SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทความเรื่อง การคิดแก้ปัญหา
ความรู้ เบืองต้ นเกียวกับการคิด
           ้        ่
           การคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่ใช้สัญลักษณ์หรื อภาพแทนสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อ
สถานการณ์ต่าง ๆโดยมีการจัดระบบความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่ งเป็ นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่
หรื อสิ่ งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รู ปแบบ ธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกได้
หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่ องจากการคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง เรา
จึงควรที่จะทราบเกี่ยวกับสมอง เช่นโครงสร้างทางสมอง และพิจารณาว่ามีความสัมพันธ์กบการคิดใน
                                                                                     ั
ลักษณะใดบ้าง
        ความหมายการคิด
          ความหมายของการคิด ได้รับการบัญญัติข้ ึนมาจากนักจิตวิทยาและนักวิชาการทั้งชาวไทยและชาว
ต่างประเทศหลายท่านตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบน ซึ่ งได้รวบรวมไว้เป็ นบ้างส่ วนดังนี้
                                               ั
                                                 ่
          ก่อ สวัสดิพาณิ ชย์ (2506) อธิ บายไว้วา การคิดคือ พฤติกรรมทางจิตใจซึ่ งมีแนวทางอันแน่วแน่
พฤติกรรมเหล่านี้เกิดจากปั ญหาที่ตองแก้ไข การแก้ปัญหานั้นต้องอาศัยนามธรรม และสัญลักษณ์เป็ นส่ วน
                                      ้
ใหญ่ การคิดจะจบลงด้วยการสรุ ปผลในขั้นสุ ดท้าย แนวคิดนี้สอดคล้องกับแนวคิดของนักจิตวิทยา
ต่างประเทศท่านหนึ่ง คือ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ที่คิดว่า การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีความสับสนวุนวาย  ่
สงสัย หรื อเกิดคับข้องใจ หรื อขัดแย้งในใจ หลังจากนั้นจึงจะเกิดพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหา
หรื อขจัดสิ่ งที่เกิดสงสัยนั้น จึงอาจกล่าอีกนัยหนึ่งได้วา การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีปัญหานันเอง
                                                        ่                                       ่
          ชูชีพ อ่อนโคกสู ง (2518) กล่าวว่า การคิดเป็ นกระบวนการที่มีสัญลักษณ์หรื อภาพของสิ่ งของหรื อ
สถานการณ์ต่าง ๆ มาปรากฏในแนวคิด (Idea)หรื อจิตใจ (Mild)
          โกวิท ประวาลพฤกษ์ (2523) ให้แนวคิดว่า คนที่คิดเก่งแต่มีความรู ้สึกไม่ดีไม่ถูกต้องตามทานอง
คลองทา ไม่ลงมือกระทาตามความคิด ไม่กล้าที่จะทา หรื อบุคคลที่มีความรู ้สึกที่ดีแต่คิดไม่ถูกต้องด้วย
เหตุผล ไม่ลงมือกระทา อยูเ่ ฉย ๆ เพียงเพื่อให้เกิดความรู ้สึกที่ดีเท่านั้น เรี ยกว่า ไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ความ
สมบูรณ์รอบด้านจาเป็ นที่จะต้องมีความคิด ความรู้สึก และการกระทาที่มีความสัมพันธ์กน             ั
                                                    ่
          ทองหล่อ วงษ์สินทร์ (2523) อธิ บายไว้วา การคิดหมายถึง กระบวนการสร้างสัญลักษณ์หรื อภาพให้
ปรากฏในสมอง
          ประสาท พรปรี ดา (2523) กล่าวว่า การคิดเป็ นพฤติกรรมภายในที่มีความสลับซับซ้อน จะเกิดขึ้นได้
ก็ต่อเมื่อมนุษย์ได้มีการพัฒนาทางสติปัญญาในระดับสู งเท่านั้น
          ชาติ แจ่มนุช (2545) ได้ให้ความหมายของการคิดไว้ 2 ลักษณะ ดังต่อไปนี้
          1. การคิดเป็ นกระบวนการทางานของสมองโดยใช้ประสบการณ์มาสัมผัสกับสิ่ งเร้าและข้อมูลหรื อ
สิ่ งแวดล้อม เพื่อแก้ปัญหา แสวงหาคาตอบ ตัดสิ นใจหรื อสร้างสรรค์สิ่งใหม่
2. การคิดเป็ นพฤตกรรมที่เกิดในสมอง เป็ นนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่า การจะรู ้
                                                                                             ้
ว่ามนุษย์คิดอะไร คิดอย่างไร จะต้องสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดง และสามารถควบคุมให้คิดจนบรรลุ
เป้ าหมายได้
                                                        ่
           ฌอน เพียเจท์ (jean Piaget: 1964) อธิ บายไว้วา การคิดคือ การปฏิบติการทางสมองการที่ลกษณะ
                                                                              ั                          ั
ความคิดของเด็กและผูใหญ่มีความแตกต่างกัน เพราะปฏิบติการทางสมองแตกต่างกัน เขายังมีความเห็นว่า
                         ้                                    ั
การปฏิบติการทางสมองคือ การที่สมองแปลงความรู ้ใหม่ให้เหมาะสมที่จะเก็บเข้าที่ทาง (Acommodation)
           ั
ดังนั้นเมื่อสมองทางานจึงต้องมีกระบวนการคู่เกิดขึ้นเสมอ คือการรับ (Assimilation) และการเก็บ
