยาอยู่และ อยากจะให้เพื่อนลองบ้าง ปัญหานี้มักจะเกิดกับเด็กที่มีปัญหาทางครอบครัวขาดความอบอุ่น ใจแตก เอาเพื่อนเป็นที่พึ่งนอกจากนี้ผู้ที่อยู่ในแหล่งที่มีการซื้อขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการ ชักจูง คุณภาพของยาเสพติดว่าดีต่าง ๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า เมื่อเสพแล้วจะทำให้ปลอด โปร่ง เหมาะแก่การเรียนการทำงาน การชักจูงดังกล่าวอาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ถูกชักจูง กำลังมึนเมา สุราเที่ยวแตร่กัน จึงทำให้เกิดการติดยาได้ 2. จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่า คงจะไม่ติดง่าย ๆ แต่เมื่อ ทดลอง เสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบัน เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก แม้เสพเพียงครั้งหรือสอง ครั้ง ก็จะติดแล้ว 3. จากการถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ผู้ถูกหลอกลวงไม่ทราบว่า สิ่งที่ ตนได้กินเข้าไปนั้น เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มีพิษร้ายแรง อะไรตามที่ผู้หลอกลวงแนะนำผลสุดท้าย กลายเป็นผู้ติดยาเสพติดไป 4. เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็นโรคปวดศีรษะ เป็นหืด เป็นโรคประสาทได้รับ ความทรมานทางกายมากผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัว เองมานานแต่ก็ไม่หาย จึงหันเข้าหายาเสพติด จนติดยาในที่สุด 5. จากความคึกคะนอง บุคคลประเภทนี้คิดว่าตัวเองเป็นคนเก่งอยากลองซึ่งรู้แก่ใจว่า ยาเสพติดให้โทษเป็นสิ่งไม่ดีแต่ด้วยความที่คึกคะนองเป็นวัยรุ่นไม่เกรงกลัวอะไร ต้องการแสดง ความเด่นดังอวดเพื่อนว่าข้านี้คือพระเอก ขาดความยั้งคิดจึงเสพยา เสพติดและติดยาในที่สุด 6. จากสิ่งแวดล้อม เช่น สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มี การเสพและค้ายาเสพติด ภาวะ ทางเศรษฐกิจบีบคั้นจิตใจ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล เหนือ จิตใจผลักดันให้ผู้ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว บางคนหันมาพึ่งยาเสพติดโดยคิดว่าจะช่วย ให้ตนเองหลุดพ้นจากสภาพต่าง ๆ ที่คับข้องใจเหล่านั้นได้
  • 8. 8 ประโยชน์ของสารเสพติด การจัดประเภทของยาเสพติดให้โทษ ได้แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ประเภท1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ไม่มีใช้ในทางการแพทย์ เช่น เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีนหรือยาบ้า ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษที่ใช้ในทางการแพทย์ เช่น มอร์ฟีน โคเคน ประเภท 3 ยาเตรียมที่มียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ เช่นยาแก้ไอผสมไอโอดีน ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดประเภท 1 หรือ 2 เช่นสารที่ใช้ในการผลิตเฮโรอีน และประเภท 5 ยาเสพติดที่ไม่จัดอยู่ในประเภท 1-4 เป็นพืช ได้แก่ กัญชา พืชฝิ่น พืชกระท่อม พืชเห็ด ขี้ควาย สำหรับยาเสพติดที่ใช้ในทางการแพทย์นั้นจัดอยู่ในประเภทที่ 2 อันประกอบด้วย กลุ่มมอร์ฟีนและโคเคน ซึ่งจะใช้เป็นยาระงับอาการปวดและใช้ในการผ่าตัด โดยปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่ายาเสพติดให้โทษบางชนิด สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ดีในทางการแพทย์ และมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการรักษาและบรรเทาอาการเจ็บปวดของคนไข้ ยาเสพติดที่ใช้ในทางการแพทย์จะมีคณะกรรมการอาหารและยาหรือ อย. กำกับดูแลอย่างเข้มงวด โดยจะคอยควบคุมการรับ การจ่าย การเก็บรักษาตัวยา การกระจายยาเสพติดที่ใช้รักษาไปยังสถานพยาบาลต่างๆ โดยจะจำหน่ายยาให้แก่ผู้ที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายเท่านั้น ส่วนร้านขายยาทั่วไปจะไม่ได้รับอนุญาตให้จำหน่ายหรือมีไว้ครอบครอง แต่หากมีการจำหน่ายต้องมีใบสั่งแพทย์จากทาง อย. อย่างถูกต้อง ปัจจุบันการใช้ยาเสพติดในการรักษาของประเทศไทย กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนา และมีข้อกำหนดทางการแพทย์เกี่ยวกับปริมาณการใช้สารเสพติดอย่างเพียงพอ เพื่อความเหมาะสมต่อผู้ป่วย ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้ป่วยเป็นหลัก และระมัดระวังการใช้เป็นพิเศษ โดยในอนาคตจะมีการคิดค้นและเพิ่มตัวยาเสพติดใหม่ๆ นำมาใช้ในทางการแพทย์ เพื่อใช้ทำการรักษาผู้ป่วยต่อไป โทษและพิษภัยของสารเสพติด เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไปเสพสารเหล่านี้เข้า ซึ่งเป็นโทษที่มองไม่เห็นชัด เปรียบเสมือนเป็นฆาตกรเงียบ ที่ทำลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุกวัน ก่อปัญหาอาชญากรรม ปัญหาสุขภาพ ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและบ้านเมืองอย่างร้ายแรง เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทที่มีฤทธิ์เป็นอันตรายต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติดสารเสพติดเหล่านั้นจึงไม่มีประโยชน์อะไรเกิดขึ้นแก่ร่างกายเลย แต่กลับจะเกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ จนอาจทำให้เสียชีวิต หรือ เกิดโทษและอันตรายต่อครอบครัว เพื่อนบ้าน สังคม และชุมชนต่างๆ ต่อไปได้อีกมาก โทษพิษภัยต่อครอบครัว 1. ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และญาติพี่น้องจะหมดสิ้นไป ไม่สนใจที่จะดูแลครอบครัว 2. ทำให้สูญเสียทรัพย์สินเงินทองที่จะต้องหามาซื้อสารเสพติดจนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอื่นและต้องเสียเงินรักษา ตัวเอง 3. ทำงานไม่ได้ขาดหลักประกันของครอบครัว และนายจ้างหมดความไว้วางใจ 4. สูญเสียสมรรถภาพในการหาเลี้ยงครอบครัว นำความหายนะมาสู่ครอบครัวและญาติพี่น้อง การสังเกต
  • 9. 9 อาการของผู้ใช้ยาเสพติด วิธีสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพยาเสพติด สามารถสังเกตได้จากความเปลี่ยนแปลงหรือลักษณะอาการและสิ่งที่ตรวจพบดังต่อไปนี้ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ นิสัย ความประพฤติ และบุคลิกภาพ - เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิดง่าย เอาแต่ใจขาดเหตุผล - ขาดเรียน ชอบหนีโรงเรียน หรือขาดงานบ่อย ๆ จนผิดปกติ - ไม่มีความเชื่อมั่นในตนเอง เชื่อถือไม่ได้ - ความคิดเชื่องช้า สติปัญญาเสื่อมลง ความจำเสื่อม มีผลให้การเรียน หรือการทำงานบกพร่อง - พูดจาเชื่อถือไม่ได้ พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย ไม่สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ขาดความรับผิดชอบ - มักเก็บตัวเงียบ ๆ หลบซ่อนตัวเอง ทำตัวปกปิดลึกลับ - ชอบเข้าห้องน้ำนาน ๆ - พบอุปกรณ์เกี่ยวกับการเสพยา เช่น หลอดฉีดยา เข็มฉีดยา กระดาษซองตะกั่ว - พูดจาก้าวร้าว ดื้อรั้น ผิดไปจากเดิม - ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายไม่เรียบร้อย สกปรกไม่ค่อยอาบน้ำ - มีนิสัย มีข้ออ้างในการออกนอกบ้านเสมอ ชอบเที่ยวเตร่กลับบ้านผิดเวลา - ทรัพย์สินในบ้านสูญหายบ่อย เพราะจะขโมยเอาไปขายเพื่อซื้อยาเสพ - เกียจคร้าน ไม่ชอบทำงาน - ง่วงเหงาหาวนอน นอนตื่นสายผิดปกติ - มีอาการวิตกกังวล เศร้าซึม สีหน้าจะหมองคล้ำ 2. อาการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย - สุขภาพร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม ซีดเหลือง ไม่มีแรง อ่อนเพลียง่าย - ริมฝีปากเขียวคล้ำ แห้งแตก - ตาแดงก่ำ รูม่านตาขยาย - น้ำมูกไหล เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรง - บริเวณแขน ตามข้อพับ หัวไหล่ มีรอยแผล รอยช้ำเป็นจ้ำ ๆ (ร่องรอยการฉีดยาเสพติดเข้าเส้น) - มีรอยแผลเป็นที่บริเวณแขน ท้องแขน อันเนื่องมาจากใช้ของมีคมกรีดเป็นทาง ๆ - ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลผุพอง อาจมีน้ำหนอง น้ำเหลืองคล้ายโรคผิวหนัง - ชอบใส่เสื้อแขนยาว และสวมแว่นตากรองแสงสีเข้ม เพื่อปิดร่องรอย และอาการจากการเสพยาเสพติด 3. ลักษณะของอาการขาดยา - หาวนอนบ่อย จามคล้ายคนเป็นหวัด น้ำมูก น้ำตาไหล - กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี่ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อาจถ่ายอุจจาระเป็นเลือด - เหงื่อออกมากผิดปกติ
  • 10. 10 - ปวดเมื่อย ร่างกายปวดเสียวในกระดูก ม่านตาขยายโตขึ้น ตาพร่าไม่สู้แดดมีอาการดิ้นทุรนทุราย - มีอาการสั่น หรือเป็นตะคริวตามมือแขนขา หรือส่วนใดส่วนหนึ่ง - มีอาการชัก เกร็ง ไข้ขึ้นสูง ความดันโลหิตสูง - หัวใจเต้นแรงและถี่ผิดปกติ - นอนไม่หลับ - เพ้อ คลุ้มคลั่ง อาละวาด ควบคุมตนเองไม่ได้ หลักในการหลีกเลี่ยงและป้องกันการติดสิ่งเสพย์ติด 1. เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ ครู และคนอื่นๆ ที่น่านับถือและหวังดี (จริงๆ) 2. เมื่อมีปัญหาควรปรึกษาครอบครัว ครู หรือผู้ใหญ่ที่น่านับถือ ไม่ควรเก็บปัญหานั้นไว้หรือหาทางลืมปัญหาโดยใช้สิ่งเสพย์ติดช่วยหรือ ใช้เพื่อเป็นการประชด 3. หลีกเลี่ยงให้ห่างไกลจากผู้ติดสิ่งเสพย์ติด หรือผู้จำหน่ายสิ่งเสพย์ติด 4. ถ้าพบคนกำลังเสพสิ่งเสพย์ติด หรือจำหน่ายให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ 5. ศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสิ่งเสพย์ติด เพื่อจะได้ป้องกันตัวและผู้ใกล้ชิดให้ห่างจากสิ่งเสพย์ติด 6. ต้องไม่ให้ความร่วมมือเข้าไปเกี่ยวข้องกับเพื่อนที่ติดสิ่งเสพย์ติด เช่นไม่ให้ยืมเงิน 7. ไม่หลงเชื่อคำชักชวนโฆษณา หรือคำแนะนำใดๆ หรือแสดงความเก่งกล้าเกี่ยวกับการเสพสิ่งเสพย์ติด 8. ไม่ใช้ยาอันตรายทุกชนิดโดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์ และควรใช้ยาที่แพทย์แนะนำให้ตามขนาดที่แพทย์สั่งไว้ เท่านั้น 9. หากสงสัยว่าตนเองจะติดสิ่งเสพย์ติดต้องรีบแจ้งให้ผู้ใหญ่ทราบ 10. ยึดมั่นในหลักธรรมของศาสนา หรือคำสอนของศาสนาทุกศาสนา เพราะทุกศาสนามีจุดมุ่งหมายให้บุคคลประพฤติแต่สิ่งดีงามและละเว้นความชั่ว วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นำเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทำรายงาน -นำเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ 0 บาท
  • 11. 11 ขั้นตอนและแผนดำเนินงาน ลำดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ ผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน สิริลักษณ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล สิริลักษณ์ 3 จัดทำโครงร่างงาน สิริลักษณ์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน สิริลักษณ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ สิริลักษณ์ 6 การทำเอกสารรายงาน สิริลักษณ์ 7 ประเมินผลงาน สิริลักษณ์ 8 นำเสนอโครงงาน สิริลักษณ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน) 1.ผู้จัดทำมีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.สามารถนำไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้รับรู้ได้ 3.ผู้อื่นสามารถนำความรู้ตรงนี้ไปใช้ประโยชน์ได้ สถานที่ดำเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราช กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา 2.กลุ่มพัฒนาผู้เรียน แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน) บ้านจอมยุทธ.ความหมายของยาเสพติด.25 กันยายน 2562. https://www.baanjomyut.com/library/drugs/index.html Nasac.Article.ประเภทของสารเสพติด.25 กันยายน 2562. http://www.sri.cmu.ac.th/~nsac/All_Page/Drug/habit-forming_drug_Page.htm site.google.วิธีเสพสารเสพติด.25 กันยายน 2562. https://sites.google.com/site/drugs2559/withi-kar-seph-sar-seph-tid site.google.สาเหตุการติดยา.26 กันยายน 2562. https://sites.google.com/site/payhayasephtidnichumchn/sahetu-kar-tid-ya-seph-tid site.google.ประโยชน์ของสารเสพติด.26 กันยายน 2562. https://sites.google.com/site/ruphisphayruhangkilyasephtid/prayochn-khxng-ya-seph-tid site.google.โทษของสารเสพติด.26 กันยายน 2562.