SlideShare a Scribd company logo
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้
EDA 6135 การบริหารงานวิชาการและประกันคุณภาพ
เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.รุจิร์ ภู่สาระ
อาจารย์ ดร.กัลยมน อินทุสุต
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การปฏิรูปการศึกษาที่กาลังดาเนินการใน
ปัจจุบันตาม พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พุทธศักราชที่ 2542 และก้าวย่าง
สู่ยุคของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่
นั้น ได้เน้นการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
( Learner Center)
การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนี้ พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติได้ให้ความสาคัญไว้ในหลายมาตราด้วยกัน
มาตรา 6
พัฒนาคนไทยให้สมบูรณ์ทั้งรายกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี
จริยธรรม วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นไดอย่างมีความสุข
มาตรา 7
รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 22
นักเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ
มาตรา 23
จัดการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมในเรื่องต่างๆ เช่น ตนเอง สังคม
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม กีฬา อาชีพ คณิตศาสตร์ ภาษา เป็นต้น
มาตรา 24
จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดย
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิด
เป็นทาเป็น รักการอ่าน เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ผสมผสานสาระความรู้ต่างๆ อย่างได้
สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้
ในทุกรายวิชา จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และสิ่งอานวยความสะดวกให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่
มาตรา 25
จัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอ
ศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การ
กีฬา และนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
มาตรา 30
ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ผู้สอน
สามารถวิจันเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา
1. สารวจแหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งในสถานศึกษา ชุมชน
ท้องถิ่น ในเขตพื้นที่การศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษาใกล้เคียง (ทาทะเบียนแหล่งเรียนรู้)
2.จัดให้มีแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้
สอดคล้องกับการจัดการศึกษา ให้เพียงพอ และสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้
3.จัดทาเอกสารรวบรวมเผยแพร่แก่ครู สถานศึกษาอื่น บุคคล ครอบครัว องค์การ
หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษาบริเวณใกล้เคียง
4.จัดระบบแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นให้เชื่อมต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน ของสถานศึกษา
ของตนเอง
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ของสถานศึกษา
5. จัดระบบแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน ของสถานศึกษา
ของตนเอง
6. จัดตั้ง และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งพัฒนาให้เกิดองค์ความรู้ และประสานความ
ร่วมมือกับสถานศึกษาอื่น บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน ในการจัดตั้งส่งเสริม
พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่ใช้ร่วมกันวางแผนการใช้ร่วมกัน
7. ประสานความร่วมมือวางแผนกับสถานศึกษาอื่น บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน
โดยส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ที่แต่ละแห่งมี เพื่อใช้ประโยชน์ให้เกิดกับผู้เรียนร่วมกัน
8. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียนในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ โดยครอบคลุมภูมิปัญญาท้องถิ่น
กระบวนการจัดการเรียนการสอนกระบวนทัศน์ใหม่
New Paradigm
การเปรียบเทียบรูปแบบการสอนแบบเก่า - แบบใหม่
ครู
นักเรียน
ครู
นักเรียน
แหล่งเรียนรู้
สอนตรง
แบบเก่า แบบใหม่
จัดสถานการณ์การเรียนรู้
เรียนรู้จากแหล่ง
เรียนรู้
ความหมายของแหล่งการเรียนรู้
กรมสามัญศึกษา (2544 ;6) กล่าวถึงแหล่งเรียนรู้ว่า
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข่าวสารข้อมูล สารสนเทศ แหล่งความรู้ทางวิทยาการ
และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ และ
เรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อ
เสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
ความหมายของแหล่งการเรียนรู้
สามารถ รอดคา (2546 ;19) กล่าวถึงแหล่งเรียนรู้ว่า
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิต ได้แก่ บุคคล สถานที่ต่างๆ แหล่ง