(Accommodation) เพื่อเก็บความรู ้ใหม่ไปปรุ งแต่งแบบแห่งความคิด (Thought Pattern) และทาหน้าที่แปลง
                                                          ่
(Transform) สิ่ งใหม่ที่เข้ามาโดยอาศัยความรู ้เดิมที่มีอยูแล้ว จากนั้นจึงเก็บความรู ้ใหม่ท่ีเข้าที่เข้าทางแล้วให้
เป็ นระบบ
       ฮิลการ์ด (Hilgard ) กล่าวว่า การคิดเป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสมองอันเนื่ องมาจากการใช้
สัญลักษณ์แทนสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อ สถานการณ์ ต่าง ๆ
        บรู โน (Bruno ) กล่าวว่า การคิดเป็ นกระบวนการทางสมองที่ใช้สัญลักษณ์จินตภาพ ความคิดเห็น
และความคิด รวบยอด แทนประสบการณ์ในอดีต ความเป็ นไปได้ในอนาคต และความเป็ นจริ งที่ปรากฏ
การคิดจึงทาให้คนเรา มีกระบวนการ ทางสมองในระดับสู ง กระบวนการเหล่านี้ได้แก่ ตรรกศาสตร์
คณิ ตศาสตร์ ภาษา จินตนาการ ความใส่ ใจ เชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และอื่นๆ
         มากาเรต ดับบลิว แมทลิน (Matlin ) กล่าวว่า การคิดเป็ นกิจกรรมทางสมอง เป็ นกระบวนการทาง
ปัญญา ซึ่งประกอบด้วย การสัมผัส การรับรู้ การรวบรวม การจา การรื้ อฟื้ นข้อมูลเก่าหรื อประสบการณ์ โดย
                                                                                             ั
ที่บุคคลนาข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เก็บไว้เป็ นระบบ การคิดเป็ นการจัด รู ปแบบของข้อมูลข่าวสารใหม่กบ
ข้อมูลเก่า ผลจากการจัดสามารถแสดงออกมาภายนอกให้ผอื่นรับรู ้ได้
                                                         ู้
                    ่
         สรุ ปได้วาการคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่ใช้สัญลักษณ์หรื อภาพแทนสิ่ งของ เหตุการณ์
หรื อสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมี การจัดระบบความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่ งเป็ นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์
ใหม่หรื อสิ่ งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รู ปแบบ ธรรมดาและ สลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ
แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่ องจากการคิดเป็ น กระบวนการที่
เกิดขึ้นในสมอง เราจึงควรที่จะทราบเกี่ยวกับสมอง เช่นโครงสร้างทางสมอง และพิจารณาว่ามี
                  ั
ความสัมพันธ์กบ การคิดในลักษณะใดบ้าง
ทักษะการคิด
            ความหมายของทักษะการคิด
            ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกหรื อแสดงพฤติกรรมของการใช้
ความคิดอย่างชานิชานาญ ซึ่ งแต่ละคนจะมีทกษะการคิดที่แตกต่างกัน บางคนสามารถคิดได้เร็ ว ถูกต้องเป็ น
                                                ั
ขั้นเป็ นตอน บางคนคิดได้ชา ผิดพลาด สับสน แต่อย่างไรก็ตามทักษะการคิดเป็ นสิ่ งที่สามารถพัฒนาและ
                             ้
ฝึ กฝนได้ บุคคลใดได้รับการพัฒนาและฝึ กอย่างชานิชานาญก็จะมีทกษะการคิดเพิ่มมากขึ้น ระดับของการคิด
                                                                    ั
สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ระดับ คือ
                  1. ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Basic thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดโดยทัว ๆ ไป
                                                                                              ่
เป็ นการคิดที่ไม่สลับซับซ้อนมากมาย เป็ นทักษะที่ใช้เป็ นพื้นฐานที่จะนาไปใช้ในการคิดในชีวตประจาวัน
                                                                                            ิ
โดยทัว ๆ ไปของมนุษย์ ส่ วนใหญ่จะเป็ นทักษะการสื่ อสารและสื่ อความหมายต่าง ๆ ที่บุคคลทุกคนจาเป็ นที่
        ่
จะใช้ในการรับสารที่แสดงความคิดของผูอื่นเข้ามารับรู้ ตีความจดจา และถ่ายทอดความคิดของตนให้แก่
                                            ้
ผูอื่น ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้
   ้
                  - การจด                      - การจา
                  - การอ่าน                   - การฟัง
                  - การบรรยาย                 - การอธิ บาย
                  - การเขียน                  - การพูด
                  - การแสดงออก                - การบอกความรู้
                  - การเล่า                   - การบอกความรู้สึก
                  2. ทักษะการคิดที่เป็ นแกน (Core thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่ตองใช้ในการ
                                                                                          ้
ตัดสิ นใจและแก้ปัญหาทัว ๆ ไปในชีวตประจาวันและเป็ นพื้นฐานของการคิดระดับสู งที่มีความซับซ้อนซึ่ง
                           ่            ิ
