SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
เรื่อง ... ดาวฤกษ์
ความรู้เรื่อง ดาวฤกษ์ เป็นส่วนหนึ่งในวิชาวิทยาศาสตร์
ที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 6 กาลังศึกษาอยู่
และในโครงงานนี้จะสามารถอธิบายเรื่องดาวฤกษ์ได้
วัตถุประสงค์
 -เพื่อใช้ศึกษาเรื่องดาวฤกษ์
 -ง่ายต่อการค้นคว้าหาข้อมูล

ขอบเขตโครงงาน
 -เน้นการใช้สื่ออีเลกทอนิค

เพื่อให้ประหยัดต่อการทางาน
ความหมายของ ดาวฤกษ์

องค์ประกอบทางเคมี

กาเนิดและวิวัฒนาการ

อายุ
เส้นผ่านศูนย์กลาง

การจัดประเภท
เนบิวลา
ดาวยักษ์แดง

สนามแม่เหล็ก

ดาวยักษ์ใหญ่แดง
หมายเหตุ : คลิกเพื่อเลือกหัวข้อ
และคลิกซ้าที่หัวข้อเมื่อต้องการกลับมาที่สารบัญ

ซูเปอร์โนวา
ดาวนิวตรอน

ดาวแคระขาว
 คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ดวยแรง
้

โน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็น
แหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้
บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ใน
ประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัด
เข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตัง
้
ชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทาบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์
เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์
ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจาก
ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อย
พลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่
อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนัก
กว่าฮีเลียมมีกาเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการ
สังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างทีดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือ
่
เกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาว
ฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย
นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุส่วนประกอบ
ทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จาก
การสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ
มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกาหนดหลักในลาดับวิวัฒนาการ
และชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของ
ดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และ
อุณหภูมิ ถูกกาหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพ
คู่ลาดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จานวน
มาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัส
เซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทาให้สามารถระบุอายุและ
รูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้
 ดาวฤกษ์จะก่อตัวขึ้นภายในเขตขยายของมวลสารระหว่างดาวที่มี

ความหนาแน่นสูงกว่า ถึงแม้ว่าความหนาแน่นนี้จะยังคงต่ากว่าห้อง
สุญญากาศบนโลกก็ตาม ในบริเวณนี้ซึ่งเรียกว่า เมฆโมเลกุล และ
ประกอบด้วยไฮโดรเจนเป็นส่วนใหญ่ โดยมีฮีเลียมราวร้อยละ 2328 และธาตุที่หนักกว่าอีกจานวนหนึ่ง ตัวอย่างหนึ่งของบริเวณที่มี
การก่อตัวของดาวฤกษ์อยู่ในเนบิวลานายพรานและเมื่อดาวฤกษ์
ขนาดใหญ่ก่อตั้งขึ้นจากเมฆโมเลกุล ดาวฤกษ์เหล่านี้ก็ได้ให้ความ
สว่างแก่เมฆเหล่านี้ นอกจากนี้ยังเปลี่ยนไฮโดรเจนให้กลายเป็น
ไอออน ทาให้เกิดบริเวณที่เรียกว่า บริเวณเอช 2
 ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยา

เทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายใน
ของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้น
โดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกาเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิด
จากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวตอยู่ หรือเกิด
ิ
จากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการ
ระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ
ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จาก
การสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ
 ระบบการจัดประเภทดาวฤกษ์อย่างที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้เริ่มต้นมา

แต่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยแบ่งดาวฤกษ์ออกเป็นประเภท
ต่างๆ ตั้งแต่ A จนถึง Q ตามความเข้มของเส้นสเปกตรัม
ไฮโดรเจน[123] ในเวลานั้นยังไม่ทราบกันว่า อิทธิพลสาคัญของ
ความเข้มของเส้นสเปกตรัมคือ อุณหภูมิ เส้นสเปกตรัมไฮโดรเจน
จะเข้มมากที่สุดที่อุณหภูมิประมาณ 9000 เคลวิน และอ่อนลงทั้ง
กรณีที่อุณหภูมิสูงหรือต่ากว่านั้น ครั้นเมื่อเปลี่ยนวิธีการจัดประเภท
ดาวฤกษ์มาเป็นการอิงตามระดับอุณหภูมิ จึงได้มีลักษณะคล้ายคลึง
กับรูปแบบการจัดประเภทในสมัยใหม่
มีการใช้รหัสตัวอักษรเดี่ยวที่แตกต่างกันเพื่อแสดงถึงประเภทของดาวฤกษ์แบบต่างๆ
ที่แยกแยะตามสเปกตรัม ตั้งแต่ประเภท O อันเป็นดาวฤกษ์ที่ร้อนมาก ไป
จนถึง M อันเป็นดาวฤกษ์ที่เย็นจนโมเลกุลอาจก่อตัวในชั้นบรรยากาศ ประเภทของ
ดาวฤกษ์เรียงตามลาดับอุณหภูมิพื้นผิวจากสูงไปต่า ได้แก่ O, B, A, F G,
,
K และ M สาหรับประเภทสเปกตรัมบางอย่างที่พบได้ค่อนข้างน้อย จะจัดเป็น
ประเภทพิเศษ ที่พบมากที่สุดในจานวนนี้คือประเภท Lและ T ซึ่งเป็นดาวฤกษ์มวล
น้อยที่เย็นที่สุด กับดาวแคระน้าตาล ตัวอักษรแต่ละตัวจะมีประเภทย่อยอีก 10
ประเภท แสดงด้วยตัวเลขตั้งแต่ 0 ถึง 9 เรียงตามลาดับอุณหภูมิจากสูงไปต่า
อย่างไรก็ดี ระบบการจัดประเภทแบบนี้จะใช้ไม่ได้เมื่ออุณหภูมิมีค่าสูงมากๆ กล่าวคือ
ดาวฤกษ์ประเภท O0 และ O1 จะไม่มีอยู่จริง
เป็นกลุ่มเมฆหมอกของฝุ่น

แก๊ส และพลาสมาในอวกาศ
เดิมคาว่า "เนบิวลา" เป็นชื่อสามัญ ใช้เรียกวัตถุทางดารา
ศาสตร์ที่เป็นปื้นบนท้องฟ้าซึ่งรวมถึงดาราจักรที่อยู่ห่างไกล
ออกไปจากทางช้างเผือก
 เป็นดาวฤกษ์มวลน้อยหรือมวลปานกลางขนาดยักษ์ที่ส่องสว่างมาก

(มวลโดยประมาณ 0.5-10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์) ซึ่งอยู่ใน
ช่วงเวลาท้ายๆ ของวิวัฒนาการของดาวฤกษ์บรรยากาศรอบนอก
ของดาวจะลอยตัวและบางมาก ทาให้รัศมีของดาวขยายใหญ่ขึ้น
มาก และอุณหภูมพื้นผิวก็ต่า อาจอยู่ที่ประมาณ 5000 เคลวินหรื
ิ
อน้อยกว่านั้น ภาพปรากฏของดาวยักษ์แดงจะมีสีตั้งแต่เหลืองส้ม
ออกไปจนถึงแดง ครอบคลุมระดับสเปกตรัมในชั้น K และ M
อาจบางทีรวมถึงชั้น S และดาวคาร์บอนจานวนมากด้วย


เป็นดาวยักษ์ที่มีค่าสเปกตรัมชนิด K หรือ M เป็นดาวฤกษ์ขนาด
ใหญ่ที่สุดในเอกภพเมื่อดูในแง่ของปริมาตร แม้จะไม่ใช่ดาวที่มีมวล
มากที่สุด ดาวที่รู้จักกันว่าเป็นดาวยักษ์ใหญ่แดง ได้แก่ บีเทล
จุส และ อันแตร์ส
 เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ระเบิดที่มีพลังมากที่สุดที่รู้จัก นั่นคือเป็นการ

ระเบิดของดาวฤกษ์มวลมากเมื่อสิ้นอายุขัยแล้ว จะเปล่งแสงสว่าง
มหาศาลและระเบิดออกรัศมีสว่างวาบเป็นรัศมีเพียงชั่วครู่ ก่อนจะ
เลือนจางลงในเวลาสัปดาห์หรือเดือนเท่านั้น
 เป็นซากที่เหลือจากยุบตัวของการระเบิดแบบซูเปอร์โนวาชนิด

II,Ib หรือ Ic และจะเกิดเฉพาะดาวฤกษ์มวลมากมี
ส่วนประกอบเพียงนิวตรอนที่อะตอมไร้กระแสไฟฟ้า (นิวตรอนมี
มวลสารใกล้เคียงโปรตอน) และดาวประเภทนี้สามารถคงตัวอยูได้
่
ด้วยหลักการกีดกันของเพาลีเกี่ยวกับแรงผลักระหว่างนิวตรอน


เป็นดาวขนาดเล็กที่ส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยอิเล็กตรอนที่เป็น
สสารเสื่อม เนื่องจากดาวแคระขาวที่มีมวลเท่ากับดวงอาทิตย์จะมี
ปริมาตรใกล้เคียงกับโลก ทาให้มันมีความหนาแน่นสูงและมีกาลัง
ส่องสว่างน้อยมาจากความร้อนที่สะสมไว้
ดาวแคระขาวเป็นดาวที่อยู่ในช่วงสุดท้ายของวิวัฒนาการของดาวทุก
ดวงที่มีมวลไม่มากซึ่งมีปริมาณ 97% ของดาวฤกษ์ที่พบในทาง
ช้างเผือก หลังจากที่ดาวฤกษ์ในแถบลาดับหลักได้จบช่วงที่มีปฏิกิริยา
ไฮโดรเจนนิวเคลียร์ฟิวชั่นลง มันก็จะขยายเป็นดาวยักษ์แดง และ
หลอมฮีเลียมเป็นคาร์บอนและออกซิเจนที่ใจกลางโดย
กระบวนการ triple-alpha ถ้าดาวยักษ์แดงมีมวลไม่เพียง
พอที่จะทาให้ใจกลางมีอุณหภูมิสูงพอที่จะหลอมคาร์บอนได้ มวลเฉื่อย
ของคาร์บอนและออกซิเจนจะก่อตัวที่ศูนย์กลาง หลังจากนั้นชั้นนอก
ของดาวก็จะถูกพ่นออกไปกลายเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์ ก็จะเหลือ
เพียงใจกลางที่เป็นดาวแคระขาวไว้
 เมื่อแรกที่ดาวฤกษ์ก่อตัวขึ้น มันประกอบด้วยไฮโดรเจน

71% และ
ฮีเลียม 27% โดยมวล[80] กับสัดส่วนของธาตุหนักอีกเล็กน้อย
โดยทั่วไปเราวัดปริมาณของธาตุหนักในรูปขององค์ประกอบ
เหล็กในชั้นบรรยากาศของดาวฤกษ์ เนื่องจากเหล็กเป็นธาตุ
พื้นฐาน และการตรวจวัดเส้นการดูดซับของมันก็ทาได้ง่าย ในเมฆ
โมเลกุลอันเป็นต้นกาเนิดของดาวฤกษ์จะอุดมไปด้วยธาตุหนัก
มากมายที่ได้มาจากซูเปอร์โนวาหรือการระเบิดของดาวฤกษ์รุ่นแรก
ดังนั้นการตรวจวัดองค์ประกอบทางเคมีของดาวฤกษ์จึงสามารถใช้
ประเมินอายุของมันได้
 ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ระหว่าง

1 พันล้านถึง 1 หมื่นล้านปี มีบ้างบางดวงที่
อาจมีอายุถึง 13,700 ล้านปีซึ่งเป็นอายุโดยประมาณของเอกภพดาวฤกษ์ที่
เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ค้นพบขณะนี้คือ HE 1523-0901 ซึ่งมีอายุ
โดยประมาณ 13,200 ล้านปียิ่งดาวฤกษ์มีมวลมากเท่าใด ก็จะยิ่งมีอายุสั้น
เท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากดาวฤกษ์ที่มีมวลมากจะมีแรงดันภายในแกนกลางที่สูงกว่า
ทาให้การเผาผลาญไฮโดรเจนเป็นไปในอัตราที่สูงกว่า ดาวฤกษ์มวลมากที่สุดมี
อายุเฉลี่ยเท่าที่พบราว 1 ล้านปี ส่วนดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยที่สุด เผาผลาญ
พลังงานภายในตัวเองในอัตราที่ต่ามาก และมีอายุอยู่ยาวนานตั้งแต่หลักพันล้าน
จนถึงหมื่นล้านปี
 ดาวฤกษ์ต่างๆ

อยู่ห่างจากโลกมาก ดังนั้นนอกจากดวงอาทิตย์แล้ว เราจึง
มองเห็นดาวฤกษ์ต่างๆ เป็นเพียงจุดแสงเล็กๆ ในเวลากลางคืน ส่องแสง
กะพริบวิบวับเนื่องมาจากผลจากชั้นบรรยากาศของโลก ดวงอาทิตย์ก็เป็น
ดาวฤกษ์ดวงหนึ่ง แต่อยู่ใกล้กับโลกมากพอจะปรากฏเห็นเป็นรูปวงกลม และ
ให้แสงสว่างในเวลากลางวัน นอกเหนือจากดวงอาทิตย์แล้ว ดาวฤกษ์ที่มี
ขนาดปรากฏใหญ่ที่สุดคือ R Doradus ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางเชิงมุม
เพียง 0.057 พิลิปดา
 สนามแม่เหล็กของดาวฤกษ์เกิดขึ้นจากบริเวณภายในของดาวที่ซึ่ง

เกิดการไหลเวียนของการพาความร้อน การเคลื่อนที่นี้ทาให้ประจุใน
พลาสมาทาตัวเสมือนเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบไดนาโม ซึ่งทาให้
เกิดสนามแม่เหล็กแผ่ขยายออกมาภายนอกดวงดาว กาลังของ
สนามแม่เหล็กนี้แปรตามขนาดของมวลและองค์ประกอบของดาว
ส่วนขนาดของกิจกรรมพื้นผิวสนามแม่เหล็กก็ขึ้นกับอัตราการ
หมุนรอบตัวเองของดาวฤกษ์นั้น กิจกรรมที่พื้นผิวสนามแม่เหล็กนี้ทา
ให้เกิดจุดบนดาวฤกษ์ อันเป็นบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กเข้มกว่าปกติ
และมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่าปกติ วงโคโรนาคือแนวสนามแม่เหล็กโค้งที่
แผ่เข้าไปในโคโรนา ส่วนเปลวดาวฤกษ์คือการระเบิดของอนุภาค
พลังงานสูงที่แผ่ออกมาเนื่องจากกิจกรรมพื้นผิวสนามแม่เหล็ก
 www.wikipedia.org
 นางสาวจินดามณี ภาคไพรศรี เลขที่ 30 ชั้น ม.6/15
 ณัฐพรไพศาล เลขที่ 35 ชั้น ม.6/15

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52Dmath Danai
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบBiobiome
 
4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรมJiraporn Chaimongkol
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotWeerachai Jansook
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
หน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบหน้าที่พิเศษของใบ
หน้าที่พิเศษของใบ
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 
4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม4.โรคทางพันธุกรรม
4.โรคทางพันธุกรรม
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwotกรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
กรณีตัวอย่างการวิเคราะห์สภาพโรงเรียนด้วยเทคนิคSwot
 

Viewers also liked

บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนกNonglawan Saithong
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์Noknun Luesat
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ployprapim
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 

Viewers also liked (9)

บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์ (20)

ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
Sun
SunSun
Sun
 
Astroplan13
Astroplan13Astroplan13
Astroplan13
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
Astro2 pdf
Astro2 pdfAstro2 pdf
Astro2 pdf
 
Milky way2
Milky way2Milky way2
Milky way2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
ม642(แก้)
ม642(แก้)ม642(แก้)
ม642(แก้)
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์