SlideShare a Scribd company logo
ปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence
ปัญญาประดิษฐ์
Artificial Intelligence
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
2 กุมภาพันธ์ 2562
Introduction
เกริ่นนำ
 ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) อาจจะไม่ไกลตัวอีก
ต่อไป กับการที่สิ่งไม่มีชีวิตเช่น เครื่องจักร หรือ หุ่นยนต์
สามารถประมวลผลข้อมูล วิเคราะห์ และตัดสินใจแทนมนุษย์ได้
 อาจจะเป็นสิ่งที่เราเคยเห็นเฉพาะในภาพยนตร์ โดยที่ไม่คาดคิด
ว่าเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่อย่างปัญญาประดิษฐ์ (AI) จะ
เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตจริงของเราได้อย่างรวดเร็ว และทุก
อย่างอาจจะเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดดกันเลยทีเดียว
What is AI?
ปัญญาประดิษฐ์คืออะไร
 ปัญญาประดิษฐ์ หรือที่เรียกกันว่า AI คือ โปรแกรมที่ถูกเขียน
และพัฒนาให้มีความฉลาด มีความสามารถคิด วิเคราะห์
วางแผน และตัดสินใจได้ โดยการประมวลผลจากฐานข้อมูล
ขนาดใหญ่ มากไปกว่านั้นยังสามารถดัดแปลงการประมวลผล
ประยุกต์ ให้เป็นไปตามสถานการณ์ต่างๆ
Putting AI systems to work
การนำ AI ไปใช้งาน
1. ด้านการผลิต (Production) 
2. การตรวจสอบ (Inspection) 
3. การประกอบชิ้นส่วน (Assembly) 
4. ด้านบริการ (Field service) 
5. ด้านการซ่อมแซมโทรศัพท์ (Telephone repair) 
6. การตรวจสอบบัญชี (Auditing) 
7. การคิดภาษี (Tax accounting) 
8. การวางแผนด้านการเงิน (Financial planning) 
9. ด้านการลงทุน (Investments) 
10. ด้านบุคคล (Personnel) 
11. ด้านการตลาด และการขาย (Marketing and sales) 
12. การอนุมัติสินเชื่อ (Credit authorization) 
13. หน่วยงานด้านบริการของรัฐ (Human services agency) 
14. การทำนายทางการแพทย์ (Medical prognosis)
AI
Artificial Intelligence
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
 หมายถึงความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต
 ปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาหนึ่งในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และ
วิศวกรรมเป็นหลัก แต่ยังรวมถึงศาสตร์ในด้านอื่น ๆ อย่าง
จิตวิทยา ปรัชญา หรือ ชีววิทยา 
 ซึ่งสาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการ
คิด การกระทำ การให้เหตุผล การปรับตัว หรือ การอนุมาน และ
การทำงานของสมอง 
 History of artificial intelligence
 ปัญญาประดิษฐ์นั้นเริ่มก่อตั้งขึ้นในที่ประชุมวิชาการที่ Dartmouth
College สหรัฐอเมริกา ในช่วงหน้าร้อน ค.ศ. 1956 โดยผู้ร่วมใน
การประชุมครั้งนั้น ได้แก่ Allen Newell (CMU), Herbert
Simon (CMU), John McCarthy (MIT), Marvin Minsky (MIT) และ
Arthur Samuel (IBM)  ที่ได้กลายมาเป็นผู้นำทางปัญญาประดิษฐ์
ในอีกหลายสิบปีต่อมา
 นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้ เขียนโปรแกรมที่หลายคนทึ่ง ไม่ว่าจะเป็น
คอมพิวเตอร์ที่สามารถเอาชนะคนเล่นหมากรุก แก้ไขปัญหาเกี่ยว
กับคำด้วยพีชคณิต พิสูจน์ทฤษฎีทางตรรกวิทยา หรือแม้กระทั่ง
พูดภาษาอังกฤษได้
History of AI (cont.)
 ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 งานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์
ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรก ด้วยระบบที่ชื่อ
ว่า ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert systems) อันเป็นระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการหาคำตอบ อธิบายความไม่ชัดเจน ซึ่ง
ปกตินั้นจะใช้ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาตอบคำถามนั้น
 ในปี ค.ศ. 1985 ตลาดของปัญญาประดิษฐ์ทะยานขึ้นไปแตะ
ระดับ 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในขณะเดียวกัน โครงการ
คอมพิวเตอร์รุ่นที่ 5 ของญี่ปุ่ นก็ได้จุดประกายให้รัฐบาล
สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร หันมาให้เงินทุนสนับสนุน
งานวิจัยในสาขาปัญญาประดิษฐ์อีกครั้ง
History of AI (cont.)
 ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ปัญญาประดิษฐ์ประสบความ
สำเร็จอย่างสูง มีการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในด้านการ
ขนส่ง การทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) การวินิจฉัยทางการ
แพทย์ และในอีกหลายสาขาในหลายอุตสาหกรรม
 ความสำเร็จของปัญญาประดิษฐ์นั้นได้รับการผลักดันมาจากหลาย
ปัจจัย ไม่ว่าจะเรื่องของความเร็วของคอมพิวเตอร์ที่มีการ
ประมวลผลที่เร็วขึ้น (Moore's law) การสร้างความเชื่อมโยง
ระหว่างปัญญาประดิษฐ์กับสาขาอื่น ๆ ที่ทำงานคล้าย ๆ กัน
History of AI (cont.)
 เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 เครื่อง Deep Blue ของ
บริษัท IBM กลายมาเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่
สามารถเล่นหมากรุกเอาชนะ Garry Kasparov แชมป์ โลกในขณะ
นั้นได้ และในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 เครื่อง Watson ของ
บริษัท IBM ก็สามารถเอาชนะแชมป์ รายการตอบคำถาม
Jeopardy! (quiz show) ได้แบบขาดลอย
 นอกจากนี้ เครื่องเล่นเกมอย่าง Kinect ก็ใช้เทคโนโลยีของปัญญา
ประดิษฐ์ มาใช้ในการสร้างส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ผ่านทางการ
เคลื่อนไหวร่างกายใน 3 มิติเช่นกัน
Deep Blue vs Kasparov
AI Definitions
คำนิยามของปัญญาประดิษฐ์ มีมากมายหลากหลาย ซึ่งสามารถจัด
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่
 1. ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์ (Systems that think like humans)
 2. ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์ (Systems that act like humans)
 3. ระบบที่คิดอย่างมีเหตุผล (Systems that think rationally)
 4. ระบบที่กระทำอย่างมีเหตุผล (Systems that act rationally)
1. Systems that think like humans
1. ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์
 ปัญญาประดิษฐ์ คือ ความพยายามใหม่อันน่าตื่นเต้นที่จะทำให้
คอมพิวเตอร์คิดได้ ซึ่งเครื่องจักรที่มีสติปัญญาอย่างครบถ้วนและแท้จริง
("The exciting new effort to make computers think ... machines with
minds, in the full and literal sense." [Haugeland, 1985])
 ปัญญาประดิษฐ์ คือ กลไกของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความคิดมนุษย์ เช่น
การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การเรียนรู้ ("[The automation of] activities
that we associate with human thinking, activities such as decision-
making, problem solving, learning." [Bellman, 1978])
2. Systems that act like humans
2. ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์
 ปัญญาประดิษฐ์ คือ วิชาของการสร้างเครื่องจักรที่ทำงานในสิ่งซึ่งอาศัย
ปัญญาเมื่อกระทำโดยมนุษย์ ("The art of creating machines that perform
functions that requires intelligence when performed by people." [Kurzweil,
1990])
 ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาวิธีทำให้คอมพิวเตอร์กระทำในสิ่งที่มนุษย์
ทำได้ดีกว่าในขณะนั้น ("The study of how to make computers do things at
which, at the moment, people are better." [Rich and Knight, 1991])
3. Systems that think rationally
3. ระบบที่คิดอย่างมีเหตุผล
 ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาความสามารถในด้านสติปัญญาโดยการใช้
โมเดลการคำนวณ ("The study of mental faculties through the use of
computational model." [Charniak and McDermott, 1985])
 ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาวิธีการคำนวณที่สามารถรับรู้ ใช้เหตุผล
และกระทำ ("The study of the computations that make it possible to
perceive, reason, and act" [Winston, 1992])
4. Systems that act rationally
4. ระบบที่กระทำอย่างมีเหตุผล
 ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาเพื่อออกแบบตัวกระทำแทนที่มีปัญญา
("Computational Intelligence is the study of the design of intelligent
agents" [Poole et al., 1998])
 ปัญญาประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่แสดงปัญญาในสิ่งที่มนุษย์สร้าง
ขึ้น ("AI ... is concerned with intelligent behavior in artifacts" [Nilsson,
1998])
AI & Machine Learning
AI Research
การวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ พยายามศึกษาระบบเหล่านี้ ได้แก่
 1. การหักลบ การให้เหตุผล และการแก้ไขปัญหา (deduction,
reasoning, problem solving)
 2. ตัวแทนด้านความรู้ (knowledge representation)
 3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system)
 4. การวางแผนอัตโนมัติ (automated planning)
 5. การเรียนรู้ของเครื่องกล (machine learning)
 6. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language processing)
 7. การรับรู้ของเครื่องกล (machine perception)
 8. การเคลื่อนไหวและการจัดการ (motion and manipulation)
1. Deduction, reasoning, problem solving
1. การหักลบ การให้เหตุผล และการแก้ไขปัญหา
 งานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ในช่วงแรก ๆ นั้นเริ่มต้นมาจากการ
ให้เหตุผลแบบทีละขั้น ๆ เป็นการให้เหตุผลแบบเดียวกับที่
มนุษย์ใช้ในการไขปัญหา หรือหาข้อสรุปทางตรรกศาสตร์
 เทคนิคที่นิยมใช้กันมากก็คือ การเขียนโปรแกรมเชิง
ตรรกะ (logic programming) เมื่อเราแทนความรู้ของเครื่อง
ด้วย first-order logic และ bayesian inference ด้วย bayesian
networks
2. Knowledge representation
2. ตัวแทนด้านความรู้
 เป็นหัวใจสำคัญของงานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ เป็นการศึกษา
ด้านเก็บ ความรู้ (knowledge) ไว้ในเครื่องจักร
 เราเชื่อกันว่าหากจะให้เครื่องจักรแก้ไขปัญหาให้ จะต้องใช้ความ
รู้จำนวนมหาศาลบนโลกนี้ สิ่งที่ปัญญาประดิษฐ์ต้องการหา
สัญลักษณ์มาแทนได้แก่ วัตถุ คุณสมบัติ ประเภท ความสัมพันธ์
ระหว่างวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ เหตุการณ์ สถานะ และ
เวลา ตลอดจนเหตุและผล ความรู้เกี่ยวกับความรู้ (รู้ว่าคนอื่นรู้
อะไร) และอื่น ๆ อีกมากมาย
3. Expert system
3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ
 เป็นการศึกษาเรื่องสร้างระบบความรู้ของปัญหาเฉพาะอย่าง เช่น
การแพทย์หรือวิทยาศาสตร์ จุดประสงค์ของระบบนี้ คือ ทำให้
เสมือนมีมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำปรึกษา และคำตอบเกี่ยว
กับปัญหาต่าง ๆ
 งานวิจัยด้านนี้ มีจุดประสงค์หลักว่า เราไม่ต้องพึ่งมนุษย์ในการ
แก้ปัญหา แต่อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติแล้ว ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ยังต้องพึ่งมนุษย์ เพื่อให้ความรู้พื้นฐานในช่วงแรก
4. Automated planning
4. การวางแผนอัตโนมัติ
 เครื่องที่ฉลาด จะต้องมีความสามารถในการตั้งเป้าหมายและ
บรรลุเป้าหมายได้เอง จะต้องมีวิธีการนึกภาพของอนาคต (จะ
ต้องสามารถมองเห็นสถานะต่าง ๆ บนโลก และสามารถคาด
การณ์ได้ว่าโลกจะเปลี่ยนไปอย่างไรได้) และสามารถที่จะตัดสิน
ใจเลือกทางเลือกที่มีประโยชน์ (หรือมีค่า) มากที่สุดได้
5. Machine learning
5. การเรียนรู้ของเครื่องกล
 เป็นการศึกษาอัลกอริทึมคอมพิวเตอร์ที่ขั้นตอนวิธีจะถูกปรับปรุง
อย่างอัตโนมัติ ผ่านการเรียนรู้จากประสบการณ์ เป็นหัวใจหลัก
ของงานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ นับตั้งแต่มีการก่อตั้งสาขานี้ มา
 การเรียนรู้ของเครื่องจักร ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนา
หุ่นยนต์เช่นกัน ทำให้หุ่นยนต์มีทักษะใหม่ ๆ ได้ ผ่านการสำรวจ
ด้วยตนเอง การติดต่อกับผู้สอนที่เป็นมนุษย์ การเลียนแบบ และ
อื่น ๆ
6. Natural language processing
6. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
 คือการทำให้เครื่องมีความสามารถที่จะอ่านและเข้าใจภาษาที่
มนุษย์พูดในชีวิตประจำวัน
 ระบบที่สามารถประมวลผลภาษาธรรมชาติได้มีประสิทธิภาพ
เพียงพอ จะทำให้เรามีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ที่ใช้ภาษาธรรมชาติ
และหาความรู้ได้โดยตรง จากแหล่งข้อมูลที่มนุษย์เขียน เช่น
หนังสือพิมพ์
 นอกจากนี้ ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้โดยตรงกับการค้น
ข้อมูล การตอบคำถาม และการแปล
7. Machine perception
7. การรับรู้ของเครื่องกล
 คือ ความสามารถในการอ่านข้อมูลขาเข้าจากเซนเซอร์ (เช่น
กล้อง ไมโครโฟน เซนเซอร์สัมผัส โซนาร์ หรืออื่น ๆ ) เพื่อจะ
เข้าใจบริบทของโลกภายนอก ตัวอย่างของงานวิจัยด้านนี้ ได้แก่
 คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision)
 การรู้จำคำพูด (speech recognition)
 การรู้จำใบหน้า (facial recognition)
 การรู้จำวัตถุ (object recognition)
8. Motion and manipulation
8. การเคลื่อนไหวและการจัดการ
 สาขาวิทยาการหุ่นยนต์ มีความคล้ายคลึงกับสาขาปัญญา
ประดิษฐ์
 หุ่นยนต์ต้องการความฉลาดเพื่อจัดการกับสิ่งต่าง ๆ เช่น การ
จัดการวัตถุ ระบบนำทาง การแก้ปัญหาย่อย เช่นการหาที่อยู่ตัว
เองหรือหาที่อยู่ของสิ่งอื่น ๆ การทำแผนที่ การวางแผนการ
เคลื่อนไหวหรือเส้นทาง
AI Development
Philosophy and ethics of AI
ปรัชญาและจริยธรรมของปัญญาประดิษฐ์
 1. ปัญญาประดิษฐ์ทั่วไป (general AI) เกิดขึ้นได้หรือไม่? เครื่องกล
สามารถแก้ไขปัญหาใด ๆ ที่มนุษย์สามารถแก้ไขได้โดยใช้สติปัญญา
ได้หรือไม่? หรือมีข้อจำกัดสำหรับสิ่งที่เครื่องกลสามารถทำได้?
 2. เครื่องกลอัจฉริยะอันตรายหรือไม่? เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่า
เครื่องกลมีการทำงานอย่างมีจริยธรรมและใช้งานอย่างมีจริยธรรม?
 3. เครื่องกลมีความคิด สติ และสภาพจิตใจในลักษณะเดียวกับที่
มนุษย์ทำได้หรือไม่? เครื่องกลสามารถมีความรู้สึกและสมควรได้รับ
สิทธิบางอย่างหรือไม่? เครื่องกลทำให้เกิดอันตรายกับมนุษย์โดย
เจตนาได้หรือไม่?
Existential risk
ความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์
 Stephen Hawking นักฟิ สิกส์, Bill Gates ผู้ก่อตั้งไมโครซอฟท์, และ Elon
Musk ผู้ก่อตั้ง SpaceX ได้แสดงความกังวลเกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่
AI สามารถพัฒนาจนถึงจุดที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมมันได้ ซึ่งอาจ
เป็น การสูญพันธุ์ของมนุษยชาติ (spell the end of the human race)
 เมื่อมนุษย์พัฒนาปัญญาประดิษฐ์ต่อ ๆ ไป มันก็จะเป็นอิสระและ
ออกแบบตัวมันเองได้ในอัตราที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ขณะที่มนุษย์ถูก
จำกัดด้วยวิวัฒนาการทางชีววิทยาที่ช้า ไม่สามารถแข่งขันได้และจะ
ถูกแทนที่
AI-first
Now’s the time to go beyond first steps with artificial intelligence and
machine learning
AI-first
Now’s the time to go beyond first steps with artificial intelligence and
machine learning
By Dr. Tariq Khatri
Disruption, Winter 2018 edition
AI Strategy
กลยุทธ์ด้าน AI
 แม้ว่าการปรับใช้ AI ขององค์กรเริ่มเพิ่มจำนวนขึ้น แต่กิจกรรม
ส่วนใหญ่ยังคงเป็นโครงการนำร่องเพียงไม่กี่โครงการ ที่แยกออก
มาในรูปแบบเฉพาะกิจ
 องค์กรที่ไม่มีกลยุทธ์ AI ที่ชัดเจน จะเสี่ยงต่อการตามไม่ทันกับผู้ที่
อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน
AI (Machine Learning)
การเรียนรู้ของเครื่อง
 ผู้คนชอบคำว่า 'การเรียนรู้ของเครื่อง (machine learning)'
มากกว่า 'ปัญญาประดิษฐ์ (AI)' เพราะทำให้เข้าใจได้ดีกว่า
 และยังดีกว่าคำว่า 'การทำนายด้วยเครื่องจักร (machine
prediction)' เนื่องจากในความจริงแล้ว สิ่งที่ชุมชนการเรียนรู้ของ
เครื่อง ก็ใช้คำว่า 'การเรียนรู้ (learning)' ซึ่งหมายถึงการปรับรูป
แบบข้อมูล
Identifying opportunities
ศักยภาพในการใช้การเรียนรู้ของเครื่องกล:
1. ปรับปรุงการคาดการณ์ 'ธุรกิจหลัก' (Enhanced ‘core business’
prediction)
2. ระบบอัตโนมัติ (Automation)
3. ข้อเสนอใหม่ให้ลูกค้า (New customer propositions)
4. การค้า (Commercialization)
5. โมเดลก่อกวน (Disruptive models)
Five areas where corporates are exploiting machine
learning
1. Enhanced ‘core business’ prediction
1. ปรับปรุงการคาดการณ์ 'ธุรกิจหลัก'
 การวิเคราะห์เชิงทำนายได้ถูกนำมาใช้เป็นเวลาหลายปี เพื่อ
สนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ โดยเฉพาะในด้านการตลาด
และการบริหารความเสี่ยง
 การเรียนรู้ของเครื่อง สามารถรองรับตัวแปรทำนายจำนวนมาก
และรองรับความสัมพันธ์ของตัวแปรของข้อมูลทั้งที่มีโครงสร้าง
และไม่มีโครงสร้าง
2. Automation
2. ระบบอัตโนมัติ มีการปรับใช้ระบบอัตโนมัติอย่างน้อยสาม
ประเภท
 1. Extractive - การดึงข้อมูลโครงสร้างจากแหล่งที่ไม่มี
โครงสร้างโดยอัตโนมัติ
 2. Orchestrative - ทำให้กระบวนการหรือกิจกรรมโดยอัตโนมัติ
เป็นไปอย่างง่ายดาย
 3. Generative - โมเดลเหล่านี้ ถูกใช้เพื่อสร้าง 'หน้าใหม่' โดย
อัตโนมัติ เพื่อใช้สร้างคำอธิบายผลิตภัณฑ์อีคอมเมิร์ซ
3. New customer propositions
3. ข้อเสนอใหม่ให้ลูกค้า
 ใน B2B (business to business) ของ John Deere ได้ใช้บริการของ
Blue River เพื่อแก้ปัญหาทางการเกษตรที่มีความแม่นยำ ในการปรับ
ค่าใช้จ่ายและประสิทธิผลของสารกำจัดศัตรูพืชให้เหมาะสมที่สุด ใน
ขณะที่การแก้ปัญหาลูกหนี้ อัจฉริยะของ Bank of America การชำระ
เงินด้วยใบแจ้งหนี้ มีการปรับตัวกับความสามารถในการชำระหนี้
 ใน B2C (business to customer) หูฟัง Pixel ของ Google ใช้แปล
ภาษาแบบในเวลาจริง ในขณะที่การมองเห็นด้วยกลไกของ Amazon
Go ช่วยให้ไม่ต้องเสียเวลากับการจ่ายเงินในการช็อปปิ้ ง
4. Commercialization
4. การค้า
 โอกาสอาจมีอยู่เพื่อสร้างธุรกิจใหม่ที่ก่อตั้งขึ้ น บนความได้
เปรียบทางการแข่งขันที่ขับเคลื่อนด้วยการเรียนรู้ของเครื่อง
 เทคนิคใหม่ ๆ เช่น การเรียนรู้ด้วยการทำให้ตรงไปตรงมามาก
ขึ้น ในการรวมสินทรัพย์ข้อมูลของบริษัทกับของบุคคลที่สามที่
เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนประสิทธิภาพการทำงานในพื้นที่ที่ไม่ใช่
ธุรกิจหลัก
5. Disruptive models
5. โมเดลก่อกวน
 การเรียนรู้ของเครื่อง มีศักยภาพที่จะแก้ไขรูปแบบธุรกิจที่มีอยู่
ก่อน และ/หรือต้นทุนในการแข่งขัน
 ตัวอย่างเช่นวิธีการทำงานอัตโนมัติคลังสินค้าของ Ocado ซึ่ง
ขณะนี้ มีการใช้งานอย่างสมบูรณ์ ไม่เพียงแต่การสั่งซื้ อโดย
อัตโนมัติอย่างสมบูรณ์เท่านั้น แต่ยังทำให้ลดจำนวนชิ้นส่วนที่
เกี่ยวข้อง (ลดการบำรุงรักษาและซ่อมแซม) และเพิ่ม
ประสิทธิภาพด้านต้นทุนสูงสุด
Machine learning today vs tomorrow
การเรียนรู้ของเครื่องในปัจจุบันและอนาคต
 การวิจัยการเรียนรู้ด้วยเครื่องจักรกำลังดำเนินไปในทิศทางที่
หลากหลาย
 อย่างไรก็ตาม มีสองประเด็นสำคัญของการพัฒนาเพื่อเพิ่ม
ขอบเขตการใช้ทางธุรกิจ:
 1. การยอมรับแนวทาง การเรียนรู้แบบเบย์ (Bayesian
learning) มากขึ้นเรื่อย ๆ
 2. ลดข้อมูลการฝึกอบรมที่จำเป็น
1. Growing adoption of Bayesian learning approaches
1. การยอมรับแนวทางการเรียนรู้แบบเบย์มากขึ้นเรื่อย ๆ
 อัลกอริธึมการเรียนรู้ด้วยเครื่องไม่ได้ทำได้ถูกต้องเสมอไป และ
ในสถานการณ์การใช้งานจำนวนมากไม่จำเป็นต้องทำ เพราะ
พวกเขาสามารถวัดความน่าจะเป็นของความมั่นใจในผลงาน
ของพวกเขาได้
 แต่ความซับซ้อนที่เพิ่มมากขึ้นและการยอมรับของวิธีการแบบ
เบย์ ให้โอกาสในการกระจายความน่าจะเป็นมากกว่าผลลัพธ์ที่
เป็นไปได้ เพื่อแก้ไขข้อจำกัดแบบดั้งเดิมเหล่านี้ ซึ่งเป็นกุญแจ
สำคัญในการปรับใช้ในองค์กรให้กว้างขึ้ น
2. Reducing the training data required
2. ลดข้อมูลการฝึกอบรมที่จำเป็น
 เนื่องจากความสามารถในการจำลองสภาพแวดล้อมในโลกแห่ง
ความเป็นจริงดีขึ้น ดังนั้นทำให้การฝึกอบรมโมเดลที่มีความ
ต้องการข้อมูลการฝึกอบรมที่น้อยลง
 ถ่ายโอนการเรียนรู้ - รูปแบบการฝึกอบรมพร้อมกับการทำงาน
- ส่งผลให้การฝึกอบรมใด ๆ ทำได้เร็วขึ้น
 ในทำนองเดียวกัน การถ่ายโอนแบบจำลองที่ผ่านการฝึกอบรม
มาล่วงหน้าจากสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องไปยังอีกรุ่นหนึ่ง ทำให้
เสียเวลาน้อยกว่าการฝึกอบรมใหม่ตั้งแต่เริ่มต้น
In summary
สรุป
 บริษัทในทุกอุตสาหกรรม ต้องสร้างกลยุทธ์ AI ของตัวเอง
 ในการทำด้วยวิธีการที่รอบคอบ จะให้ผลตอบแทนสูงสุดและมีสิ่ง
ที่ไม่พึงประสงค์น้อยที่สุด
 การทำเช่นนั้น จำเป็นต้องใช้ความคิดจินตนาการที่มีข้อมูลและมี
โครงสร้าง พร้อมกับการใช้วิจารณญาณบนพื้นฐานของ
ประสบการณ์ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้ จะเป็นการอนุรักษ์มนุษย์ไว้อีกสัก
ระยะหนึ่ง
Whatever words we utter should be chosen with care for
people will hear them and be influenced by them for good or
ill.
Whatever words we utter should be chosen with care for
people will hear them and be influenced by them for good or
ill.
Buddha

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
Prachyanun Nilsook
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
Wannarat Kasemsri
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
peter dontoom
 
หุ่นยนต์ Robot
 หุ่นยนต์ Robot หุ่นยนต์ Robot
หุ่นยนต์ Robot
maruay songtanin
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
Janchai Pokmoonphon
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
yudohappyday
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
ประพันธ์ เวารัมย์
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรRitthinarongron School
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceFarlamai Mana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
sirinya55555
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
การเรียนรู้แบบจินตวิศวกรรม (Imagineering)
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
หุ่นยนต์ Robot
 หุ่นยนต์ Robot หุ่นยนต์ Robot
หุ่นยนต์ Robot
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 4 สร้างทักษะรู้เท่าทันข่าวเพื่อร...
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 

Similar to ปัญญาประดิษฐ์ Artificial intelligence

2560 project 2561
2560 project 25612560 project 2561
2560 project 2561
Wuttipong Thachai
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
Thunyakan Intrawut
 
Artificial intelligence
Artificial intelligenceArtificial intelligence
Artificial intelligence
nonny555
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
0819741995
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 

Similar to ปัญญาประดิษฐ์ Artificial intelligence (12)

Ai
AiAi
Ai
 
2560 project 2561
2560 project 25612560 project 2561
2560 project 2561
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
Artificial intelligence
Artificial intelligenceArtificial intelligence
Artificial intelligence
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Mind map (1)
Mind map (1)Mind map (1)
Mind map (1)
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

ปัญญาประดิษฐ์ Artificial intelligence

  • 1. ปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence ปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 2 กุมภาพันธ์ 2562
  • 2. Introduction เกริ่นนำ  ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) อาจจะไม่ไกลตัวอีก ต่อไป กับการที่สิ่งไม่มีชีวิตเช่น เครื่องจักร หรือ หุ่นยนต์ สามารถประมวลผลข้อมูล วิเคราะห์ และตัดสินใจแทนมนุษย์ได้  อาจจะเป็นสิ่งที่เราเคยเห็นเฉพาะในภาพยนตร์ โดยที่ไม่คาดคิด ว่าเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่อย่างปัญญาประดิษฐ์ (AI) จะ เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตจริงของเราได้อย่างรวดเร็ว และทุก อย่างอาจจะเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดดกันเลยทีเดียว
  • 3. What is AI? ปัญญาประดิษฐ์คืออะไร  ปัญญาประดิษฐ์ หรือที่เรียกกันว่า AI คือ โปรแกรมที่ถูกเขียน และพัฒนาให้มีความฉลาด มีความสามารถคิด วิเคราะห์ วางแผน และตัดสินใจได้ โดยการประมวลผลจากฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ มากไปกว่านั้นยังสามารถดัดแปลงการประมวลผล ประยุกต์ ให้เป็นไปตามสถานการณ์ต่างๆ
  • 4. Putting AI systems to work การนำ AI ไปใช้งาน 1. ด้านการผลิต (Production)  2. การตรวจสอบ (Inspection)  3. การประกอบชิ้นส่วน (Assembly)  4. ด้านบริการ (Field service)  5. ด้านการซ่อมแซมโทรศัพท์ (Telephone repair)  6. การตรวจสอบบัญชี (Auditing)  7. การคิดภาษี (Tax accounting)  8. การวางแผนด้านการเงิน (Financial planning)  9. ด้านการลงทุน (Investments)  10. ด้านบุคคล (Personnel)  11. ด้านการตลาด และการขาย (Marketing and sales)  12. การอนุมัติสินเชื่อ (Credit authorization)  13. หน่วยงานด้านบริการของรัฐ (Human services agency)  14. การทำนายทางการแพทย์ (Medical prognosis)
  • 5. AI
  • 6. Artificial Intelligence ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)  หมายถึงความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต  ปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาหนึ่งในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และ วิศวกรรมเป็นหลัก แต่ยังรวมถึงศาสตร์ในด้านอื่น ๆ อย่าง จิตวิทยา ปรัชญา หรือ ชีววิทยา   ซึ่งสาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการ คิด การกระทำ การให้เหตุผล การปรับตัว หรือ การอนุมาน และ การทำงานของสมอง 
  • 7.  History of artificial intelligence  ปัญญาประดิษฐ์นั้นเริ่มก่อตั้งขึ้นในที่ประชุมวิชาการที่ Dartmouth College สหรัฐอเมริกา ในช่วงหน้าร้อน ค.ศ. 1956 โดยผู้ร่วมใน การประชุมครั้งนั้น ได้แก่ Allen Newell (CMU), Herbert Simon (CMU), John McCarthy (MIT), Marvin Minsky (MIT) และ Arthur Samuel (IBM)  ที่ได้กลายมาเป็นผู้นำทางปัญญาประดิษฐ์ ในอีกหลายสิบปีต่อมา  นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้ เขียนโปรแกรมที่หลายคนทึ่ง ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ที่สามารถเอาชนะคนเล่นหมากรุก แก้ไขปัญหาเกี่ยว กับคำด้วยพีชคณิต พิสูจน์ทฤษฎีทางตรรกวิทยา หรือแม้กระทั่ง พูดภาษาอังกฤษได้
  • 8. History of AI (cont.)  ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 งานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรก ด้วยระบบที่ชื่อ ว่า ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert systems) อันเป็นระบบ คอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการหาคำตอบ อธิบายความไม่ชัดเจน ซึ่ง ปกตินั้นจะใช้ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาตอบคำถามนั้น  ในปี ค.ศ. 1985 ตลาดของปัญญาประดิษฐ์ทะยานขึ้นไปแตะ ระดับ 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในขณะเดียวกัน โครงการ คอมพิวเตอร์รุ่นที่ 5 ของญี่ปุ่ นก็ได้จุดประกายให้รัฐบาล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร หันมาให้เงินทุนสนับสนุน งานวิจัยในสาขาปัญญาประดิษฐ์อีกครั้ง
  • 9. History of AI (cont.)  ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ปัญญาประดิษฐ์ประสบความ สำเร็จอย่างสูง มีการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในด้านการ ขนส่ง การทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) การวินิจฉัยทางการ แพทย์ และในอีกหลายสาขาในหลายอุตสาหกรรม  ความสำเร็จของปัญญาประดิษฐ์นั้นได้รับการผลักดันมาจากหลาย ปัจจัย ไม่ว่าจะเรื่องของความเร็วของคอมพิวเตอร์ที่มีการ ประมวลผลที่เร็วขึ้น (Moore's law) การสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างปัญญาประดิษฐ์กับสาขาอื่น ๆ ที่ทำงานคล้าย ๆ กัน
  • 10. History of AI (cont.)  เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 เครื่อง Deep Blue ของ บริษัท IBM กลายมาเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกที่ สามารถเล่นหมากรุกเอาชนะ Garry Kasparov แชมป์ โลกในขณะ นั้นได้ และในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 เครื่อง Watson ของ บริษัท IBM ก็สามารถเอาชนะแชมป์ รายการตอบคำถาม Jeopardy! (quiz show) ได้แบบขาดลอย  นอกจากนี้ เครื่องเล่นเกมอย่าง Kinect ก็ใช้เทคโนโลยีของปัญญา ประดิษฐ์ มาใช้ในการสร้างส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ผ่านทางการ เคลื่อนไหวร่างกายใน 3 มิติเช่นกัน
  • 11. Deep Blue vs Kasparov
  • 12. AI Definitions คำนิยามของปัญญาประดิษฐ์ มีมากมายหลากหลาย ซึ่งสามารถจัด แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่  1. ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์ (Systems that think like humans)  2. ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์ (Systems that act like humans)  3. ระบบที่คิดอย่างมีเหตุผล (Systems that think rationally)  4. ระบบที่กระทำอย่างมีเหตุผล (Systems that act rationally)
  • 13. 1. Systems that think like humans 1. ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์  ปัญญาประดิษฐ์ คือ ความพยายามใหม่อันน่าตื่นเต้นที่จะทำให้ คอมพิวเตอร์คิดได้ ซึ่งเครื่องจักรที่มีสติปัญญาอย่างครบถ้วนและแท้จริง ("The exciting new effort to make computers think ... machines with minds, in the full and literal sense." [Haugeland, 1985])  ปัญญาประดิษฐ์ คือ กลไกของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความคิดมนุษย์ เช่น การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การเรียนรู้ ("[The automation of] activities that we associate with human thinking, activities such as decision- making, problem solving, learning." [Bellman, 1978])
  • 14. 2. Systems that act like humans 2. ระบบที่กระทำเหมือนมนุษย์  ปัญญาประดิษฐ์ คือ วิชาของการสร้างเครื่องจักรที่ทำงานในสิ่งซึ่งอาศัย ปัญญาเมื่อกระทำโดยมนุษย์ ("The art of creating machines that perform functions that requires intelligence when performed by people." [Kurzweil, 1990])  ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาวิธีทำให้คอมพิวเตอร์กระทำในสิ่งที่มนุษย์ ทำได้ดีกว่าในขณะนั้น ("The study of how to make computers do things at which, at the moment, people are better." [Rich and Knight, 1991])
  • 15. 3. Systems that think rationally 3. ระบบที่คิดอย่างมีเหตุผล  ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาความสามารถในด้านสติปัญญาโดยการใช้ โมเดลการคำนวณ ("The study of mental faculties through the use of computational model." [Charniak and McDermott, 1985])  ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาวิธีการคำนวณที่สามารถรับรู้ ใช้เหตุผล และกระทำ ("The study of the computations that make it possible to perceive, reason, and act" [Winston, 1992])
  • 16. 4. Systems that act rationally 4. ระบบที่กระทำอย่างมีเหตุผล  ปัญญาประดิษฐ์ คือ การศึกษาเพื่อออกแบบตัวกระทำแทนที่มีปัญญา ("Computational Intelligence is the study of the design of intelligent agents" [Poole et al., 1998])  ปัญญาประดิษฐ์ เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่แสดงปัญญาในสิ่งที่มนุษย์สร้าง ขึ้น ("AI ... is concerned with intelligent behavior in artifacts" [Nilsson, 1998])
  • 17. AI & Machine Learning
  • 18. AI Research การวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ พยายามศึกษาระบบเหล่านี้ ได้แก่  1. การหักลบ การให้เหตุผล และการแก้ไขปัญหา (deduction, reasoning, problem solving)  2. ตัวแทนด้านความรู้ (knowledge representation)  3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system)  4. การวางแผนอัตโนมัติ (automated planning)  5. การเรียนรู้ของเครื่องกล (machine learning)  6. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (natural language processing)  7. การรับรู้ของเครื่องกล (machine perception)  8. การเคลื่อนไหวและการจัดการ (motion and manipulation)
  • 19. 1. Deduction, reasoning, problem solving 1. การหักลบ การให้เหตุผล และการแก้ไขปัญหา  งานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ในช่วงแรก ๆ นั้นเริ่มต้นมาจากการ ให้เหตุผลแบบทีละขั้น ๆ เป็นการให้เหตุผลแบบเดียวกับที่ มนุษย์ใช้ในการไขปัญหา หรือหาข้อสรุปทางตรรกศาสตร์  เทคนิคที่นิยมใช้กันมากก็คือ การเขียนโปรแกรมเชิง ตรรกะ (logic programming) เมื่อเราแทนความรู้ของเครื่อง ด้วย first-order logic และ bayesian inference ด้วย bayesian networks
  • 20. 2. Knowledge representation 2. ตัวแทนด้านความรู้  เป็นหัวใจสำคัญของงานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ เป็นการศึกษา ด้านเก็บ ความรู้ (knowledge) ไว้ในเครื่องจักร  เราเชื่อกันว่าหากจะให้เครื่องจักรแก้ไขปัญหาให้ จะต้องใช้ความ รู้จำนวนมหาศาลบนโลกนี้ สิ่งที่ปัญญาประดิษฐ์ต้องการหา สัญลักษณ์มาแทนได้แก่ วัตถุ คุณสมบัติ ประเภท ความสัมพันธ์ ระหว่างวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นสถานการณ์ เหตุการณ์ สถานะ และ เวลา ตลอดจนเหตุและผล ความรู้เกี่ยวกับความรู้ (รู้ว่าคนอื่นรู้ อะไร) และอื่น ๆ อีกมากมาย
  • 21. 3. Expert system 3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ  เป็นการศึกษาเรื่องสร้างระบบความรู้ของปัญหาเฉพาะอย่าง เช่น การแพทย์หรือวิทยาศาสตร์ จุดประสงค์ของระบบนี้ คือ ทำให้ เสมือนมีมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำปรึกษา และคำตอบเกี่ยว กับปัญหาต่าง ๆ  งานวิจัยด้านนี้ มีจุดประสงค์หลักว่า เราไม่ต้องพึ่งมนุษย์ในการ แก้ปัญหา แต่อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติแล้ว ระบบผู้เชี่ยวชาญ ยังต้องพึ่งมนุษย์ เพื่อให้ความรู้พื้นฐานในช่วงแรก
  • 22. 4. Automated planning 4. การวางแผนอัตโนมัติ  เครื่องที่ฉลาด จะต้องมีความสามารถในการตั้งเป้าหมายและ บรรลุเป้าหมายได้เอง จะต้องมีวิธีการนึกภาพของอนาคต (จะ ต้องสามารถมองเห็นสถานะต่าง ๆ บนโลก และสามารถคาด การณ์ได้ว่าโลกจะเปลี่ยนไปอย่างไรได้) และสามารถที่จะตัดสิน ใจเลือกทางเลือกที่มีประโยชน์ (หรือมีค่า) มากที่สุดได้
  • 23. 5. Machine learning 5. การเรียนรู้ของเครื่องกล  เป็นการศึกษาอัลกอริทึมคอมพิวเตอร์ที่ขั้นตอนวิธีจะถูกปรับปรุง อย่างอัตโนมัติ ผ่านการเรียนรู้จากประสบการณ์ เป็นหัวใจหลัก ของงานวิจัยด้านปัญญาประดิษฐ์ นับตั้งแต่มีการก่อตั้งสาขานี้ มา  การเรียนรู้ของเครื่องจักร ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนา หุ่นยนต์เช่นกัน ทำให้หุ่นยนต์มีทักษะใหม่ ๆ ได้ ผ่านการสำรวจ ด้วยตนเอง การติดต่อกับผู้สอนที่เป็นมนุษย์ การเลียนแบบ และ อื่น ๆ
  • 24. 6. Natural language processing 6. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ  คือการทำให้เครื่องมีความสามารถที่จะอ่านและเข้าใจภาษาที่ มนุษย์พูดในชีวิตประจำวัน  ระบบที่สามารถประมวลผลภาษาธรรมชาติได้มีประสิทธิภาพ เพียงพอ จะทำให้เรามีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ที่ใช้ภาษาธรรมชาติ และหาความรู้ได้โดยตรง จากแหล่งข้อมูลที่มนุษย์เขียน เช่น หนังสือพิมพ์  นอกจากนี้ ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้โดยตรงกับการค้น ข้อมูล การตอบคำถาม และการแปล
  • 25. 7. Machine perception 7. การรับรู้ของเครื่องกล  คือ ความสามารถในการอ่านข้อมูลขาเข้าจากเซนเซอร์ (เช่น กล้อง ไมโครโฟน เซนเซอร์สัมผัส โซนาร์ หรืออื่น ๆ ) เพื่อจะ เข้าใจบริบทของโลกภายนอก ตัวอย่างของงานวิจัยด้านนี้ ได้แก่  คอมพิวเตอร์วิทัศน์ (computer vision)  การรู้จำคำพูด (speech recognition)  การรู้จำใบหน้า (facial recognition)  การรู้จำวัตถุ (object recognition)
  • 26. 8. Motion and manipulation 8. การเคลื่อนไหวและการจัดการ  สาขาวิทยาการหุ่นยนต์ มีความคล้ายคลึงกับสาขาปัญญา ประดิษฐ์  หุ่นยนต์ต้องการความฉลาดเพื่อจัดการกับสิ่งต่าง ๆ เช่น การ จัดการวัตถุ ระบบนำทาง การแก้ปัญหาย่อย เช่นการหาที่อยู่ตัว เองหรือหาที่อยู่ของสิ่งอื่น ๆ การทำแผนที่ การวางแผนการ เคลื่อนไหวหรือเส้นทาง
  • 28. Philosophy and ethics of AI ปรัชญาและจริยธรรมของปัญญาประดิษฐ์  1. ปัญญาประดิษฐ์ทั่วไป (general AI) เกิดขึ้นได้หรือไม่? เครื่องกล สามารถแก้ไขปัญหาใด ๆ ที่มนุษย์สามารถแก้ไขได้โดยใช้สติปัญญา ได้หรือไม่? หรือมีข้อจำกัดสำหรับสิ่งที่เครื่องกลสามารถทำได้?  2. เครื่องกลอัจฉริยะอันตรายหรือไม่? เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่า เครื่องกลมีการทำงานอย่างมีจริยธรรมและใช้งานอย่างมีจริยธรรม?  3. เครื่องกลมีความคิด สติ และสภาพจิตใจในลักษณะเดียวกับที่ มนุษย์ทำได้หรือไม่? เครื่องกลสามารถมีความรู้สึกและสมควรได้รับ สิทธิบางอย่างหรือไม่? เครื่องกลทำให้เกิดอันตรายกับมนุษย์โดย เจตนาได้หรือไม่?
  • 29. Existential risk ความเสี่ยงของปัญญาประดิษฐ์  Stephen Hawking นักฟิ สิกส์, Bill Gates ผู้ก่อตั้งไมโครซอฟท์, และ Elon Musk ผู้ก่อตั้ง SpaceX ได้แสดงความกังวลเกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่ AI สามารถพัฒนาจนถึงจุดที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมมันได้ ซึ่งอาจ เป็น การสูญพันธุ์ของมนุษยชาติ (spell the end of the human race)  เมื่อมนุษย์พัฒนาปัญญาประดิษฐ์ต่อ ๆ ไป มันก็จะเป็นอิสระและ ออกแบบตัวมันเองได้ในอัตราที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ขณะที่มนุษย์ถูก จำกัดด้วยวิวัฒนาการทางชีววิทยาที่ช้า ไม่สามารถแข่งขันได้และจะ ถูกแทนที่
  • 30. AI-first Now’s the time to go beyond first steps with artificial intelligence and machine learning AI-first Now’s the time to go beyond first steps with artificial intelligence and machine learning By Dr. Tariq Khatri Disruption, Winter 2018 edition
  • 31. AI Strategy กลยุทธ์ด้าน AI  แม้ว่าการปรับใช้ AI ขององค์กรเริ่มเพิ่มจำนวนขึ้น แต่กิจกรรม ส่วนใหญ่ยังคงเป็นโครงการนำร่องเพียงไม่กี่โครงการ ที่แยกออก มาในรูปแบบเฉพาะกิจ  องค์กรที่ไม่มีกลยุทธ์ AI ที่ชัดเจน จะเสี่ยงต่อการตามไม่ทันกับผู้ที่ อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน
  • 32. AI (Machine Learning) การเรียนรู้ของเครื่อง  ผู้คนชอบคำว่า 'การเรียนรู้ของเครื่อง (machine learning)' มากกว่า 'ปัญญาประดิษฐ์ (AI)' เพราะทำให้เข้าใจได้ดีกว่า  และยังดีกว่าคำว่า 'การทำนายด้วยเครื่องจักร (machine prediction)' เนื่องจากในความจริงแล้ว สิ่งที่ชุมชนการเรียนรู้ของ เครื่อง ก็ใช้คำว่า 'การเรียนรู้ (learning)' ซึ่งหมายถึงการปรับรูป แบบข้อมูล
  • 33. Identifying opportunities ศักยภาพในการใช้การเรียนรู้ของเครื่องกล: 1. ปรับปรุงการคาดการณ์ 'ธุรกิจหลัก' (Enhanced ‘core business’ prediction) 2. ระบบอัตโนมัติ (Automation) 3. ข้อเสนอใหม่ให้ลูกค้า (New customer propositions) 4. การค้า (Commercialization) 5. โมเดลก่อกวน (Disruptive models)
  • 34. Five areas where corporates are exploiting machine learning
  • 35. 1. Enhanced ‘core business’ prediction 1. ปรับปรุงการคาดการณ์ 'ธุรกิจหลัก'  การวิเคราะห์เชิงทำนายได้ถูกนำมาใช้เป็นเวลาหลายปี เพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ โดยเฉพาะในด้านการตลาด และการบริหารความเสี่ยง  การเรียนรู้ของเครื่อง สามารถรองรับตัวแปรทำนายจำนวนมาก และรองรับความสัมพันธ์ของตัวแปรของข้อมูลทั้งที่มีโครงสร้าง และไม่มีโครงสร้าง
  • 36. 2. Automation 2. ระบบอัตโนมัติ มีการปรับใช้ระบบอัตโนมัติอย่างน้อยสาม ประเภท  1. Extractive - การดึงข้อมูลโครงสร้างจากแหล่งที่ไม่มี โครงสร้างโดยอัตโนมัติ  2. Orchestrative - ทำให้กระบวนการหรือกิจกรรมโดยอัตโนมัติ เป็นไปอย่างง่ายดาย  3. Generative - โมเดลเหล่านี้ ถูกใช้เพื่อสร้าง 'หน้าใหม่' โดย อัตโนมัติ เพื่อใช้สร้างคำอธิบายผลิตภัณฑ์อีคอมเมิร์ซ
  • 37. 3. New customer propositions 3. ข้อเสนอใหม่ให้ลูกค้า  ใน B2B (business to business) ของ John Deere ได้ใช้บริการของ Blue River เพื่อแก้ปัญหาทางการเกษตรที่มีความแม่นยำ ในการปรับ ค่าใช้จ่ายและประสิทธิผลของสารกำจัดศัตรูพืชให้เหมาะสมที่สุด ใน ขณะที่การแก้ปัญหาลูกหนี้ อัจฉริยะของ Bank of America การชำระ เงินด้วยใบแจ้งหนี้ มีการปรับตัวกับความสามารถในการชำระหนี้  ใน B2C (business to customer) หูฟัง Pixel ของ Google ใช้แปล ภาษาแบบในเวลาจริง ในขณะที่การมองเห็นด้วยกลไกของ Amazon Go ช่วยให้ไม่ต้องเสียเวลากับการจ่ายเงินในการช็อปปิ้ ง
  • 38. 4. Commercialization 4. การค้า  โอกาสอาจมีอยู่เพื่อสร้างธุรกิจใหม่ที่ก่อตั้งขึ้ น บนความได้ เปรียบทางการแข่งขันที่ขับเคลื่อนด้วยการเรียนรู้ของเครื่อง  เทคนิคใหม่ ๆ เช่น การเรียนรู้ด้วยการทำให้ตรงไปตรงมามาก ขึ้น ในการรวมสินทรัพย์ข้อมูลของบริษัทกับของบุคคลที่สามที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนประสิทธิภาพการทำงานในพื้นที่ที่ไม่ใช่ ธุรกิจหลัก
  • 39. 5. Disruptive models 5. โมเดลก่อกวน  การเรียนรู้ของเครื่อง มีศักยภาพที่จะแก้ไขรูปแบบธุรกิจที่มีอยู่ ก่อน และ/หรือต้นทุนในการแข่งขัน  ตัวอย่างเช่นวิธีการทำงานอัตโนมัติคลังสินค้าของ Ocado ซึ่ง ขณะนี้ มีการใช้งานอย่างสมบูรณ์ ไม่เพียงแต่การสั่งซื้ อโดย อัตโนมัติอย่างสมบูรณ์เท่านั้น แต่ยังทำให้ลดจำนวนชิ้นส่วนที่ เกี่ยวข้อง (ลดการบำรุงรักษาและซ่อมแซม) และเพิ่ม ประสิทธิภาพด้านต้นทุนสูงสุด
  • 40. Machine learning today vs tomorrow การเรียนรู้ของเครื่องในปัจจุบันและอนาคต  การวิจัยการเรียนรู้ด้วยเครื่องจักรกำลังดำเนินไปในทิศทางที่ หลากหลาย  อย่างไรก็ตาม มีสองประเด็นสำคัญของการพัฒนาเพื่อเพิ่ม ขอบเขตการใช้ทางธุรกิจ:  1. การยอมรับแนวทาง การเรียนรู้แบบเบย์ (Bayesian learning) มากขึ้นเรื่อย ๆ  2. ลดข้อมูลการฝึกอบรมที่จำเป็น
  • 41. 1. Growing adoption of Bayesian learning approaches 1. การยอมรับแนวทางการเรียนรู้แบบเบย์มากขึ้นเรื่อย ๆ  อัลกอริธึมการเรียนรู้ด้วยเครื่องไม่ได้ทำได้ถูกต้องเสมอไป และ ในสถานการณ์การใช้งานจำนวนมากไม่จำเป็นต้องทำ เพราะ พวกเขาสามารถวัดความน่าจะเป็นของความมั่นใจในผลงาน ของพวกเขาได้  แต่ความซับซ้อนที่เพิ่มมากขึ้นและการยอมรับของวิธีการแบบ เบย์ ให้โอกาสในการกระจายความน่าจะเป็นมากกว่าผลลัพธ์ที่ เป็นไปได้ เพื่อแก้ไขข้อจำกัดแบบดั้งเดิมเหล่านี้ ซึ่งเป็นกุญแจ สำคัญในการปรับใช้ในองค์กรให้กว้างขึ้ น
  • 42. 2. Reducing the training data required 2. ลดข้อมูลการฝึกอบรมที่จำเป็น  เนื่องจากความสามารถในการจำลองสภาพแวดล้อมในโลกแห่ง ความเป็นจริงดีขึ้น ดังนั้นทำให้การฝึกอบรมโมเดลที่มีความ ต้องการข้อมูลการฝึกอบรมที่น้อยลง  ถ่ายโอนการเรียนรู้ - รูปแบบการฝึกอบรมพร้อมกับการทำงาน - ส่งผลให้การฝึกอบรมใด ๆ ทำได้เร็วขึ้น  ในทำนองเดียวกัน การถ่ายโอนแบบจำลองที่ผ่านการฝึกอบรม มาล่วงหน้าจากสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องไปยังอีกรุ่นหนึ่ง ทำให้ เสียเวลาน้อยกว่าการฝึกอบรมใหม่ตั้งแต่เริ่มต้น
  • 43. In summary สรุป  บริษัทในทุกอุตสาหกรรม ต้องสร้างกลยุทธ์ AI ของตัวเอง  ในการทำด้วยวิธีการที่รอบคอบ จะให้ผลตอบแทนสูงสุดและมีสิ่ง ที่ไม่พึงประสงค์น้อยที่สุด  การทำเช่นนั้น จำเป็นต้องใช้ความคิดจินตนาการที่มีข้อมูลและมี โครงสร้าง พร้อมกับการใช้วิจารณญาณบนพื้นฐานของ ประสบการณ์ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้ จะเป็นการอนุรักษ์มนุษย์ไว้อีกสัก ระยะหนึ่ง
  • 44. Whatever words we utter should be chosen with care for people will hear them and be influenced by them for good or ill. Whatever words we utter should be chosen with care for people will hear them and be influenced by them for good or ill. Buddha