คนเราจาเป็ นต้องใช้ในการเรี ยนรู ้เนื้ อหาวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนการใช้ชีวตอย่างมีคุณภาพประกอบด้วย
                                                                        ิ
ทักษะต่าง ๆ ดังนี้
                  - การสังเกต                  - การสารวจ
                  - การถาม                     - การเก็บรวบรวมข้อมูล
                  - การจาแนกแยกแยะ - การจัดหมวกหมู่
                  - การเปรี ยบเทียบ           - การเรี ยงลาดับ
                  - การเชื่อมโยง              - การแปล
                  - การขยายความ               - การตีความ
                  - การให้เหตุผล              - การสรุ ปย่อ
                  - การสรุ ปอ้างอิง
3. ทักษะการคิดขั้นสู ง (Higher-ordered thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่มีข้ นตอน
                                                                                                        ั
หลายขั้นต้องอาศัยทักษะการสื่ อสารและสื่ อความหมายและทักษะการคิดที่เป็ นแกนหลาย ๆ ทักษะในแต่ละ
ขั้น ดังนั้น ทักษะการคิดขั้นสู งจะพัฒนาได้เมื่อเด็กได้พฒนาทักษะการคิดพื้นฐานจนมีความชานาญ
                                                            ั
พอสมควรแล้ว ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้
                     - การแก้ปัญหา               - การคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                                                 ิ
                     - การคิดตัดสิ นใจ           - การวางแผน
                     - การสรุ ปความ              - การนิยาม
                     - การวิเคราะห์              - การแก้ไขปรับปรุ ง
                     - การจัดระบบความคิด - การคาดคะเน
                     - การพยากรณ์                - การตั้งสมมติฐาน
                     - การทดสอบสมมติฐาน - การประยุกต์ความรู้
                     - การพิสูจน์ความจริ ง
           การประยุกต์รูปแบบการคิดที่เหมาะสมกับสังคมไทย (เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญศักดิ์, 2545 :
4-20) มีลกษณะต่างกัน 10 มิติ ดังนี้
                ั
                     1. การคิดในเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) หมายถึง ความตั้งใจ ที่จะพิจารณาตัดสิ น
เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งโดยการไม่เห็นคล้อยตามข้อเสนออย่างง่าย ๆ แต่ต้ งคาถามท้าทายหรื อโต้แย้งสมมติฐาน
                                                                       ั
และข้อสมมติฐานที่อยูเ่ บื้องหลัง และพยายามเปิ ดแนวทางความคิดออกสู่ ทางต่าง ๆ ที่แตกต่างจาก
ข้อเสนอนั้นเพื่อให้สามารถได้คาตอบที่สมเหตุ สมผลมากกว่าข้อเสนอเดิม
                     2. การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) หมายถึง การจาแนกแจกแจงองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรื อเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบ
เหล่านั้นเพื่อค้นหาสาเหตุสาเหตุที่แท้จริ งของสิ่ งที่เกิดขึ้น
                     3. การคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis Type Thinking) หมายถึง ความสามารถในการดึง
องค์ประกอบต่าง ๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้สิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์ที่ตองการ      ้
                     4. ความสามารถในการคิดเชิงเปรี ยบเทียบ (Comparative Thinking) หมายถึงการ
พิจารณาเทียบเคียงความเหมือนและ/หรื อความแตกต่างระหว่างสิ่ งนั้นกับสิ่ งอื่น ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
สามารถอธิ บายเรื่ องนั้นได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการคิด การแก้ปัญหาหรื อการหาทางเลือกเรื่ องใด
เรื่ องหนึ่ง
                     5. ความสามารถในการคิดเชิงมโนทัศน์ (Conceptual Thinking) หมายถึงความสามารถ
ในการประสานข้อมูลทั้งหมดที่มีอยูเ่ กี่ยวกับเรื่ องหนึ่งเรื่ องใดแล้วนามาสร้างเป็ นความคิดรวบยอด
                     6. ความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking) หมายถึงการขยาย
ขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดที่มีอยูสู่ ความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนเพื่อค้นหาตอบที่ดี
                                                       ่
              ั
ที่สุดให้กบปั ญหาทีเกิดขึ้น
7. ความสามารถในคิดเชิงประยุกต์ (Applicative Thinking) ความสามารถในการนาสิ่ งที่
มีอยูเ่ ดิมไปปรับใช้ประโยชน์ในบริ บทใหม่ได้อย่างเหมาะสม โดยยังคงหลักการของสิ่ งเดิมไว้
                   8. ความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) หมายถึงความสามารถใน