วิทยาการธรรมชาติ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และเทคโนโลยี
สารสนเทศต่างๆ ที่เสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบุคคลแห่งการ
เรียนรู้ด้วยตนเองโดยประสบการณ์ตรงเพื่อให้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ใน
ชีวิตประจาวัน
สรุปได้ว่า
แหล่งเรียนรู้ คือ
สถานที่หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วยข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ที่สามารถนามาจัด
กิจกรรมกาเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มีความรู้
สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ลักษณะเด่นและความสาคัญของการใช้แหล่งเรียนรู้
ลักษณะเด่นของการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้(สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2550:1)
1. ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง
2. ผู้เรียนได้ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม
3. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะต่างๆ
4. ผู้เรียนได้ประเมินผลการทางานด้วยตนเอง
5. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ และเผยแพร่ได้
6. ผู้สอนเป็นที่ปรึกษา ให้คาแนะนา สนับสนุน
แนวคิดสาคัญในการใช้แหล่งเรียนรู้
1. แหล่งเรียนรู้เป็นแหล่งที่นักเรียนจะศึกษาค้นคว้าหาคาตอบที่สนใจใฝ่รู้ แหล่งเรียนรู้มีทั้ง
ในโรงเรียน และชุมชน
2. แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนนอกจากห้องเรียนแล้ว สถานที่ต่างๆจัดเป็นแหล่งเรียนรู้
3. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และที่สร้างขึ้น
4. โรงเรียนจัดการเรียนรู้โดยเชื่อมโยงกิจกรรมต่อเนื่องระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียน ใน
โรงเรียน และชุมชน
แนวคิดสาคัญในการใช้แหล่งเรียนรู้
1. แหล่งเรียนรู้เป็นแหล่งที่นักเรียนจะศึกษาค้นคว้าหาคาตอบที่สนใจใฝ่รู้ แหล่งเรียนรู้มีทั้ง
ในโรงเรียน และชุมชน
2. แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนนอกจากห้องเรียนแล้ว สถานที่ต่างๆจัดเป็นแหล่งเรียนรู้
3. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และที่สร้างขึ้น
4. โรงเรียนจัดการเรียนรู้โดยเชื่อมโยงกิจกรรมต่อเนื่องระหว่างการเรียนรู้ในห้องเรียน ใน
โรงเรียน และชุมชน
แนวคิดสาคัญในการใช้แหล่งเรียนรู้ในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. การจัดการเรียนรู้เน้นความสาคัญที่
ผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุดใน
กระบวนการเรียนรู้
“เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ”
2. ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยการฝึกทักษะ
กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสังเกต
การรวบรวมข้อมูล และการปฏิบัติจริง ทาได้
คิดเป็น ทาเป็น
แนวคิดสาคัญในการใช้แหล่งเรียนรู้(ต่อ)
3. ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกกับ
การเรียนรู้
4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทั้งระบบ
5. ปรับเปลี่ยนการจัดกระบวนการเรียนรู้
ของครูผู้สอนให้มาเป็นผู้รับฟัง เสนอแนะ
6. ต้องการให้เรียนรู้ในสิ่งที่มีความหมายต่อชีวิต
แนวคิดสาคัญในการใช้แหล่งเรียนรู้(ต่อ)
7. ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกจัดกิจกรรม ได้
เรียนรู้ตามความต้องการ เพื่อให้ได้รับ
ประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยตนเอง
8. ถือว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา
9. ปลูกฝัง สอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ประเภทของแหล่งเรียนรู้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบที่ 1
จัดตามลักษณะของแหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ตามธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น บุคคล
ประเภทของแหล่งเรียนรู้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบที่ 2
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
ลักษณะของแหล่งเรียนรู้
1. ต้องจัดบรรยากาศของแหล่งเรียนรู้ให้เป็นสภาพจริงหรือเหมือนสภาพจริงมากที่สุด
2. มีการจัดทรัพยากรในแหล่งเรียนรู้ให้พอเพียง
3. ปรับสภาพของสถานที่เรียนให้ผู้เรียนได้เรียนด้วยตนเองให้มากที่สุด
4. จัดบริเวณโรงเรียนให้เกิดแหล่งเรียนรู้ และแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้
5. จัดศูนย์วิทยบริการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้
6. มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง
7. มีการร่วมมือระหว่างโรงเรียน และชุมชน เพื่อช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมให้เป็น
แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน
หลักการบริหารแบบ 4 M’s
Man Money Materials Management
การบริหารจัดการและแนวทางการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
บทบาทของบุคลากรกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
บทบาทผู้บริหาร/รองผู้บริหารโรงเรียน
1. กาหนดนโยบาย วางแผน เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการจัดหา จัดสร้าง หรือพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
2. ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ในการจัด การใช้
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
3. สนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการนาเสนอผลงาน โครงการ
หรือนวัตกรรมที่เกิดจาการศึกษาหรือใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
4. นิเทศ กากับ ติดตาม ดูแล ประเมินผลระบบการจัดการเรียนการสนอโดยใช้แหล่ง
เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
บทบาทของบุคลากรกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
บทบาทของครูผู้สอน
1. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในโรงเรียน ชุมชน
2. ให้คาปรึกษา แนะนาผู้เรียนในการศึกษาหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้
3. จัดหา ประสานงานวัสดุอุปกรณ์ เอกสารเพิ่มเติม ให้การแนะนา
4. ประเมินการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ในภาพรวม
5. ติดตาม ช่วยเหลือการดาเนินงาน แนะนาความถูกต้อง
6. ประยุกต์ใช้ เผยแพร่ผลงาน สรุปและประเมินผล
บทบาทของบุคลากรกับการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
บทบาทของผู้เรียน
1. สารวจแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ชุมชน และศึกษาเอกสารพร้อมจดบันทึก
2. แบ่งกลุ่ม แบ่งหน้าที่การทางาน นาความรู้เสนอภายในกลุ่ม
3. ตรวจสอบข้อมูล ความถูกต้อง ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้
ต่างๆ
4. ประเมินผลด้านความรู้ กระบวนการทางานโดยตนเอง คณะครู และผู้ปกครอง
5. เลือกรูปแบบ และวิธีการนาเสนอผลงาน
6. เสนอผลงานการปฏิบัติงาน เผยแพร่ผลงานต่อผู้เรียน สรุปและประเมินผล
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
ที่มา : สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ( 2550 ) ; 4
1. ขั้นสารวจ
2. ขั้นการเรียนรู้
3. ขั้นประเมินผล
4. ขั้นนาไปใช้
5. ขั้นประยุกต์ความรู้ และเผยแพร่ผลงาน
การใช้ประโยชน์แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษา และพลศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
การงานอาชีพ และ
เทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับใช้แหล่งเรียนรู้ : ประสิทธิภาพการปฏิบัติ
1. การเตรียมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
2. การกาหนดสถานที่แหล่งเรียนรู้
3. การปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนไปศึกษานอกชั้นเรียน
4. การพาผู้เรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
แผนผังการบริหารและ
จัดการแหล่งเรียนรู้
ศึกษาเทคนิค วิธีการ การจัดการ
ขยายผล
มอบหมายภารกิจ
ผู้บริหาร
ปฏิบัติตามภารกิจ
นอกห้องเรียน
ประเมินผล
รายงานผล
เผยแพร่
ประชาสัมพันธ์
ครู
นักเรียน
ชุมชน
บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ครู นักเรียน บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ในห้องเรียน ในชุมชน
การจัดสภาพแวดล้อม
ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละวัย
ระดับปฐมวัย
ระดับประถมศึกษา
บรรยากาศการจัดการเรียนการสอน
ภาคปฏิบัติในแผนกช่างกลโรงงาน ระดับอาชีวศึกษา
ระดับมหาวิทยาลัย
การจัดสภาพแวดล้อม
ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละ
ประเทศ
ฟินแลนด์
ญี่ปุ่น
เกาหลีใต้
สิงคโปร์

More Related Content

What's hot

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
Prapaporn Boonplord
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
krisdika
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
YingZaa TK
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
Anucha Somabut
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 

What's hot (20)

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
Watcharasak Chantong
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
wanitchaya001
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
poppai041507094142
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
teerayut123
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
nattapong147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
fernfielook
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Theerayut Ponman
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Sana T
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Similar to การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม (20)

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม