SlideShare a Scribd company logo
L/O/G/O
บทที่ 2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
The Changing of Instructional Technology
นางสาวพัชรี แสงจันทร์ 555050254-4
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
การสอนและการใช้สื่อของครูสมศรี
- สอนหรือบรรยายให้นักเรียนจาเนื้อหาบทเรียนให้มากที่สุด
- สื่อที่ใช้ในการสอน หนังสือเรียน,การสอนบนกระดานและวีดีโอ
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
- รอรับความรู้จากคุณครูเพียงอย่างเดียว
- ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดเพียงอย่างเดียว
- ไม่มีความกระตือรือร้นที่จะหาความรู้เพิ่มเติม
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครู
สมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษา
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
ปัญหาที่เกิดขึ้น
- นักเรียนลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา
- นักเรียนไม่สามารถคิดได้ตัวเอง
- นักเรียนไม่สามารถนาความรู้มาแก้ไขปัญหาในชีวิตประจาวันได้
1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครู
สมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษา
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
การเรียนการสอนของครูสมศรียังคงเป็นแบบเดิมไม่สอดคล้องกับการ
ปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพราะ ครูสมศรียังสอนโดย
เน้นให้ผู้เรียนจดจาเนื้อหา ซึ่งการเรียนแบบใหม่นั้นจะต้องให้ผู้เรียน
ได้คิด วิเคราะห์และเข้าใจในเนื้อหา ไม่ใช่เน้นที่การจดจาเท่านั้น ใน
ด้านของการใช้สื่อการสอนของครูสมศรีนั้น ยังเป็นการใช้สื่อการ
สอนในรูปแบบเดิม โดยที่ครูเลือกใช้สื่อเป็นตัวกลางในการส่งผ่าน
สารสนเทศ เนื้อหาไปยังผู้เรียน
การเปลี่ยนแปลงบทบาทของครู
 เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและเป็นแหล่ง
สาหรับตอบคาถาม
 เป็ นแหล่งข้อมูลสารสนเทศและถ่ายทอด
เนื้อหาความรู้ไปยังผู้เรียนโดยตรง
 ถามคาถามและดูแลทิศทางในการเรียนของ
ผู้เรียน
 ดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการทดสอบก่อน
เรียน ฝึกหัดทีละขั้นตอนเพื่อให้ได้บรรลุผล
 มีส่วนร่วมอย่างผู้ที่ไม่ได้รอบรู้เรื่องนั้น
ทั้งหมดแต่เกิดความต้องการที่จะเรียนรู้
 เป็นผู้ที่สนับสนุน ร่วมโค้ช สาหรับผู้เรียนที่
เรียนร่วมกันและประเมินผลข้อมูลข่าวสาร
 เป็นโค้ชหรือชี้แนะให้ผู้เรียนพัฒนาและตั้ง
คาถามด้วยตนเองและค้นหาคาตอบ
 ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความรู้และทักษะในการ
ค้นหาวิธีแก้ปัญหา
บทบาทเดิม บทบาทใหม่
การเปลี่ยนแปลงบทบาทของผู้เรียน
 เป็นผู้รอรับความรู้ แนวทางและสารสนเทศจาก
ครูผู้สอนโดยตรง
 แสดงบทบาทของผู้เรียนเสมอ
 ดาเนินกิจกรรมตามกระบวนการที่ได้รับการ
จัดการสอน
 มีแนวคิดว่าครูผู้สอนเป็นผู้ที่จะให้คาตอบได้
ทุกอย่าง
 ต้องตื่นตัวในการค้นหา ความต้องการเกี่ยวกับ
สารสนเทศ ประสบการณ์และวิธีค้นหาวิธีการหา
ความรู้ด้วยตนเอง
 มีส่วนร่วมแบบผู้เชี่ยวชาญ / ผู้จัดเตรียม
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
 ต้องการค้นหา ค้นพบ และหาวิธีแก้ปัญหาการ
เรียนรู้
 มีแนวคิดว่าครูผู้สอนเป็นแหล่งความรู้และผู้
ช่วยเหลือที่จะช่วยส่งเสริมการค้นหาและค้นพบ
วิธีการแก้ปัญหา
บทบาทเดิม บทบาทใหม่
แนวคิดจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนหรือเทคโนโลยีการศึกษา
 การออกแบบการสอน (Instructional Design)
เป็นกระบวนการหรือการเปลี่ยนแปลงจากหลักการเรียนรู้ การสอนสู่การ
วางแผนสาหรับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมการเรียน โดยเน้นเกี่ยวกับ
การสร้างการวางแผนสาหรับการพัฒนาสื่อการสอน และกิจกรรมที่จะช่วย
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้เชี่ยวชาญการสอนได้นาการวิเคราะห์ผู้เรียน
สถานการณ์ และภารกิจหรือเนื้อหามาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ
วัตถุประสงค์ในการออกแบบการสอน นั้นเพื่อเพิ่มศักยภาพของการจัด
การศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของมนุษย์ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การออกแบบการ
สอนหรือสื่อต่างๆ ไม่ได้พิจารณาเพียงแค่เทคโนโลยีที่เป็นอุปกรณ์เท่านั้น แต่
ต้องอาศัยและพิจารณาตามหลักพื้นฐานของ ทฤษฎีการเรียนรู้
แนวคิดจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอนหรือเทคโนโลยีการศึกษา
 สื่อการสอน (Instructional Design)
สื่อการสอน หมายถึง ตัวกลางที่ถ่ายทอดสารสนเทศไปสู่ผู้เรียน
ซึ่งสื่อแต่ละชนิดจะนาเสนอ หรือเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน ครูและการสอน
สื่อการเรียนรู้ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวผู้เรียนที่
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รวมถึงเหตุการณ์ แนวคิด
โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการค้นคว้าหรือการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง เพื่อเพิ่มพูนทักษะและประสบการณ์
2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน
การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
(The Changing Face of Education)
แนวคิดเดิม
ครูผู้สอนจะเป็น
ผู้ดาเนินการ ควบคุม
วางแผนการดาเนินการ
และประเมินผล ซึ่งเป็น
วิธีที่ทาให้ได้รับข้อมูล
ไม่มากนัก ในบางครั้งอาจ
เป็นการเรียนโดยเน้น
ทักษะจดจาหรือการ
ท่องจาเท่านั้น
แนวคิดใหม่
เนื่องจากกระแสการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
อย่างรวดเร็ว จึงต้องมีการ
ปรับเปลี่ยนการศึกษาให้
สอดคล้องกับกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของชาติและ
สังคมโลกอยู่ตลอดเวลา
การศึกษาแบบใหม่
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาใน
ทุกๆด้าน ไม่ใช่เฉพาะใน
ด้านของความรู้และทักษะ
ทางวิชาการเท่านั้น แต่
ผู้เรียนต้องคิดเป็น
แก้ปัญหาได้และสามารถ
เรียนรู้ ศึกษาด้วยตนเอง
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน (The Changing Learner)
Driscoll (1994) กล่าวว่า อาจจะไม่ใช่เวลาที่จะคิดว่าผู้เรียนเป็นภาชนะที่ว่าง
เปล่าที่รอรับการเติมให้เต็ม แต่น่าจะคิดว่าผู้เรียนเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความตื่นตัว
กระฉับกระเฉงและค้นหาความหมาย ซึ่งขณะนี้ผู้เรียนได้ถูกมองว่าเป็นผู้ที่มี
ส่วนร่วมในการเรียนรู้ คิดค้น เสาะแสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห์ ตั้งคาถาม
อธิบาย ตลอดจนทาความเข้าใจสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง
การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้นั้น ผู้เรียนจะต้องมี
ปฏิสัมพันธ์กับแหล่งข้อมูลที่มีศักยภาพ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่
ภูมิปัญญาขาวบ้านและบุคคลอื่นๆ เพื่อที่จะนามาสู่การหยั่งรู้ปัญหาและ
การแก้ปัญหา บทบาทของครูได้เปลี่ยนแปลงมาสู่การเป็นผู้แนะแนว
ช่วยเหลือให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูป
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ควรปรับการเรียนการสอนของครูสมศรีให้เป็นรูปแบบที่มุ้งเน้นให้
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้นักเรียนสามารถ คิด วิเคราะห์ หาความรู้
เพิ่มเติม และนาความรู้ที่มี ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้
การนาสื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษามาใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ครู
สื่อการสอน
ผู้เรียน
ผู้เรียน
ผู้เรียน
แหล่งเรียนรู้
ถ่ายทอดความรู้
เนื้อหา
ถ่ายทอดความรู้
เนื้อหา
สร้างความรู้
ผ่านประสบการณ์
/ แลกเปลี่ยนความรู้
ผู้เรียน
โมเดลการใช้สื่อการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ผู้สอน
สื่อ
เทคโนโลยี
แหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
L/O/G/O
Thank You!

More Related Content

What's hot

พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
Roiyan111
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
eafbie
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong
 
วิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมานวิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมาน
James12324
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Thunyalak Thumphila
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
Jigsaw
JigsawJigsaw
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
พัน พัน
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
Sireetorn Buanak
 
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
Wichai Likitponrak
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนPalasut
 
สถานีอวกาศ_is
สถานีอวกาศ_isสถานีอวกาศ_is
สถานีอวกาศ_is
apassara_is
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 

What's hot (20)

พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
วิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมานวิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมาน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
Jigsaw
JigsawJigsaw
Jigsaw
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อน
 
สถานีอวกาศ_is
สถานีอวกาศ_isสถานีอวกาศ_is
สถานีอวกาศ_is
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
ของไหล ม.5
ของไหล ม.5ของไหล ม.5
ของไหล ม.5
 

Viewers also liked

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Atar Tharinee
 
Dss pp
Dss ppDss pp
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา
kruwaeo
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นะนาท นะคะ
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
Yaowaluk Chaobanpho
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
Yaowaluk Chaobanpho
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ment1823
 
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )somdetpittayakom school
 
ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21
Pa'rig Prig
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
Teacher Sophonnawit
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
Anucha Somabut
 

Viewers also liked (13)

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา8 นโยบายการศึกษา
8 นโยบายการศึกษา
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทย
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )
 
ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21ศตรวรรดที่ 21
ศตรวรรดที่ 21
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 

Similar to Chapter2

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Pennapa Kumpang
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2
goojaewwaow
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
Thunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
Thunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
nfilmean
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลง
Thunyalak Thumphila
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาFern's Supakyada
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
Waraporn Phimto
 
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาWuth Chokcharoen
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
นู๋หนึ่ง nooneung
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาMintra Subprue
 
งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2Romrawin Nam
 

Similar to Chapter2 (20)

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของการศึกษา
 
การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลง
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Innovation chapter 2
Innovation chapter 2Innovation chapter 2
Innovation chapter 2
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการศึกษา
 
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter
Chapter   Chapter
Chapter
 
งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2งานกลุ่ม Inno #2
งานกลุ่ม Inno #2
 
Chapter2 2003
Chapter2 2003Chapter2 2003
Chapter2 2003
 
Chapter 2#
Chapter 2#Chapter 2#
Chapter 2#
 

Chapter2