การกาหนดแนวทางที่ดีท่ีสุดภายใต้เงื่อนไข ข้อจากัดต่าง ๆ เพื่อบรรลุเป้ าหมายที่ตองการ   ้
                   9. การคิดเชิงบูรณาการ (Intergrative Thinking) หมายถึงความสามารถในการเชื่อมโยง
แนวคิดหรื อองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าหาแกนหลักได้อย่างเหมาะสมเพื่อธิ บายหรื อให้เหตุผล
สนับสนุนเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง การคิดเชิงบูรณาการเป็ นการคิดบนฐานความเข้าใจในสัจธรรมที่วาสิ่ งต่าง ๆ ่
นั้นไม่ได้อยูอย่างโดดเดี่ยว ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่ งใดแต่เชื่ อมโยงกับสิ่ งต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งสิ่ งอย่างเป็ นเหตุผล
              ่
            ั
สัมพันธ์กนทั้งเหตุผลที่เชื่ อมกันโดยตรงและโดยอ้อม ดังนั้นในการพิจารณาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจาเป็ นต้อง
มององค์ประกอบแวดล้อมให้รอบด้านการคิดเชิงบูรณาการ จึงเป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยให้มองเรื่ อง ๆ เดียว
ได้อย่างครบถ้วนทุกมุม สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ได้อย่างมีเหตุผล ทาให้มองเห็นภาพทั้งภาพ เข้าใจ
บริ บททั้งหมด ไม่ตกหล่นในประเด็นสาคัญ ๆ เมื่อเห็นการเชื่ อมโยงทั้งหมด จึงทาให้เกิดความเข้าใจและ
ตัดสิ นใจไม่ผดพลาด
                ิ
                   10. ความสามารถในการคิดเชิงอนาคต (Futuristic Thinking) หมายถึงความสามารถใน
การคาดการณ์สิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม ช่วยให้ขยายขอบเขตการมองชี วตให้               ิ
กว้างออกไปจากกรอบที่เคยมองแต่เพียงชีวตประจาวัน ิ
           หากใช้เป้ าหมายในการคิดเป็ นเกณฑ์ (ธัญญา ผลอนันต์, 2545 : 79-88) อาจจัดประเภทได้ 2
ประเภทใหญ่ คือ
                   1. การคิดอย่างมีเป้ าหมาย
                   2. การคิดอย่างไร้เป้ าหมาย
           ในทานองเดียวกันถ้าใช้ลกษณะทิศทางการคิดเป็ นเกณฑ์สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ
                                    ั
           1. การคิดเชิงบวก ถือเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้ผคิดมีความสุ ข
                                                    ู้
                   2. การคิดเชิงลบ เป็ นการคิดเพื่อความไม่ประมาท
                   3. การคิดเชิงคู่ขนาน เป็ นการคิดตามหลักการ ตามเหตุผล ข้อมูลที่ปรากฏ
การคิดแก้ ปัญหา

         ความหมายของการแก้ปัญหา
                                                                            ่
        การคิดแก้ปัญหา เห็นกระบวนการที่มีความเชื่ อมโยงระหว่างข้อมูลที่มีอยูในปั ญหากับตัวผู ้
แก้ปัญหา โดยนาประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ และความคิดมาประยุกต์หาวิธีการเอาชนะอุปสรรคหรื อ
ปัญหาที่กาลังเผชิญอยู่ เพื่อหาคาตอบของปั ญหาในสถานการณ์ใหม่ท่ีไม่คุนเคย (ปรี ชา เนาว์เย็นผล,2544
                                                                   ้

         กระบวนการคิดแก้ ปัญหา
         Polya ได้นาเสนอกระบวนการคิดแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
                           ขั้น ที่ 1 ทาความเข้าใจปั ญหา เป็ นการทบทวนปัญหาที่พบเพื่อทาความเข้าใจให้
ถ่องแท้ในประเด็นต่าง ๆ พิจารณาปัญหาที่พบเกี่ยวข้องกับอะไร มีขอมูลใดบ้างที่เกี่ยวข้อง มีเงื่อนไขหรื อ
                                                                   ้
ต้องการข้อมูลใดเพิ่มเติมหรื อไม่
                           ขั้น ที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา เป็ นขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลพิจารณาแนวทาง
ปฏิบติที่เป็ นไปได้รวมถึงการคิดหาวิธีการหรื อ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงประสบการณ์ ในการ
     ั
แก้ปัญหาที่เคยประสบความสาเร็ จมาก่อนที่คล้ายกับหรื อในทานองเดี่ยวกับกับปั ญหาที่กาลังเผชิญทฤษฎี
หรื อหลักการที่เกี่ยวข้องกับปั ญหา
                           ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน นาแผนไปปฏิบติ ตรวจสอบแต่ละขั้นตอนที่ปฏิบติ
                                                                     ั                             ั
ทบทวน หรื อขยายขั้นตอนการปฏิบติตามที่จาเป็ น อาจรวมถึงสร้างแผนการปฏิบติใหม่ถาจาเป็ น
                                       ั                                     ั       ้
                           ขั้นที่ 4 สรุ ปและตรวจสอบผลการแก้ปัญหา ตรวจสอบคาตอบกับเงื่อนไขที่
กาหนด เลือกคาตอบที่ดีและเหมาะสมที่สุด

       ความสั มพันธ์ ระหว่างกระบวนการคิด
        จากกระบวนการคิดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นว่าขั้นตอนของกระบวนการคิดวิเคราะห์จะ
สอดแทรกอยูในขั้นตอนของทุกกระบวนการคิด เมื่อเป็ นเช่นนี้นกการศึกษา ครู หรื อผูที่เกี่ยวข้องกับการจัด
           ่                                              ั                  ้
การศึกษาสาหรับเด็กควรจะให้ความสาคัญเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กเพื่อใช้เป็ น
พื้นฐานสาหรับการพัฒนาทักษะและกระบวนการคิดลักษณะอื่นต่อไป ตารางข้างล่างแสดงให้เห็น
                                          ั
ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการคิดวิเคราะห์กบกระบวนการคิดลักษณะอื่น
การคิดระดับสู ง การคิดวิเคราะห์
          การแก้ปัญหา ทาความเข้าใจปัญหา หาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา เปรี ยบเทียบ
ทางเลือก ลงมือแก้ปัญหา ตรวจสอบผลการดาเนินการ
          การคิดอย่างมีวจารณญาณ จาแนกแยกแยะ จัดระบบข้อมูลอย่างมีเหตุผล เปรี ยบเทียบข้อมูลเพื่อการ
                          ิ
ตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผล
                       การคิดสร้างสรรค์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล จัดระบบข้อมูล เปรี ยบเทียบ
ข้อมูลใหม่กบข้อมูลเดิมผสมผสานนาไปสู่ การสร้างผลงานที่สร้างสรรค์ โดยการพัฒนาจากของเดิมหรื อ
             ั
สร้างขึ้นมาใหม่
                         สรุ ป จากกระบวนการในการพัฒนากระบวนการคิดทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
เป็ นเพียงตัวอย่างที่ได้เลือกมานาเสนอ สามารถเลือกนาเอากระบวนการที่นกการศึกษาทั้งในประเทศและ
                                                                       ั
ต่างประเทศนาเสนอไว้ใช้ได้อย่างอิสระตามสถานการณ์ บริ บท ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)Namchai
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1Wichit Thepprasit
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษาsaengpet
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1masitah yudee
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingSakda Hwankaew
 
093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการniralai
 

What's hot (17)

ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
 
Mm100
Mm100Mm100
Mm100
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
อบรม "ห้องเรียนสร้างสรรค์" วันที่ 1
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Knowledge management
Knowledge managementKnowledge management
Knowledge management
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMappingบทที่12(d) MindMapping
บทที่12(d) MindMapping
 
093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ093โยนิโส มนสิการ
093โยนิโส มนสิการ
 

Similar to บทความ

Similar to บทความ (20)

Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
51105
5110551105
51105
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

บทความ

  • 1. บทความเรื่อง การคิดแก้ปัญหา ความรู้ เบืองต้ นเกียวกับการคิด ้ ่ การคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่ใช้สัญลักษณ์หรื อภาพแทนสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อ สถานการณ์ต่าง ๆโดยมีการจัดระบบความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่ งเป็ นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ หรื อสิ่ งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รู ปแบบ ธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกได้ หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่ องจากการคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง เรา จึงควรที่จะทราบเกี่ยวกับสมอง เช่นโครงสร้างทางสมอง และพิจารณาว่ามีความสัมพันธ์กบการคิดใน ั ลักษณะใดบ้าง ความหมายการคิด ความหมายของการคิด ได้รับการบัญญัติข้ ึนมาจากนักจิตวิทยาและนักวิชาการทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศหลายท่านตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบน ซึ่ งได้รวบรวมไว้เป็ นบ้างส่ วนดังนี้ ั ่ ก่อ สวัสดิพาณิ ชย์ (2506) อธิ บายไว้วา การคิดคือ พฤติกรรมทางจิตใจซึ่ งมีแนวทางอันแน่วแน่ พฤติกรรมเหล่านี้เกิดจากปั ญหาที่ตองแก้ไข การแก้ปัญหานั้นต้องอาศัยนามธรรม และสัญลักษณ์เป็ นส่ วน ้ ใหญ่ การคิดจะจบลงด้วยการสรุ ปผลในขั้นสุ ดท้าย แนวคิดนี้สอดคล้องกับแนวคิดของนักจิตวิทยา ต่างประเทศท่านหนึ่ง คือ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ที่คิดว่า การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีความสับสนวุนวาย ่ สงสัย หรื อเกิดคับข้องใจ หรื อขัดแย้งในใจ หลังจากนั้นจึงจะเกิดพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหา หรื อขจัดสิ่ งที่เกิดสงสัยนั้น จึงอาจกล่าอีกนัยหนึ่งได้วา การคิดจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีปัญหานันเอง ่ ่ ชูชีพ อ่อนโคกสู ง (2518) กล่าวว่า การคิดเป็ นกระบวนการที่มีสัญลักษณ์หรื อภาพของสิ่ งของหรื อ สถานการณ์ต่าง ๆ มาปรากฏในแนวคิด (Idea)หรื อจิตใจ (Mild) โกวิท ประวาลพฤกษ์ (2523) ให้แนวคิดว่า คนที่คิดเก่งแต่มีความรู ้สึกไม่ดีไม่ถูกต้องตามทานอง คลองทา ไม่ลงมือกระทาตามความคิด ไม่กล้าที่จะทา หรื อบุคคลที่มีความรู ้สึกที่ดีแต่คิดไม่ถูกต้องด้วย เหตุผล ไม่ลงมือกระทา อยูเ่ ฉย ๆ เพียงเพื่อให้เกิดความรู ้สึกที่ดีเท่านั้น เรี ยกว่า ไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ความ สมบูรณ์รอบด้านจาเป็ นที่จะต้องมีความคิด ความรู้สึก และการกระทาที่มีความสัมพันธ์กน ั ่ ทองหล่อ วงษ์สินทร์ (2523) อธิ บายไว้วา การคิดหมายถึง กระบวนการสร้างสัญลักษณ์หรื อภาพให้ ปรากฏในสมอง ประสาท พรปรี ดา (2523) กล่าวว่า การคิดเป็ นพฤติกรรมภายในที่มีความสลับซับซ้อน จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมนุษย์ได้มีการพัฒนาทางสติปัญญาในระดับสู งเท่านั้น ชาติ แจ่มนุช (2545) ได้ให้ความหมายของการคิดไว้ 2 ลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. การคิดเป็ นกระบวนการทางานของสมองโดยใช้ประสบการณ์มาสัมผัสกับสิ่ งเร้าและข้อมูลหรื อ สิ่ งแวดล้อม เพื่อแก้ปัญหา แสวงหาคาตอบ ตัดสิ นใจหรื อสร้างสรรค์สิ่งใหม่
  • 2. 2. การคิดเป็ นพฤตกรรมที่เกิดในสมอง เป็ นนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่า การจะรู ้ ้ ว่ามนุษย์คิดอะไร คิดอย่างไร จะต้องสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดง และสามารถควบคุมให้คิดจนบรรลุ เป้ าหมายได้ ่ ฌอน เพียเจท์ (jean Piaget: 1964) อธิ บายไว้วา การคิดคือ การปฏิบติการทางสมองการที่ลกษณะ ั ั ความคิดของเด็กและผูใหญ่มีความแตกต่างกัน เพราะปฏิบติการทางสมองแตกต่างกัน เขายังมีความเห็นว่า ้ ั การปฏิบติการทางสมองคือ การที่สมองแปลงความรู ้ใหม่ให้เหมาะสมที่จะเก็บเข้าที่ทาง (Acommodation) ั ดังนั้นเมื่อสมองทางานจึงต้องมีกระบวนการคู่เกิดขึ้นเสมอ คือการรับ (Assimilation) และการเก็บ (Accommodation) เพื่อเก็บความรู ้ใหม่ไปปรุ งแต่งแบบแห่งความคิด (Thought Pattern) และทาหน้าที่แปลง ่ (Transform) สิ่ งใหม่ที่เข้ามาโดยอาศัยความรู ้เดิมที่มีอยูแล้ว จากนั้นจึงเก็บความรู ้ใหม่ท่ีเข้าที่เข้าทางแล้วให้ เป็ นระบบ ฮิลการ์ด (Hilgard ) กล่าวว่า การคิดเป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสมองอันเนื่ องมาจากการใช้ สัญลักษณ์แทนสิ่ งของ เหตุการณ์หรื อ สถานการณ์ ต่าง ๆ บรู โน (Bruno ) กล่าวว่า การคิดเป็ นกระบวนการทางสมองที่ใช้สัญลักษณ์จินตภาพ ความคิดเห็น และความคิด รวบยอด แทนประสบการณ์ในอดีต ความเป็ นไปได้ในอนาคต และความเป็ นจริ งที่ปรากฏ การคิดจึงทาให้คนเรา มีกระบวนการ ทางสมองในระดับสู ง กระบวนการเหล่านี้ได้แก่ ตรรกศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ภาษา จินตนาการ ความใส่ ใจ เชาวน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และอื่นๆ มากาเรต ดับบลิว แมทลิน (Matlin ) กล่าวว่า การคิดเป็ นกิจกรรมทางสมอง เป็ นกระบวนการทาง ปัญญา ซึ่งประกอบด้วย การสัมผัส การรับรู้ การรวบรวม การจา การรื้ อฟื้ นข้อมูลเก่าหรื อประสบการณ์ โดย ั ที่บุคคลนาข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เก็บไว้เป็ นระบบ การคิดเป็ นการจัด รู ปแบบของข้อมูลข่าวสารใหม่กบ ข้อมูลเก่า ผลจากการจัดสามารถแสดงออกมาภายนอกให้ผอื่นรับรู ้ได้ ู้ ่ สรุ ปได้วาการคิดเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่ใช้สัญลักษณ์หรื อภาพแทนสิ่ งของ เหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมี การจัดระบบความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่ งเป็ นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ ใหม่หรื อสิ่ งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รู ปแบบ ธรรมดาและ สลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบสามารถ แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่ องจากการคิดเป็ น กระบวนการที่ เกิดขึ้นในสมอง เราจึงควรที่จะทราบเกี่ยวกับสมอง เช่นโครงสร้างทางสมอง และพิจารณาว่ามี ั ความสัมพันธ์กบ การคิดในลักษณะใดบ้าง
  • 3. ทักษะการคิด ความหมายของทักษะการคิด ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการแสดงออกหรื อแสดงพฤติกรรมของการใช้ ความคิดอย่างชานิชานาญ ซึ่ งแต่ละคนจะมีทกษะการคิดที่แตกต่างกัน บางคนสามารถคิดได้เร็ ว ถูกต้องเป็ น ั ขั้นเป็ นตอน บางคนคิดได้ชา ผิดพลาด สับสน แต่อย่างไรก็ตามทักษะการคิดเป็ นสิ่ งที่สามารถพัฒนาและ ้ ฝึ กฝนได้ บุคคลใดได้รับการพัฒนาและฝึ กอย่างชานิชานาญก็จะมีทกษะการคิดเพิ่มมากขึ้น ระดับของการคิด ั สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ระดับ คือ 1. ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Basic thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดโดยทัว ๆ ไป ่ เป็ นการคิดที่ไม่สลับซับซ้อนมากมาย เป็ นทักษะที่ใช้เป็ นพื้นฐานที่จะนาไปใช้ในการคิดในชีวตประจาวัน ิ โดยทัว ๆ ไปของมนุษย์ ส่ วนใหญ่จะเป็ นทักษะการสื่ อสารและสื่ อความหมายต่าง ๆ ที่บุคคลทุกคนจาเป็ นที่ ่ จะใช้ในการรับสารที่แสดงความคิดของผูอื่นเข้ามารับรู้ ตีความจดจา และถ่ายทอดความคิดของตนให้แก่ ้ ผูอื่น ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้ ้ - การจด - การจา - การอ่าน - การฟัง - การบรรยาย - การอธิ บาย - การเขียน - การพูด - การแสดงออก - การบอกความรู้ - การเล่า - การบอกความรู้สึก 2. ทักษะการคิดที่เป็ นแกน (Core thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่ตองใช้ในการ ้ ตัดสิ นใจและแก้ปัญหาทัว ๆ ไปในชีวตประจาวันและเป็ นพื้นฐานของการคิดระดับสู งที่มีความซับซ้อนซึ่ง ่ ิ คนเราจาเป็ นต้องใช้ในการเรี ยนรู ้เนื้ อหาวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนการใช้ชีวตอย่างมีคุณภาพประกอบด้วย ิ ทักษะต่าง ๆ ดังนี้ - การสังเกต - การสารวจ - การถาม - การเก็บรวบรวมข้อมูล - การจาแนกแยกแยะ - การจัดหมวกหมู่ - การเปรี ยบเทียบ - การเรี ยงลาดับ - การเชื่อมโยง - การแปล - การขยายความ - การตีความ - การให้เหตุผล - การสรุ ปย่อ - การสรุ ปอ้างอิง
  • 4. 3. ทักษะการคิดขั้นสู ง (Higher-ordered thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่มีข้ นตอน ั หลายขั้นต้องอาศัยทักษะการสื่ อสารและสื่ อความหมายและทักษะการคิดที่เป็ นแกนหลาย ๆ ทักษะในแต่ละ ขั้น ดังนั้น ทักษะการคิดขั้นสู งจะพัฒนาได้เมื่อเด็กได้พฒนาทักษะการคิดพื้นฐานจนมีความชานาญ ั พอสมควรแล้ว ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ ดังนี้ - การแก้ปัญหา - การคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - การคิดตัดสิ นใจ - การวางแผน - การสรุ ปความ - การนิยาม - การวิเคราะห์ - การแก้ไขปรับปรุ ง - การจัดระบบความคิด - การคาดคะเน - การพยากรณ์ - การตั้งสมมติฐาน - การทดสอบสมมติฐาน - การประยุกต์ความรู้ - การพิสูจน์ความจริ ง การประยุกต์รูปแบบการคิดที่เหมาะสมกับสังคมไทย (เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญศักดิ์, 2545 : 4-20) มีลกษณะต่างกัน 10 มิติ ดังนี้ ั 1. การคิดในเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) หมายถึง ความตั้งใจ ที่จะพิจารณาตัดสิ น เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งโดยการไม่เห็นคล้อยตามข้อเสนออย่างง่าย ๆ แต่ต้ งคาถามท้าทายหรื อโต้แย้งสมมติฐาน ั และข้อสมมติฐานที่อยูเ่ บื้องหลัง และพยายามเปิ ดแนวทางความคิดออกสู่ ทางต่าง ๆ ที่แตกต่างจาก ข้อเสนอนั้นเพื่อให้สามารถได้คาตอบที่สมเหตุ สมผลมากกว่าข้อเสนอเดิม 2. การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) หมายถึง การจาแนกแจกแจงองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรื อเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบ เหล่านั้นเพื่อค้นหาสาเหตุสาเหตุที่แท้จริ งของสิ่ งที่เกิดขึ้น 3. การคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis Type Thinking) หมายถึง ความสามารถในการดึง องค์ประกอบต่าง ๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้สิ่งใหม่ตามวัตถุประสงค์ที่ตองการ ้ 4. ความสามารถในการคิดเชิงเปรี ยบเทียบ (Comparative Thinking) หมายถึงการ พิจารณาเทียบเคียงความเหมือนและ/หรื อความแตกต่างระหว่างสิ่ งนั้นกับสิ่ งอื่น ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถอธิ บายเรื่ องนั้นได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการคิด การแก้ปัญหาหรื อการหาทางเลือกเรื่ องใด เรื่ องหนึ่ง 5. ความสามารถในการคิดเชิงมโนทัศน์ (Conceptual Thinking) หมายถึงความสามารถ ในการประสานข้อมูลทั้งหมดที่มีอยูเ่ กี่ยวกับเรื่ องหนึ่งเรื่ องใดแล้วนามาสร้างเป็ นความคิดรวบยอด 6. ความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking) หมายถึงการขยาย ขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดที่มีอยูสู่ ความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนเพื่อค้นหาตอบที่ดี ่ ั ที่สุดให้กบปั ญหาทีเกิดขึ้น
  • 5. 7. ความสามารถในคิดเชิงประยุกต์ (Applicative Thinking) ความสามารถในการนาสิ่ งที่ มีอยูเ่ ดิมไปปรับใช้ประโยชน์ในบริ บทใหม่ได้อย่างเหมาะสม โดยยังคงหลักการของสิ่ งเดิมไว้ 8. ความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) หมายถึงความสามารถใน การกาหนดแนวทางที่ดีท่ีสุดภายใต้เงื่อนไข ข้อจากัดต่าง ๆ เพื่อบรรลุเป้ าหมายที่ตองการ ้ 9. การคิดเชิงบูรณาการ (Intergrative Thinking) หมายถึงความสามารถในการเชื่อมโยง แนวคิดหรื อองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าหาแกนหลักได้อย่างเหมาะสมเพื่อธิ บายหรื อให้เหตุผล สนับสนุนเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง การคิดเชิงบูรณาการเป็ นการคิดบนฐานความเข้าใจในสัจธรรมที่วาสิ่ งต่าง ๆ ่ นั้นไม่ได้อยูอย่างโดดเดี่ยว ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่ งใดแต่เชื่ อมโยงกับสิ่ งต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งสิ่ งอย่างเป็ นเหตุผล ่ ั สัมพันธ์กนทั้งเหตุผลที่เชื่ อมกันโดยตรงและโดยอ้อม ดังนั้นในการพิจารณาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจาเป็ นต้อง มององค์ประกอบแวดล้อมให้รอบด้านการคิดเชิงบูรณาการ จึงเป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยให้มองเรื่ อง ๆ เดียว ได้อย่างครบถ้วนทุกมุม สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ได้อย่างมีเหตุผล ทาให้มองเห็นภาพทั้งภาพ เข้าใจ บริ บททั้งหมด ไม่ตกหล่นในประเด็นสาคัญ ๆ เมื่อเห็นการเชื่ อมโยงทั้งหมด จึงทาให้เกิดความเข้าใจและ ตัดสิ นใจไม่ผดพลาด ิ 10. ความสามารถในการคิดเชิงอนาคต (Futuristic Thinking) หมายถึงความสามารถใน การคาดการณ์สิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม ช่วยให้ขยายขอบเขตการมองชี วตให้ ิ กว้างออกไปจากกรอบที่เคยมองแต่เพียงชีวตประจาวัน ิ หากใช้เป้ าหมายในการคิดเป็ นเกณฑ์ (ธัญญา ผลอนันต์, 2545 : 79-88) อาจจัดประเภทได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ 1. การคิดอย่างมีเป้ าหมาย 2. การคิดอย่างไร้เป้ าหมาย ในทานองเดียวกันถ้าใช้ลกษณะทิศทางการคิดเป็ นเกณฑ์สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ ั 1. การคิดเชิงบวก ถือเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้ผคิดมีความสุ ข ู้ 2. การคิดเชิงลบ เป็ นการคิดเพื่อความไม่ประมาท 3. การคิดเชิงคู่ขนาน เป็ นการคิดตามหลักการ ตามเหตุผล ข้อมูลที่ปรากฏ
  • 6. การคิดแก้ ปัญหา ความหมายของการแก้ปัญหา ่ การคิดแก้ปัญหา เห็นกระบวนการที่มีความเชื่ อมโยงระหว่างข้อมูลที่มีอยูในปั ญหากับตัวผู ้ แก้ปัญหา โดยนาประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ และความคิดมาประยุกต์หาวิธีการเอาชนะอุปสรรคหรื อ ปัญหาที่กาลังเผชิญอยู่ เพื่อหาคาตอบของปั ญหาในสถานการณ์ใหม่ท่ีไม่คุนเคย (ปรี ชา เนาว์เย็นผล,2544 ้ กระบวนการคิดแก้ ปัญหา Polya ได้นาเสนอกระบวนการคิดแก้ปัญหา ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้น ที่ 1 ทาความเข้าใจปั ญหา เป็ นการทบทวนปัญหาที่พบเพื่อทาความเข้าใจให้ ถ่องแท้ในประเด็นต่าง ๆ พิจารณาปัญหาที่พบเกี่ยวข้องกับอะไร มีขอมูลใดบ้างที่เกี่ยวข้อง มีเงื่อนไขหรื อ ้ ต้องการข้อมูลใดเพิ่มเติมหรื อไม่ ขั้น ที่ 2 วางแผนแก้ปัญหา เป็ นขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลพิจารณาแนวทาง ปฏิบติที่เป็ นไปได้รวมถึงการคิดหาวิธีการหรื อ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงประสบการณ์ ในการ ั แก้ปัญหาที่เคยประสบความสาเร็ จมาก่อนที่คล้ายกับหรื อในทานองเดี่ยวกับกับปั ญหาที่กาลังเผชิญทฤษฎี หรื อหลักการที่เกี่ยวข้องกับปั ญหา ขั้นที่ 3 ดาเนินการตามแผน นาแผนไปปฏิบติ ตรวจสอบแต่ละขั้นตอนที่ปฏิบติ ั ั ทบทวน หรื อขยายขั้นตอนการปฏิบติตามที่จาเป็ น อาจรวมถึงสร้างแผนการปฏิบติใหม่ถาจาเป็ น ั ั ้ ขั้นที่ 4 สรุ ปและตรวจสอบผลการแก้ปัญหา ตรวจสอบคาตอบกับเงื่อนไขที่ กาหนด เลือกคาตอบที่ดีและเหมาะสมที่สุด ความสั มพันธ์ ระหว่างกระบวนการคิด จากกระบวนการคิดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นว่าขั้นตอนของกระบวนการคิดวิเคราะห์จะ สอดแทรกอยูในขั้นตอนของทุกกระบวนการคิด เมื่อเป็ นเช่นนี้นกการศึกษา ครู หรื อผูที่เกี่ยวข้องกับการจัด ่ ั ้ การศึกษาสาหรับเด็กควรจะให้ความสาคัญเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กเพื่อใช้เป็ น พื้นฐานสาหรับการพัฒนาทักษะและกระบวนการคิดลักษณะอื่นต่อไป ตารางข้างล่างแสดงให้เห็น ั ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการคิดวิเคราะห์กบกระบวนการคิดลักษณะอื่น
  • 7. การคิดระดับสู ง การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา ทาความเข้าใจปัญหา หาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา เปรี ยบเทียบ ทางเลือก ลงมือแก้ปัญหา ตรวจสอบผลการดาเนินการ การคิดอย่างมีวจารณญาณ จาแนกแยกแยะ จัดระบบข้อมูลอย่างมีเหตุผล เปรี ยบเทียบข้อมูลเพื่อการ ิ ตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผล การคิดสร้างสรรค์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูล จัดระบบข้อมูล เปรี ยบเทียบ ข้อมูลใหม่กบข้อมูลเดิมผสมผสานนาไปสู่ การสร้างผลงานที่สร้างสรรค์ โดยการพัฒนาจากของเดิมหรื อ ั สร้างขึ้นมาใหม่ สรุ ป จากกระบวนการในการพัฒนากระบวนการคิดทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็ นเพียงตัวอย่างที่ได้เลือกมานาเสนอ สามารถเลือกนาเอากระบวนการที่นกการศึกษาทั้งในประเทศและ ั ต่างประเทศนาเสนอไว้ใช้ได้อย่างอิสระตามสถานการณ์ บริ บท ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง