SlideShare a Scribd company logo
บทที 1
บทนํา
นักวิทยาศาสตร์มีความพยายามทีจะอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึ#น ด้วยองค์
ความรู้ทางวิทยาการสมัยใหม่ โดยเริมต้นจากการสังเกต และสร้างสมการทางคณิตศาสตร์เพือ
ใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทีเกียวข้อง ซึงเป็นทีมาของการเกิดหลักการทาง
ฟิสิกส์ทีสําคัญ เช่น หลักการอนุรักษ์มวล หลักการอนุรักษ์โมเมนตัม หรือหลักการอนุรักษ์
พลังงาน และได้นํามาสู่วิธีการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมมากมายภายใต้รูปแบบของสมการ
เชิงอนุพันธ์ย่อย แต่อย่างไรก็ตาม เราไม่สามารถประยุกต์การแก้สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยเข้ากับ
ทุกกรณีของปัญหา เนืองจากข้อจํากัดในทางคณิตศาสตร์ของสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย
การประยุกต์เงือนไขขอบทีอาจจะไม่สอดคล้องกับปัญหาจริง หรือโดเมนของปัญหาอาจมีความ
ซับซ้อนเกินไป เป็นต้น ดังนั#น การหาผลเฉลยแบบวิเคราะห์ (analytical solution) ทีสอดคล้อง
กับเงือนไขขอบทีซับซ้อนจึงเป็นเรืองทีกระทําได้ค่อนข้างยาก
ด้วยเหตุผลข้างต้นประกอบกับการทีในปัจจุบันวิศวกรมีความต้องการการออกแบบ
โครงสร้างทางวิศวกรรม หรือระบบการทํางานต่าง ๆ ทีประกอบด้วยชิ#นส่วนจํานวนมากทีผลิต
จากวัสดุหลากหลายชนิด และมีความซับซ้อน นักวิจัยจึงได้ทําการพัฒนาวิธีเชิงตัวเลข
(numerical method) เช่น วิธีผลต่างอันตะ (finite difference method) [1,2] วิธีไฟไนต์วอลุม
(finite volume method) [3,4] หรือวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ (finite element method) [5,6] ขึ#นมา เพือ
ช่วยในการวิเคราะห์ปัญหา โดยทําให้เราทราบผลเฉลยแบบประมาณทีสามารถนํามาใช้ใน
การออกแบบเชิงวิศวกรรมต่อไป และเนืองจากการวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีเชิงตัวเลขเหล่านี# มัก
ปรากฏในรูปแบบของการหาผลเฉลยของระบบสมการพีชคณิตขนาดใหญ่ ดังนั#น การพัฒนา
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม (Computer Aided Engineering, CAE) จึงเป็นงานทีมี
ความสําคัญอย่างมาก ดังทีได้ปรากฏในลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม
2
เพือการศึกษา และเพือการใช้งานเชิงพาณิชย์ [7-10] จํานวนมากในปัจจุบัน หนังสือเล่มนี#มี
วัตถุประสงค์หลักเพืออธิบายแนวคิดและพื#นฐานทางคณิตศาสตร์ของการสร้างสมการไฟไนต์
เอลิเมนต์ด้วยวิธีการถ่วงนํ#าหนักเศษตกค้างแบบกาเลอร์คิน วิธีการวิเคราะห์ปัญหาทาง
วิศวกรรมทั#งในหนึงและสองมิติด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ โดยใช้เอลิเมนต์เชิงเส้นตรง (linear
element) และเอลิเมนต์ตัวแปรไร้จุดต่อ (nodeless variable element) ซึงเป็นเอลิเมนต์กําลังสูงที
สามารถให้ความแม่นของผลเฉลยทีใกล้เคียงกับเอลิเมนต์เชิงกําลังสอง แต่ใช้เวลาในการ
คํานวณน้อยกว่า เมือแก้ระบบสมการพีชคณิตด้วยการประยุกต์วิธีเกรเดียนต์สังยุคทีมีการปรับ
สภาพล่วงหน้า (preconditioned conjugate gradients, PCG) [11]
1.1 วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์และการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เป็นหนึงในวิธีเชิงตัวเลขทีเราสามารถนํามาใช้ในการหาผลเฉลย
แบบประมาณของสมการเชิงอนุพันธ์สําหรับปัญหาต่าง ๆ โดยอาศัยแนวคิดหลักของการแบ่ง
โดเมนออกเป็นโดเมนย่อยทีไม่ทับซ้อนกัน เรียกว่า เอลิเมนต์ (element) จากนั#นจึงทําการสร้าง
สมการไฟไนต์เอลิเมนต์สําหรับแต่ละเอลิเมนต์ ซึงในการวิเคราะห์เราจะกําหนดให้ผลเฉลยของ
แต่ละเอลิเมนต์ถูกจัดเก็บเอาไว้ทีจุดต่อ (node) สุดท้ายเมือนําเอลิเมนต์ทั#งหมดมารวมกันเป็น
โดเมน หรือทีเรียกว่า ตาข่าย (mesh) ก็จะได้ระบบสมการพีชคณิตทีสามารถหาผลเฉลยได้โดย
ใช้วิธีเชิงตัวเลขทีเหมาะสม แต่เนืองจากผลเฉลยทีได้เป็นผลเฉลยแบบประมาณของสมการ
เชิงอนุพันธ์ ดังนั#น ความแม่นของผลเฉลยจึงสามารถขึ#นกับหลายปัจจัย โดยปัจจัยหลักทีมี
ผลกระทบสูงก็คือขนาดของเอลิเมนต์และฟังก์ชันการประมาณเอลิเมนต์ซึงเนื#อหาตั#งแต่บทที
3 เป็นต้นไป จะแสดงให้เห็นว่าการกําหนดขนาดของเอลิเมนต์ทีเหมาะสมกับแต่ละปัญหา จะมี
ผลต่อความแม่นและเวลาทีใช้ในการคํานวณ โดยถ้าหากเราแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์ขนาดเล็ก
ผลเฉลยทีได้จะมีความแม่นสูงแต่ต้องใช้เวลาในการคํานวณค่อนข้างมาก ในทางกลับกันถ้าหาก
เราแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์ขนาดโตกว่า ผลเฉลยทีได้จะมีความแม่นตําแต่สามารถคํานวณได้
อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เงือนไขในการกําหนดขนาดเอลิเมนต์ทีเหมาะสมกับปัญหาต่าง ๆ
ยังคงเป็นประเด็นทีต้องมีการวิจัยเพิมเติมในปัจจุบัน ซึงจะถูกกล่าวถึงอีกครั#งในบทที 10
รูป 1.1 แสดงตัวอย่างของเอลิเมนต์อย่างง่ายทีสามารถนํามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา
ต่าง ๆ ในหนึง สอง และสามมิติ อันประกอบด้วยเอลิเมนต์เชิงเส้นตรงหนึงมิติ เอลิเมนต์
3
รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง (triangular element) และเอลิเมนต์ทรงเหลียมสีหน้าเชิงเส้นตรง
(tetrahedral element) ตามลําดับ อย่างไรก็ตาม สําหรับการวิเคราะห์ปัญหาด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรมเชิงพาณิชย์เราสามารถเลือกชนิดและกําลังของเอลิเมนต์ได้
มากกว่าทีแสดงในหนังสือเล่มนี# ซึงเป็นเนื#อหาทีอยู่นอกเหนือจากขอบเขตของหนังสือเล่มนี#
และผู้อ่านสามารถศึกษารายละเอียดสมบัติของเอลิเมนต์ชนิดต่าง ๆ ได้จากคู่มือการใช้งานของ
แต่ละโปรแกรม
เอลิเมนต์เชิงเส้นตรงหนึงมิติ
เอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง
เอลิเมนต์ทรงเหลียมสีหน้าเชิงเส้นตรง
รูป 1.1 ตัวอย่างเอลิเมนต์อย่างง่าย
l
1 2
x
1
2
3
y
x
1
2
3
y
z
4
4
โดยภาพรวมของการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ร่วมกับตัวชี#วัดค่าความผิดพลาด
(error estimator) และเทคนิคการสร้างตาข่ายแบบปรับตัวได้อัตโนมัติ (mesh adaptation)
เพือให้ได้ผลเฉลยทีมีความแม่นสูงในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมนั#น จะประกอบด้วย 4
ขั#นตอนหลักดังแสดงในรูป 1.2
รูป 1.2 ขั#นตอนของการวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
Real problem
Generate mesh
Apply boundary conditions
Apply loadings
Create finite
element equations
Assemble elements
Apply boundary
conditionsApply loadings
Solve algebraic equations
Calculate nodal fluxes
Adapt mesh
Define conceptual model Pre-processing
FEM solver
Post-processing
Estimate element errors
Error
acceptable?
Stop
YesNo
5
ขั#นตอนที 1 (Pre-processing) เป็นขั#นตอนการเตรียมแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์จาก
ปัญหาจริง โดยเริมจากการเตรียมแบบจําลองเชิงแนวคิด (conceptual model) การสร้างตาข่าย
การกําหนดเงือนไขขอบ และการระบุภาระทีมากระทํากับแบบจําลอง สําหรับโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรมเชิงพาณิชย์โดยทัวไป เราสามารถเตรียมการขั#นตอนนี#ได้โดย
อาศัยความสามารถด้านกราฟิกและการสร้างตาข่ายของโปรแกรม
ขั#นตอนที 2 (FEM solver) เมือแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์เสร็จสมบูรณ์แล้ว ข้อมูล
ทั#งหมดของแบบจําลองก็จะถูกส่งต่อให้กับโปรแกรมทีทําหน้าทีวิเคราะห์ปัญหา ซึงจะเริมด้วย
การสร้างสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ให้กับแต่ละเอลิเมนต์ ระบุภาระทีมากระทํากับเอลิเมนต์
จากนั#นจึงทําการประกอบเอลิเมนต์ทั#งหมดเข้าด้วยกัน และกําหนดเงือนไขขอบ ซึงจะได้ระบบ
สมการพีชคณิตของปัญหาทีสามารถหาผลเฉลยได้ด้วยวิธีเชิงตัวเลขทีกําหนด
ขั#นตอนที 3 (Post-processing) เมือโปรแกรมได้ผลเฉลยทีจุดต่อแล้ว ลําดับถัดไปมักจะ
เป็นการคํานวณหาค่าฟลักซ์ทีจุดต่อ (nodal flux) เพือการแสดงผลปริมาณทางฟิสิกส์ต่าง ๆ เช่น
ปัญหาการถ่ายโอนความร้อน หมายถึง ปริมาณฟลักซ์ความร้อน หรือปัญหากลศาสตร์ของแข็ง
หมายถึง ค่าความเค้นหรือค่าความเครียด ลําดับสุดท้ายจะเป็นขั#นตอนของการคํานวณหา
ตัวชี#วัดค่าความผิดพลาดของโดเมน
ขั#นตอนที 4 (Adaptivity) กรณีทีต้องการผลเฉลยทีมีความแม่นสูงขึ#น ให้ทําการ
เปรียบเทียบค่าตัวชี#วัดค่าความผิดพลาดของโดเมนกับค่าความผิดพลาดทียอมรับได้ โดยถ้าหาก
มีค่าตัวชี#วัดค่าความผิดพลาดของโดเมนมีค่ามากกว่าค่าความผิดพลาดทียอมรับได้ ก็ทําการ
ประยุกต์เทคนิคการสร้างตาข่ายแบบปรับตัวได้อัตโนมัติ และกลับเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์
ใหม่อีกครั#ง แต่ในทางตรงกันข้ามให้สิ#นสุดการทํางานของโปรแกรม
ส่วนการออกแบบโปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์โดยทัวไป จะมีขั#นตอนการออกแบบที
สอดคล้องกับรูป 1.2 ข้างต้น ยกตัวอย่างเช่น การออกแบบโปรแกรม EasyFEM [7] ซึงเป็น
โปรแกรมกราฟิกทีช่วยในการสร้างและวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ โดยอาศัย
หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (object-oriented programming, OOP) ซึงสามารถอธิบาย
โครงสร้างในภาพรวมของโปรแกรมได้ด้วยแผนภาพโคดและยัวร์ดอน (Coad and Yourdon
diagram) [12,13] ดังแสดงในรูป 1.3 อันประกอบด้วย 4 ส่วนโปรแกรม (component) หลัก
6
ได้แก่ ส่วนโปรแกรมด้านกราฟิก ด้านตัวแก้ปัญหาด้วยไฟไนต์เอลิเมนต์ ด้านการจัดการ
ข้อผิดพลาด และด้านการจัดการไฟล์รับ-ส่งข้อมูล
รูป 1.3 โครงสร้างในภาพรวมของโปรแกรม EasyFEM
รูป 1.4 แสดงโครงสร้างของข้อกําหนดทัวไปของคลาส (generalization-specification
structure of classes) ซึงเป็นข้อกําหนดของวัตถุอันเป็นองค์ประกอบพื#นฐานทีสําคัญของ
โปรแกรม ประกอบด้วยคลาสของวัตถุประเภทกราฟิก (Curve) เช่น จุด เส้นตรง หรือเส้นโค้ง
วัตถุประเภทการแสดงผลภาพในสองมิติ (2DViz) เช่น เวกเตอร์ หรือเส้นชั#น วัตถุประเภทภาระ
ทีมากระทํา (Load) เช่น ความเร็ว แรง อุณหภูมิ หรือปริมาณความร้อน วัตถุประเภทเงือนไข
ขอบ (Constraint) เช่น การยึดแน่น ผนังขาเข้า หรือผนังขาออก และวัตถุประเภทการจัดการ
1
Boundary
Curve
3,m
0,2
Point
2,4
0,m
Element
0,m
1
Node
3
0,m
Solution
1
1
Material
Load Constraint
1
1,m
0,m
1
0,m
1
2DViz SolverControl Solver
ErrorHandle
1
FileHandle
11
0,m 0,m
7
ไฟล์รับ-ส่งข้อมูล (FileHandle) ซึงคลาสเหล่านี#จะเป็นแผ่นแบบ (template) ทีโปรแกรมจะ
นํามาสร้างวัตถุต่อไป
รูป 1.4 โครงสร้างของข้อกําหนดทัวไปของคลาส
Curve
Line Arc Spline
Load
2DViz
FileHandle
NodeL ElementL EdgeL
Constraint
NodeC EdgeC
ModelFile FEFile TempFile
Contour Fringe Vector Deform ParticleTracing
8
1.2 เปรียบเทียบการหาผลเฉลยแบบแม่นตรงและวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
หัวข้อนี#จะทําการเปรียบเทียบการหาผลเฉลยของปัญหาการถ่ายโอนความร้อนด้วยวิธี
แบบแม่นตรง และวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ทั#งนี#เพือให้เห็นภาพของความแตกต่างระหว่างวิธี
ทั#งสอง จึงขอยกตัวอย่างปัญหาการนําความร้อนในสองมิติของโดเมน )1,1()0,0( ×∈Ω และมี
ความหนา m1=t ดังแสดงในรูป 1.5 ซึงสมการควบคุมของปัญหานี# คือ
02
2
2
2
=
∂
∂
+
∂
∂
y
T
T
T
(1.2-1)
และเงือนไขขอบ
C90o
1, ==yxT และ C0o
,10,,0 === === yxyxyx TTT (1.2-2)
รูป 1.5 ตัวอย่างปัญหาการนําความร้อนในสองมิติ
การแก้ปัญหาของสมการ (1.2-1) ในทางคณิตศาสตร์ขั#นสูงเราจะใช้วิธีการแยกตัวแปร
(separation of variables) [14] โดยเริมต้นจากการแยกตัวแปร T ทีขึ#นกับตัวแปรอิสระ x และ
y ออกจากกัน ดังนี#
)()( yYxXT = (1.2-3)
เมือแทนสมการ (1.2-3) ลงในสมการ (1.2-1) เราจะได้
0=
′′
+
′′
Y
Y
X
X
(1.2-4)
หรือ
m1
C0o
=T
C0o
=T
C90o
=T
C0o
=T
x
y
m1
9
2
α−=
′′
−=
′′
Y
Y
X
X
(1.2-5)
โดย 2
2
dx
Xd
X =′′ และ 2
2
dy
Yd
Y =′′ ดังนั#น สมการ (1.2-5) จึงสามารถแยกออกจากกันได้เป็น 2
สมการ นันคือ
02
=+′′ XX α (1.2-6)
02
=−′′ YY α (1.2-7)
จากนั#นทําการแก้สมการทั#งสอง เราจะได้ผลเฉลยในรูปแบบทัวไปว่า
)cos()sin( 21 xCxCX αα += (1.2-8)
yy
eDeDY αα −
+= 21 (1.2-9)
เมือแทนสมการ (1.2-8) และ (1.2-9) กลับลงในสมการ (1.2-3) จะได้ผลเฉลยของอุณหภูมิใน
รูปแบบทัวไป กล่าวคือ
( )( )yy
eDeDxCxCT αα
αα −
++= 2121 )cos()sin( (1.2-10)
ค่าสัมประสิทธิpของสมการ (1.2-10) สามารถหาได้จากเงือนไขขอบ ดังนี#
( )( )yy
yx eDeDCCT αα −
= ++== 2121
o
,0 )0cos()0sin(C0 (1.2-11)
02 =∴C (1.2-12)
( )yy
yx eDeDCT αα
α −
= +== 211
o
,1 )sin(C0 (1.2-13)
K,3,2,1
0)sin(
==∴
=
nnn πα
α
(1.2-14)
( )211
o
0, )sin(C0 DDxCT nyx +=== α (1.2-15)
21 DD −=∴ (1.2-16)
ดังนั#น สมการ (1.2-10) จึงสามารถเขียนใหม่ได้ว่า
∑
∞
=
=
1
)sinh()sin(
n
nnn yxCT αα (1.2-17)
10
สุดท้ายค่าสัมประสิทธิp nC สามารถหาได้จากสมบัติการตั#งฉากของฟังก์ชันไซน์
(orthogonality property) ร่วมกับเงือนไขขอบ C90o
1, ==yxT ดังนี#
∑ ∫∫
∞
=
= =
1
1
0
1
0 1, )sin()sin()sinh()sin(
n
mnnnmyx dxxxCdxxT αααα (1.2-18)
)sinh(
)sin(902
)sin()sin()sinh()sin()(
1
0
1
1
0
1
0
n
m
n
n
mnnnm
dxx
C
dxxxCxxT
α
α
αααα
∫
∑ ∫∫
=∴
=
∞
=
(1.2-19)
ดังนั#น
∑
∫∞
=
=
1
1
0
)sinh()sin(
)sinh(
)sin(
180
n
nn
n
m
yx
dxx
T αα
α
α
(1.2-20)
แต่เนืองจาก
[ ]
[ ]1)cos(
1
)cos(
1
)sin(
1
0
1
0
−−=
−=∫
m
m
m
m
m xdxx
α
α
α
α
α
(1.2-21)
ดังนั#น เราจะได้ว่า




=
=
=∫ K
K
,5,3,1
2
,4,2,00
)sin(
1
0 m
m
dxx
m
m
α
α (1.2-22)
เมือกําหนดให้ตัวแปร nm = เราจะได้ผลเฉลยแบบแม่นตรงของปัญหานี# คือ
∑
∞
=
=
0
,
)sinh(
)sinh()sin(
360
n nn
nn
yx
yx
T
αα
αα
(1.2-23)
โดย πα )12( += nn
รูป 1.6 แสดงเส้นชั#นผลเฉลยอุณหภูมิแบบแม่นตรงของสมการ (1.2-23) จะเห็นได้ว่า
ขั#นตอนการหาผลเฉลยแบบแม่นตรงนั#นต้องอาศัยองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ขั#นสูง และ
ถ้าหากมีการเปลียนแปลงเงือนไขขอบหรือรูปร่างของโดเมน เช่น ขอบบนของโดเมนถูกแก้ไข
เป็นรูปทรงหลายเหลียม กรณีเช่นนี#การกําหนดเงือนไขขอบให้สอดคล้องกับสมการ (1.2-1) จะ
11
สามารถกระทําได้ยากมาก หรือสามารถกล่าวอีกนัยหนึงได้ว่ากรณีทีขอบโดเมนมีความ
ซับซ้อน การกําหนดเงือนไขขอบเพือให้ได้สมการของผลเฉลยแบบแม่นตรงเพียงสมการเดียว
ทีสามารถแสดงผลเฉลยทีสอดคล้องกันพอดีระหว่างผลเฉลยภายในและผลเฉลยทีขอบโดเมน
นั#น จะสามารถกระทําได้ยากมากทีเดียว
รูป 1.6 เส้นชั#นผลเฉลยอุณหภูมิแบบแม่นตรงของสมการ (1.2-23)
รูป 1.7 การแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง
ส่วนการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สําหรับแก้สมการ (1.2-1) และเงือนไขขอบ
(1.2-2) จะประกอบด้วยขั#นตอน ดังนี#
ขั-นตอนที 1 สําหรับปัญหาการนําความร้อนในโดเมนขนาด 2
m11× เราสามารถสร้าง
แบบจําลองเชิงแนวคิดด้วยโปรแกรม EasyFEM โดยเริมต้นจากการสร้างรูปสีเหลียมจัตุรัส
ขนาดความยาว m1 และแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง เช่น กําหนดให้ใช้
12
เอลิเมนต์ขนาด m02.0 เราจะได้โดเมนทีประกอบด้วย 5000 เอลิเมนต์ดังแสดงในรูป 1.7
จากนั#นทําการประยุกต์เงือนไขขอบโดยกําหนดให้อุณหภูมิทีขอบซ้าย ขอบขวา และขอบล่าง
เท่ากับ C0o
ส่วนขอบบนกําหนดให้มีค่าเท่ากับ C90o
ดังแสดงในรูป 1.8 ซึงขั#นตอนที 1 เป็น
ขั#นตอนของการเตรียมแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์จากปัญหาจริง (Pre-processing) เพือส่งต่อ
ให้กับตัววิเคราะห์ปัญหาต่อไป
รูป 1.8 การประยุกต์เงือนไขขอบ
ขั-นตอนที 2 จากนั#นข้อมูลทั#งหมดของแบบจําลองจะถูกส่งต่อให้กับโปรแกรมทีทําหน้าที
วิเคราะห์ปัญหา (solver) ซึงรายละเอียดทั#งหมดจะปรากฏในบทที 4 อีกครั#ง สําหรับขั#นตอน
โดยคร่าว ๆ ของการสร้างสมการไฟไนต์เอลิเมนต์สําหรับสมการ (1.2-1) เริมด้วยการประยุกต์
วิธีการถ่วงนํ#าหนักเศษตกค้างแบบกาเลอร์คินเข้ากับแต่ละเอลิเมนต์ด้วยการใช้ฟังก์ชันนํ#าหนัก
iW ทีมีค่าเท่ากับฟังก์ชันการประมาณของเอลิเมนต์ iN ดังนี#
02
2
2
2
=Ω
















∂
∂
+
∂
∂
∫Ω
dt
y
T
x
T
Ne i (1.2-24)
และเมือประยุกต์ทฤษฎีบทกรีน-เกาส์ (Green-Gauss theorem) เข้ากับสมการ (1.2-24) เราจะได้
สมการทีมีอันดับลดลง ได้แก่
Ω
∂
∂
∂
∂
−Γ
∂
∂
=Ω
∂
∂
∫∫∫ ΩΓΩ
d
x
T
k
x
N
dn
x
T
kNd
x
T
kN eee
i
xii 2
2
(1.2-25)
Ω
∂
∂
∂
∂
−Γ
∂
∂
=Ω
∂
∂
∫∫∫ ΩΓΩ
d
y
T
k
y
N
dn
y
T
kNd
y
T
kN eee
i
yii 2
2
(1.2-26)
0.00E+000.00E+00
0.00E+00
0.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+00
0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
0.00E+00 0.00E+00
90.0.00E+0090.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.0.00E+00
13
โดย e
Γ หมายถึง ขอบเอลิเมนต์ (element boundary) ส่วน xn และ yn หมายถึง องค์ประกอบ
ของเวกเตอร์ขนาดหนึงหน่วย (unit vector) ตั#งฉากกับขอบเอลิเมนต์ e
Γ ในทิศทางแกน x และ
y ตามลําดับ จากนั#นแทนค่าสมการทั#งสองลงใน (1.2-24) และจัดพจน์เสียใหม่ เราจะได้
0=Γ





∂
∂
+
∂
∂
−Ω





∂
∂
∂
∂
+
∂
∂
∂
∂
∫∫ ΓΩ
dtn
y
T
n
x
T
Ndt
y
T
y
N
x
T
x
N
ee yxi
ii
(1.2-27)
สําหรับปัญหานี#ไม่มีการกําหนดฟลักซ์ความร้อนในทิศทางตั#งฉากกับขอบโดเมน
ดังนั#น พจน์สุดท้ายของสมการ (1.2-27) จึงเท่ากับศูนย์นันคือ
0=Ω





∂
∂
∂
∂
+
∂
∂
∂
∂
∫Ω
dt
y
T
y
N
x
T
x
N
e
ii
(1.2-28)
ซึงเป็นสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ของสมการ (1.2-1) สําหรับเอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง
และสมมติผลเฉลยแบบประมาณในรูปของฟังก์ชันการประมาณของเอลิเมนต์ เท่ากับ
 
e
i
ii
T
T
T
NNNTNT
NT=










== ∑
=
3
2
1
321
3
1 (1.2-29)
เมือแทนค่าสมการ (1.2-29) ลงในสมการ (1.2-28) เราสามารถแสดงสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ใน
รูปแบบเมทริกซ์ ดังนี#
( ) 0TBBBB =Ω+∫Ω
e
y
T
yx
T
x dte (1.2-30)
หรือสามารถเขียนในรูปแบบกระชับได้ว่า
0TK =ee
c (1.2-31)
โดย
( )










+++
+++
+++
=
Ω+= ∫Ω
333323231313
323222221212
313121211111
4
ccbbccbbccbb
ccbbccbbccbb
ccbbccbbccbb
A
t
dte y
T
yx
T
x
e
c BBBBK
(1.2-32)
14
เราจะเห็นได้ว่าถึงแม้ว่าเส้นขอบของโดเมนจะเปลียนแปลงเป็นรูปทรงอืน หรือเงือนไขขอบถูก
กําหนดด้วยค่าอุณหภูมิทีแตกต่างกันออกไป เรายังคงสามารถแก้สมการ (1.2-1) โดยใช้สมการ
(1.2-31) ได้เช่นเดิม
จากนั#นสมการ (1.2-31) จะถูกนํามาใช้ในการสร้างระบบสมการไฟไนต์เอลิเมนต์
พร้อมทั#งระบุภาระทีมากระทํากับเอลิเมนต์ และเมือทําการต่อเอลิเมนต์ทั#งหมดเข้าด้วยกัน
พร้อมกับการกําหนดเงือนไขขอบให้กับระบบสมการ เราจะได้ระบบสมการพีชคณิตทีสามารถ
ใช้หาผลเฉลยด้วยวิธีเชิงตัวเลขทีกําหนดดังแสดงในรูป 1.9
















=















 =
















0
0
0
0
00
3
2
1
321
2333231
2232221
1131211
NNNNNN
N
N
N
T
T
T
T
kkkk
kkkk
kkkk
kkkk
M
L
MOMMM
L
L
L
รูป 1.9 ตัวอย่างระบบสมการพีชคณิต
ขั-นตอนที 3 เมือทราบผลเฉลยทีจุดต่อ เราก็จะสามารถแสดงผลเฉลยดังกล่าวในรูปแบบ
กราฟิก เช่น เส้นชั#นอุณหภูมิ หรือเวกเตอร์แสดงทิศทางการไหลของปริมาณฟลักซ์ความร้อน
ดังแสดงในรูป 1.10 และ 1.11 ตามลําดับ รูป 1.12 แสดงการเปรียบเทียบผลเฉลยตลอดแนว
5.0=x ซึงผลเฉลยทีได้มีความแตกต่างกันน้อยมาก ดังนั#น เราจะเห็นได้ว่าผลเฉลยทีจุดต่อที
ได้จะสามารถนํามาใช้ประโยชน์ในแง่ของการวิเคราะห์ได้อย่างสะดวกก็โดยอาศัย
ความสามารถด้านกราฟิก เพราะการทีเราสามารถแปลงข้อมูลตัวเลขออกมาเป็นรูปแบบของ
เส้นชั#น หรือเวกเตอร์ทีสามารถระบุค่าความต่างของผลเฉลยด้วยสีของเส้นชั#น หรือขนาดความ
ยาวของเวกเตอร์ เป็นต้น จะช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์ผลเฉลยได้ง่ายขึ#นนอกจากนี# การทีเรา
สามารถเปรียบเทียบผลเฉลยในรูปแบบของภาพกราฟิก จะมีส่วนช่วยให้เราสามารถทําความ
เข้าใจถึงผลของรูปร่างของโครงสร้างทีทําการออกแบบว่าจะก่อให้เกิดผลอย่างไรเมือถูก
นํามาใช้งาน ดังนั#น การศึกษาวิชาไฟไนต์เอลิเมนต์ในปัจจุบัน จึงมีความจําเป็นอย่างยิงทีเรา
ต้องเรียนรู้ทั#งในภาคทฤษฎี และการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม
ควบคู่กันไป ดังนั#น เพือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด จึงขอแนะนําให้ผู้อ่านใช้โปรแกรม
EasyFEM ประกอบกับหนังสือเล่มนี#
15
รูป 1.10 เส้นชั#นอุณหภูมิ
รูป 1.11 เวกเตอร์แสดงฟลักซ์ความร้อน
รูป 1.12 เปรียบเทียบผลเฉลยของอุณหภูมิตลอดแนว 5.0=x
0 0.25 0.5 0.75 1
0
15
30
45
60
75
90
FEM
Exact
y
Co
T
16
1.3 ตัวอย่างการประยุกต์วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
ชิ#นส่วนในงานวิศวกรรมโดยส่วนใหญ่จะเป็นชิ#นส่วนทีมีความซับซ้อน ดังนั#น การ
วิเคราะห์ค่าทางกลด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์จึงมีความจําเป็นอย่างมากต่องานด้านการออกแบบ
ในปัจจุบัน เนืองจากสภาพการแข่งขันทีรุนแรงในภาคอุตสาหกรรม ดังนั#น วิศวกรจึงมีความ
จําเป็นต้องออกแบบชิ#นส่วนต่าง ๆ ให้มีความแข็งแรง ปลอดภัยต่อการใช้งานตามมาตรฐานที
สากลยอมรับ นอกจากนี#ยังต้องคํานึงถึงต้นทุนการผลิต เพือให้สามารถแข่งขันในตลาดได้อีก
ด้วย ด้วยเหตุผลดังกล่าวการออกแบบในปัจจุบันจึงเป็นทั#งศาสตร์และศิลป์ ทีวิศวกรจําเป็นต้อง
ประนีประนอมระหว่างหลักการทางวิศวกรรมในการออกแบบ ความสามารถในการผลิตด้วย
กระบวนการทีต้นทุนไม่สูงมากนัก สามารถควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิตได้ง่าย และใช้
เวลาในการผลิตไม่มาก ดังนั#น วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์จึงเป็นหนึงในทางเลือกทีวิศวกรนิยม
นํามาใช้เป็นเครืองมือทีสําคัญในการออกแบบชิ#นส่วนในปัจจุบัน
ตัวอย่างแรกเป็นการวิเคราะห์ปัญหาการรับแรงขนาด N250 ของแผ่นยึดขนาด
2
m5.05.0 × ทีมีความหนา m025.0 ดังแสดงในรูป 1.13
รูป 1.13 แบบจําลองของปัญหาแผ่นยึดรับแรงขนาด N250
รูป 1.14 แสดงการแบ่งโดเมนออกเป็นตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม ส่วนรูป 1.15
แสดงการกระจายตัวของความเค้นเฉือน (shear stress) และความเค้นฟอนมิสเซส (von Mises
stress) และรูป 1.16 แสดงการเสียรูปจากแรงทีมากระทํา ซึงจะเห็นได้ว่าผลเฉลยทีได้ทําให้เรา
สามารถทราบถึงความแข็งแรงของชิ#นส่วน และตําแหน่งของชิ#นส่วนทีรับแรงสูงทีสุด หรือ
250.250.
250.
250.
250.
250.
17
ตําแหน่งทีอ่อนแอทีสุด เป็นต้น ดังนั#น วิศวกรจึงสามารถทําการออกแบบซํ#าอีกครั#งเพือให้ได้
ชิ#นส่วนทีมีขนาดเหมาะสมทีสุดสําหรับการใช้งาน
รูป 1.14 ตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม
รูป 1.15 การกระจายตัวของความเค้น
รูป 1.16 การเสียรูปของชิ#นส่วน
18
ตัวอย่างทีสองเป็นการวิเคราะห์ปัญหาความเค้นจากความร้อนของแผงระบายความ
ร้อน (heat sink) บนตัวประมวลผล (CPU) ขนาด 3
m04.01.01.0 ×× ดังแสดงในรูป 1.17 โดย
อุณหภูมิทีฐานกําหนดให้มีค่าเท่ากับ C80o
และถูกระบายความร้อนด้วยอากาศทีอุณหภูมิ
เท่ากับ C25o
และ C)W/(m30 o2
⋅=h ดังนั#น ความร้อนภายในแผงระบายความร้อนจะมี
ทิศทางการกระจายตัวจากล่างขึ#นบน และส่งผลให้การกระจายตัวของอุณหภูมิสูงทีฐานมายัง
ด้านบนซึงจะมีอุณหภูมิตํากว่า
รูป 1.17 แบบจําลองของปัญหาความเค้นจากความร้อนของแผงระบายความร้อน
รูป 1.18 ตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม
รูป 1.19 การกระจายตัวของอุณหภูมิ
19
รูป 1.20 การกระจายตัวของความเค้นฟอนมิสเซสในขณะเสียรูป
รูป 1.18 แสดงการแบ่งโดเมนออกเป็นตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม รูป 1.19 แสดงผล
การกระจายตัวของอุณหภูมิในสถานะคงตัว ส่วนรูป 1.20 แสดงการกระจายตัวของความเค้น
ฟอนมิสเซสในขณะเสียรูปเนืองจากผลของความร้อน ซึงการทีเราทราบกระจายตัวของอุณหภูมิ
และการเสียรูปของแผงระบายความร้อน ทําให้เราสามารถออกแบบของแผงระบายความร้อนที
มีขนาดเล็กทีสุด ใช้วัสดุน้อยทีสุด และยังสามารถระบายความร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตามทีกําหนด
ตัวอย่างสุดท้ายเป็นการวิเคราะห์ปัญหาการไหลแบบแลมินาร์ของอากาศผ่านบ้าน
ประหยัดพลังงานขนาด 3
m51010 ×× ดังแสดงในรูป 1.21 เพือศึกษาลักษณะของการถ่ายเท
อากาศภายในตัวบ้าน โดยเลขเรย์โนลดส์เมือวัดด้วยความยาวตัวบ้านเท่ากับ 100Re =L รูป
1.22 แสดงการแบ่งโดเมนออกเป็นตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม ส่วนรูป 1.23 และ 1.24 แสดง
เวกเตอร์ความเร็วของอากาศตลอดทั#งโดเมน และรูปขยายเฉพาะส่วนทีไหลผ่านตัวบ้าน
ตามลําดับ ซึงปัญหานี#จะทําให้เราทราบถึงพฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านตัวบ้าน และจะ
ช่วยให้เราสามารถออกแบบบ้านทีมีการระบายอากาศทีดี
รูป 1.21 แบบจําลองของปัญหาการไหลแบบแลมินาร์ของอากาศผ่านบ้านประหยัดพลังงาน
20
รูป 1.22 ตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม
รูป 1.23 เวกเตอร์ความเร็วของอากาศตลอดทั#งโดเมน
รูป 1.24 เวกเตอร์ความเร็วของอากาศเฉพาะส่วนทีไหลผ่านตัวบ้าน
21
1.4 บทสรุป
บทนี#ได้กล่าวถึงภาพรวมของวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ซึงเป็นวิธีเชิงตัวเลขทีช่วยในการแก้
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย ซึงเป็นสมการควบคุมปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ทีเกิดขึ#นในธรรมชาติ
ด้วยเทคนิคการประมาณค่าของผลเฉลย โดยทีหลักการสําคัญของวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สามารถ
แบ่งออกได้เป็น 2 ประการ ดังนี# หลักการแรกเป็นหลักการการแบ่งโดเมนออกเป็นเอลิเมนต์
ขนาดเล็กทีวางเรียงตัวกันตลอดทั#งโดเมน โดยไม่มีการทับซ้อนกันของเอลิเมนต์ และหลักการ
ทีสองเป็นหลักการของการสร้างสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ซึงมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี แต่วิธีทีได้รับ
ความนิยมมากทีสุดก็คือ วิธีการถ่วงนํ#าหนักเศษตกค้างแบบกาเลอร์คิน สุดท้ายเราจะได้สมการ
ไฟไนต์เอลิเมนต์ในรูปแบบของระบบสมการพีชคณิต ทีสามารถแก้ระบบสมการดังกล่าวด้วย
วิธีเชิงตัวเลขทีเหมาะสมต่อไป นอกจากนี# วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ยังเป็นวิธีทีได้รับความนิยมมาก
ในปัจจุบัน ดังจะเห็นได้ว่าเป็นวิธีพื#นฐานทีถูกบรรจุลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงาน
วิศวกรรมเชิงพาณิชย์จํานวนมาก
สุดท้ายเพือให้เห็นถึงประโยชน์ของการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ จึงได้แสดงผล
ของตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง ปัญหาความเค้นจากความร้อน และปัญหา
การไหลแบบแลมินาร์ของอากาศ ซึงจะเห็นว่าวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สามารถช่วยให้วิศวกรได้
เห็นถึงผลกระทบทางกลทีเกิดขึ#นกับโดเมนทีทําการวิเคราะห์ได้เป็นอย่างดี ซึงเราสามารถนํา
ผลเฉลยทีได้มาใช้เป็นข้อมูลประกอบการออกแบบชิ#นส่วน หรือโครงสร้างทีมีความปลอดภัย
แข็งแรง และมีต้นทุนการผลิตทีตําได้ต่อไป
22
เอกสารอ้างอิง
[1] Strikwerda, J. C. Finite Difference Schemes and Partial Differential Equation. Second
Edition. Philadelphia: SIAM, 2004.
[2] Hoffman, J. D. Numerical Methods for Engineers and Scientists. Second Edition. New
York: Marcel Dekker, 1992.
[3] LeVeque,R.J.FiniteVolumeMethodsforHyperbolicProblems.NewYork:Cambridge
University Press, 2004.
[4] Versteeg, H. K., and Malalasekera, W. An Introduction to Computational Fluid
Dynamics: The Finite Volume Method. Second Edition. UK: Prentice Hall, 2007.
[5] Zienkiewicz, O. C., and Taylor, R. L. The Finite Element Method Vol. 1: The Basis.
Fifth Edition. Oxford: Butterworth-Heinemann, 2000.
[6] Dechaumphai, P. Finite Element Method: Fundamentals and Applications. Oxford:
Alpha Science International, 2010.
[7] Dechaumphai,P.,andPhongthanapanich,S.EasyFiniteElementMethodwithSoftware.
Oxford: Alpha Science International, 2009.
[8] http://www.ansys.com/Products
[9] http://www.altairhyperworks.com/#
[10] http://www.3ds.com/products-services/simulia/products/abaqus/latest-release/
[11] Shewchuck, J. R. An Introduction to the Conjugate Gradient Method without the
Agonizing Pain. Pittsburgh: Carnegie Mellon University, August 1994.
[12] Coad, P., and Yourdon, E. Object-Oriented Analysis. Second Edition. New Jersey:
Prentice Hall, 1991.
[13] Phongthanapanich, S., and Dechaumphai, P. EasyFEM - An Object-Oriented Graphics
Interface Finite Element/Finite Volume Software. Advances in Engineering Software.
Vol. 37. No. 12. 2006, pp. 797-804.
[14] Bejan, A. Heat Transfer. New York: John Wiley & Sons, 1993.

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
Matrix of linear transformation
Matrix of linear transformationMatrix of linear transformation
Matrix of linear transformation
beenishbeenish
 
System Of Linear Equations
System Of Linear EquationsSystem Of Linear Equations
System Of Linear Equations
saahil kshatriya
 
Cramer’s rule of matrix
Cramer’s rule of matrixCramer’s rule of matrix
Cramer’s rule of matrix
Abi Malik
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Coo Ca Nit Sad
 
17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)
17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)
17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)
Παύλος Τρύφων
 
CRAMER’S RULE
CRAMER’S RULECRAMER’S RULE
CRAMER’S RULE
Kishan Kasundra
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
kanjana2536
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
Matrix_PPT.pptx
Matrix_PPT.pptxMatrix_PPT.pptx
Matrix_PPT.pptx
veenatanmaipatlolla
 
4.3 Determinants and Cramer's Rule
4.3 Determinants and Cramer's Rule4.3 Determinants and Cramer's Rule
4.3 Determinants and Cramer's Rule
hisema01
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
ชัชชญา ช่างเจริญ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
 
สัญกรณ์วิทย์ 2
สัญกรณ์วิทย์ 2สัญกรณ์วิทย์ 2
สัญกรณ์วิทย์ 2
 
Matrix of linear transformation
Matrix of linear transformationMatrix of linear transformation
Matrix of linear transformation
 
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1
ปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 1
 
System Of Linear Equations
System Of Linear EquationsSystem Of Linear Equations
System Of Linear Equations
 
Cramer’s rule of matrix
Cramer’s rule of matrixCramer’s rule of matrix
Cramer’s rule of matrix
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปสูตรและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)
17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)
17 επαναληπτικές ασκήσεις μιγαδικών (λυμένες)
 
CRAMER’S RULE
CRAMER’S RULECRAMER’S RULE
CRAMER’S RULE
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
ข้อสอบปลายภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 2
 
Matrix_PPT.pptx
Matrix_PPT.pptxMatrix_PPT.pptx
Matrix_PPT.pptx
 
4.3 Determinants and Cramer's Rule
4.3 Determinants and Cramer's Rule4.3 Determinants and Cramer's Rule
4.3 Determinants and Cramer's Rule
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
 

Similar to 9789740336181

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
Orapan Chamnan
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1
binLy
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
kanjana Pongkan
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
Playplayplay
 
นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8
Setthawut Ruangbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Mongkon Khumpo
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมVisarut Keatnima
 
Com project
Com projectCom project
Com project
BanditOumchaigad
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 

Similar to 9789740336181 (20)

40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
 
นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
4678467846
46784678464678467846
4678467846
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอม
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
Chapter008
Chapter008Chapter008
Chapter008
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740336181

  • 1. บทที 1 บทนํา นักวิทยาศาสตร์มีความพยายามทีจะอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึ#น ด้วยองค์ ความรู้ทางวิทยาการสมัยใหม่ โดยเริมต้นจากการสังเกต และสร้างสมการทางคณิตศาสตร์เพือ ใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทีเกียวข้อง ซึงเป็นทีมาของการเกิดหลักการทาง ฟิสิกส์ทีสําคัญ เช่น หลักการอนุรักษ์มวล หลักการอนุรักษ์โมเมนตัม หรือหลักการอนุรักษ์ พลังงาน และได้นํามาสู่วิธีการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมมากมายภายใต้รูปแบบของสมการ เชิงอนุพันธ์ย่อย แต่อย่างไรก็ตาม เราไม่สามารถประยุกต์การแก้สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยเข้ากับ ทุกกรณีของปัญหา เนืองจากข้อจํากัดในทางคณิตศาสตร์ของสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย การประยุกต์เงือนไขขอบทีอาจจะไม่สอดคล้องกับปัญหาจริง หรือโดเมนของปัญหาอาจมีความ ซับซ้อนเกินไป เป็นต้น ดังนั#น การหาผลเฉลยแบบวิเคราะห์ (analytical solution) ทีสอดคล้อง กับเงือนไขขอบทีซับซ้อนจึงเป็นเรืองทีกระทําได้ค่อนข้างยาก ด้วยเหตุผลข้างต้นประกอบกับการทีในปัจจุบันวิศวกรมีความต้องการการออกแบบ โครงสร้างทางวิศวกรรม หรือระบบการทํางานต่าง ๆ ทีประกอบด้วยชิ#นส่วนจํานวนมากทีผลิต จากวัสดุหลากหลายชนิด และมีความซับซ้อน นักวิจัยจึงได้ทําการพัฒนาวิธีเชิงตัวเลข (numerical method) เช่น วิธีผลต่างอันตะ (finite difference method) [1,2] วิธีไฟไนต์วอลุม (finite volume method) [3,4] หรือวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ (finite element method) [5,6] ขึ#นมา เพือ ช่วยในการวิเคราะห์ปัญหา โดยทําให้เราทราบผลเฉลยแบบประมาณทีสามารถนํามาใช้ใน การออกแบบเชิงวิศวกรรมต่อไป และเนืองจากการวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีเชิงตัวเลขเหล่านี# มัก ปรากฏในรูปแบบของการหาผลเฉลยของระบบสมการพีชคณิตขนาดใหญ่ ดังนั#น การพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม (Computer Aided Engineering, CAE) จึงเป็นงานทีมี ความสําคัญอย่างมาก ดังทีได้ปรากฏในลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม
  • 2. 2 เพือการศึกษา และเพือการใช้งานเชิงพาณิชย์ [7-10] จํานวนมากในปัจจุบัน หนังสือเล่มนี#มี วัตถุประสงค์หลักเพืออธิบายแนวคิดและพื#นฐานทางคณิตศาสตร์ของการสร้างสมการไฟไนต์ เอลิเมนต์ด้วยวิธีการถ่วงนํ#าหนักเศษตกค้างแบบกาเลอร์คิน วิธีการวิเคราะห์ปัญหาทาง วิศวกรรมทั#งในหนึงและสองมิติด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ โดยใช้เอลิเมนต์เชิงเส้นตรง (linear element) และเอลิเมนต์ตัวแปรไร้จุดต่อ (nodeless variable element) ซึงเป็นเอลิเมนต์กําลังสูงที สามารถให้ความแม่นของผลเฉลยทีใกล้เคียงกับเอลิเมนต์เชิงกําลังสอง แต่ใช้เวลาในการ คํานวณน้อยกว่า เมือแก้ระบบสมการพีชคณิตด้วยการประยุกต์วิธีเกรเดียนต์สังยุคทีมีการปรับ สภาพล่วงหน้า (preconditioned conjugate gradients, PCG) [11] 1.1 วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์และการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เป็นหนึงในวิธีเชิงตัวเลขทีเราสามารถนํามาใช้ในการหาผลเฉลย แบบประมาณของสมการเชิงอนุพันธ์สําหรับปัญหาต่าง ๆ โดยอาศัยแนวคิดหลักของการแบ่ง โดเมนออกเป็นโดเมนย่อยทีไม่ทับซ้อนกัน เรียกว่า เอลิเมนต์ (element) จากนั#นจึงทําการสร้าง สมการไฟไนต์เอลิเมนต์สําหรับแต่ละเอลิเมนต์ ซึงในการวิเคราะห์เราจะกําหนดให้ผลเฉลยของ แต่ละเอลิเมนต์ถูกจัดเก็บเอาไว้ทีจุดต่อ (node) สุดท้ายเมือนําเอลิเมนต์ทั#งหมดมารวมกันเป็น โดเมน หรือทีเรียกว่า ตาข่าย (mesh) ก็จะได้ระบบสมการพีชคณิตทีสามารถหาผลเฉลยได้โดย ใช้วิธีเชิงตัวเลขทีเหมาะสม แต่เนืองจากผลเฉลยทีได้เป็นผลเฉลยแบบประมาณของสมการ เชิงอนุพันธ์ ดังนั#น ความแม่นของผลเฉลยจึงสามารถขึ#นกับหลายปัจจัย โดยปัจจัยหลักทีมี ผลกระทบสูงก็คือขนาดของเอลิเมนต์และฟังก์ชันการประมาณเอลิเมนต์ซึงเนื#อหาตั#งแต่บทที 3 เป็นต้นไป จะแสดงให้เห็นว่าการกําหนดขนาดของเอลิเมนต์ทีเหมาะสมกับแต่ละปัญหา จะมี ผลต่อความแม่นและเวลาทีใช้ในการคํานวณ โดยถ้าหากเราแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์ขนาดเล็ก ผลเฉลยทีได้จะมีความแม่นสูงแต่ต้องใช้เวลาในการคํานวณค่อนข้างมาก ในทางกลับกันถ้าหาก เราแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์ขนาดโตกว่า ผลเฉลยทีได้จะมีความแม่นตําแต่สามารถคํานวณได้ อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เงือนไขในการกําหนดขนาดเอลิเมนต์ทีเหมาะสมกับปัญหาต่าง ๆ ยังคงเป็นประเด็นทีต้องมีการวิจัยเพิมเติมในปัจจุบัน ซึงจะถูกกล่าวถึงอีกครั#งในบทที 10 รูป 1.1 แสดงตัวอย่างของเอลิเมนต์อย่างง่ายทีสามารถนํามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา ต่าง ๆ ในหนึง สอง และสามมิติ อันประกอบด้วยเอลิเมนต์เชิงเส้นตรงหนึงมิติ เอลิเมนต์
  • 3. 3 รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง (triangular element) และเอลิเมนต์ทรงเหลียมสีหน้าเชิงเส้นตรง (tetrahedral element) ตามลําดับ อย่างไรก็ตาม สําหรับการวิเคราะห์ปัญหาด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรมเชิงพาณิชย์เราสามารถเลือกชนิดและกําลังของเอลิเมนต์ได้ มากกว่าทีแสดงในหนังสือเล่มนี# ซึงเป็นเนื#อหาทีอยู่นอกเหนือจากขอบเขตของหนังสือเล่มนี# และผู้อ่านสามารถศึกษารายละเอียดสมบัติของเอลิเมนต์ชนิดต่าง ๆ ได้จากคู่มือการใช้งานของ แต่ละโปรแกรม เอลิเมนต์เชิงเส้นตรงหนึงมิติ เอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง เอลิเมนต์ทรงเหลียมสีหน้าเชิงเส้นตรง รูป 1.1 ตัวอย่างเอลิเมนต์อย่างง่าย l 1 2 x 1 2 3 y x 1 2 3 y z 4
  • 4. 4 โดยภาพรวมของการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ร่วมกับตัวชี#วัดค่าความผิดพลาด (error estimator) และเทคนิคการสร้างตาข่ายแบบปรับตัวได้อัตโนมัติ (mesh adaptation) เพือให้ได้ผลเฉลยทีมีความแม่นสูงในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมนั#น จะประกอบด้วย 4 ขั#นตอนหลักดังแสดงในรูป 1.2 รูป 1.2 ขั#นตอนของการวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ Real problem Generate mesh Apply boundary conditions Apply loadings Create finite element equations Assemble elements Apply boundary conditionsApply loadings Solve algebraic equations Calculate nodal fluxes Adapt mesh Define conceptual model Pre-processing FEM solver Post-processing Estimate element errors Error acceptable? Stop YesNo
  • 5. 5 ขั#นตอนที 1 (Pre-processing) เป็นขั#นตอนการเตรียมแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์จาก ปัญหาจริง โดยเริมจากการเตรียมแบบจําลองเชิงแนวคิด (conceptual model) การสร้างตาข่าย การกําหนดเงือนไขขอบ และการระบุภาระทีมากระทํากับแบบจําลอง สําหรับโปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรมเชิงพาณิชย์โดยทัวไป เราสามารถเตรียมการขั#นตอนนี#ได้โดย อาศัยความสามารถด้านกราฟิกและการสร้างตาข่ายของโปรแกรม ขั#นตอนที 2 (FEM solver) เมือแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์เสร็จสมบูรณ์แล้ว ข้อมูล ทั#งหมดของแบบจําลองก็จะถูกส่งต่อให้กับโปรแกรมทีทําหน้าทีวิเคราะห์ปัญหา ซึงจะเริมด้วย การสร้างสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ให้กับแต่ละเอลิเมนต์ ระบุภาระทีมากระทํากับเอลิเมนต์ จากนั#นจึงทําการประกอบเอลิเมนต์ทั#งหมดเข้าด้วยกัน และกําหนดเงือนไขขอบ ซึงจะได้ระบบ สมการพีชคณิตของปัญหาทีสามารถหาผลเฉลยได้ด้วยวิธีเชิงตัวเลขทีกําหนด ขั#นตอนที 3 (Post-processing) เมือโปรแกรมได้ผลเฉลยทีจุดต่อแล้ว ลําดับถัดไปมักจะ เป็นการคํานวณหาค่าฟลักซ์ทีจุดต่อ (nodal flux) เพือการแสดงผลปริมาณทางฟิสิกส์ต่าง ๆ เช่น ปัญหาการถ่ายโอนความร้อน หมายถึง ปริมาณฟลักซ์ความร้อน หรือปัญหากลศาสตร์ของแข็ง หมายถึง ค่าความเค้นหรือค่าความเครียด ลําดับสุดท้ายจะเป็นขั#นตอนของการคํานวณหา ตัวชี#วัดค่าความผิดพลาดของโดเมน ขั#นตอนที 4 (Adaptivity) กรณีทีต้องการผลเฉลยทีมีความแม่นสูงขึ#น ให้ทําการ เปรียบเทียบค่าตัวชี#วัดค่าความผิดพลาดของโดเมนกับค่าความผิดพลาดทียอมรับได้ โดยถ้าหาก มีค่าตัวชี#วัดค่าความผิดพลาดของโดเมนมีค่ามากกว่าค่าความผิดพลาดทียอมรับได้ ก็ทําการ ประยุกต์เทคนิคการสร้างตาข่ายแบบปรับตัวได้อัตโนมัติ และกลับเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์ ใหม่อีกครั#ง แต่ในทางตรงกันข้ามให้สิ#นสุดการทํางานของโปรแกรม ส่วนการออกแบบโปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์โดยทัวไป จะมีขั#นตอนการออกแบบที สอดคล้องกับรูป 1.2 ข้างต้น ยกตัวอย่างเช่น การออกแบบโปรแกรม EasyFEM [7] ซึงเป็น โปรแกรมกราฟิกทีช่วยในการสร้างและวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ โดยอาศัย หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (object-oriented programming, OOP) ซึงสามารถอธิบาย โครงสร้างในภาพรวมของโปรแกรมได้ด้วยแผนภาพโคดและยัวร์ดอน (Coad and Yourdon diagram) [12,13] ดังแสดงในรูป 1.3 อันประกอบด้วย 4 ส่วนโปรแกรม (component) หลัก
  • 6. 6 ได้แก่ ส่วนโปรแกรมด้านกราฟิก ด้านตัวแก้ปัญหาด้วยไฟไนต์เอลิเมนต์ ด้านการจัดการ ข้อผิดพลาด และด้านการจัดการไฟล์รับ-ส่งข้อมูล รูป 1.3 โครงสร้างในภาพรวมของโปรแกรม EasyFEM รูป 1.4 แสดงโครงสร้างของข้อกําหนดทัวไปของคลาส (generalization-specification structure of classes) ซึงเป็นข้อกําหนดของวัตถุอันเป็นองค์ประกอบพื#นฐานทีสําคัญของ โปรแกรม ประกอบด้วยคลาสของวัตถุประเภทกราฟิก (Curve) เช่น จุด เส้นตรง หรือเส้นโค้ง วัตถุประเภทการแสดงผลภาพในสองมิติ (2DViz) เช่น เวกเตอร์ หรือเส้นชั#น วัตถุประเภทภาระ ทีมากระทํา (Load) เช่น ความเร็ว แรง อุณหภูมิ หรือปริมาณความร้อน วัตถุประเภทเงือนไข ขอบ (Constraint) เช่น การยึดแน่น ผนังขาเข้า หรือผนังขาออก และวัตถุประเภทการจัดการ 1 Boundary Curve 3,m 0,2 Point 2,4 0,m Element 0,m 1 Node 3 0,m Solution 1 1 Material Load Constraint 1 1,m 0,m 1 0,m 1 2DViz SolverControl Solver ErrorHandle 1 FileHandle 11 0,m 0,m
  • 7. 7 ไฟล์รับ-ส่งข้อมูล (FileHandle) ซึงคลาสเหล่านี#จะเป็นแผ่นแบบ (template) ทีโปรแกรมจะ นํามาสร้างวัตถุต่อไป รูป 1.4 โครงสร้างของข้อกําหนดทัวไปของคลาส Curve Line Arc Spline Load 2DViz FileHandle NodeL ElementL EdgeL Constraint NodeC EdgeC ModelFile FEFile TempFile Contour Fringe Vector Deform ParticleTracing
  • 8. 8 1.2 เปรียบเทียบการหาผลเฉลยแบบแม่นตรงและวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ หัวข้อนี#จะทําการเปรียบเทียบการหาผลเฉลยของปัญหาการถ่ายโอนความร้อนด้วยวิธี แบบแม่นตรง และวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ทั#งนี#เพือให้เห็นภาพของความแตกต่างระหว่างวิธี ทั#งสอง จึงขอยกตัวอย่างปัญหาการนําความร้อนในสองมิติของโดเมน )1,1()0,0( ×∈Ω และมี ความหนา m1=t ดังแสดงในรูป 1.5 ซึงสมการควบคุมของปัญหานี# คือ 02 2 2 2 = ∂ ∂ + ∂ ∂ y T T T (1.2-1) และเงือนไขขอบ C90o 1, ==yxT และ C0o ,10,,0 === === yxyxyx TTT (1.2-2) รูป 1.5 ตัวอย่างปัญหาการนําความร้อนในสองมิติ การแก้ปัญหาของสมการ (1.2-1) ในทางคณิตศาสตร์ขั#นสูงเราจะใช้วิธีการแยกตัวแปร (separation of variables) [14] โดยเริมต้นจากการแยกตัวแปร T ทีขึ#นกับตัวแปรอิสระ x และ y ออกจากกัน ดังนี# )()( yYxXT = (1.2-3) เมือแทนสมการ (1.2-3) ลงในสมการ (1.2-1) เราจะได้ 0= ′′ + ′′ Y Y X X (1.2-4) หรือ m1 C0o =T C0o =T C90o =T C0o =T x y m1
  • 9. 9 2 α−= ′′ −= ′′ Y Y X X (1.2-5) โดย 2 2 dx Xd X =′′ และ 2 2 dy Yd Y =′′ ดังนั#น สมการ (1.2-5) จึงสามารถแยกออกจากกันได้เป็น 2 สมการ นันคือ 02 =+′′ XX α (1.2-6) 02 =−′′ YY α (1.2-7) จากนั#นทําการแก้สมการทั#งสอง เราจะได้ผลเฉลยในรูปแบบทัวไปว่า )cos()sin( 21 xCxCX αα += (1.2-8) yy eDeDY αα − += 21 (1.2-9) เมือแทนสมการ (1.2-8) และ (1.2-9) กลับลงในสมการ (1.2-3) จะได้ผลเฉลยของอุณหภูมิใน รูปแบบทัวไป กล่าวคือ ( )( )yy eDeDxCxCT αα αα − ++= 2121 )cos()sin( (1.2-10) ค่าสัมประสิทธิpของสมการ (1.2-10) สามารถหาได้จากเงือนไขขอบ ดังนี# ( )( )yy yx eDeDCCT αα − = ++== 2121 o ,0 )0cos()0sin(C0 (1.2-11) 02 =∴C (1.2-12) ( )yy yx eDeDCT αα α − = +== 211 o ,1 )sin(C0 (1.2-13) K,3,2,1 0)sin( ==∴ = nnn πα α (1.2-14) ( )211 o 0, )sin(C0 DDxCT nyx +=== α (1.2-15) 21 DD −=∴ (1.2-16) ดังนั#น สมการ (1.2-10) จึงสามารถเขียนใหม่ได้ว่า ∑ ∞ = = 1 )sinh()sin( n nnn yxCT αα (1.2-17)
  • 10. 10 สุดท้ายค่าสัมประสิทธิp nC สามารถหาได้จากสมบัติการตั#งฉากของฟังก์ชันไซน์ (orthogonality property) ร่วมกับเงือนไขขอบ C90o 1, ==yxT ดังนี# ∑ ∫∫ ∞ = = = 1 1 0 1 0 1, )sin()sin()sinh()sin( n mnnnmyx dxxxCdxxT αααα (1.2-18) )sinh( )sin(902 )sin()sin()sinh()sin()( 1 0 1 1 0 1 0 n m n n mnnnm dxx C dxxxCxxT α α αααα ∫ ∑ ∫∫ =∴ = ∞ = (1.2-19) ดังนั#น ∑ ∫∞ = = 1 1 0 )sinh()sin( )sinh( )sin( 180 n nn n m yx dxx T αα α α (1.2-20) แต่เนืองจาก [ ] [ ]1)cos( 1 )cos( 1 )sin( 1 0 1 0 −−= −=∫ m m m m m xdxx α α α α α (1.2-21) ดังนั#น เราจะได้ว่า     = = =∫ K K ,5,3,1 2 ,4,2,00 )sin( 1 0 m m dxx m m α α (1.2-22) เมือกําหนดให้ตัวแปร nm = เราจะได้ผลเฉลยแบบแม่นตรงของปัญหานี# คือ ∑ ∞ = = 0 , )sinh( )sinh()sin( 360 n nn nn yx yx T αα αα (1.2-23) โดย πα )12( += nn รูป 1.6 แสดงเส้นชั#นผลเฉลยอุณหภูมิแบบแม่นตรงของสมการ (1.2-23) จะเห็นได้ว่า ขั#นตอนการหาผลเฉลยแบบแม่นตรงนั#นต้องอาศัยองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ขั#นสูง และ ถ้าหากมีการเปลียนแปลงเงือนไขขอบหรือรูปร่างของโดเมน เช่น ขอบบนของโดเมนถูกแก้ไข เป็นรูปทรงหลายเหลียม กรณีเช่นนี#การกําหนดเงือนไขขอบให้สอดคล้องกับสมการ (1.2-1) จะ
  • 11. 11 สามารถกระทําได้ยากมาก หรือสามารถกล่าวอีกนัยหนึงได้ว่ากรณีทีขอบโดเมนมีความ ซับซ้อน การกําหนดเงือนไขขอบเพือให้ได้สมการของผลเฉลยแบบแม่นตรงเพียงสมการเดียว ทีสามารถแสดงผลเฉลยทีสอดคล้องกันพอดีระหว่างผลเฉลยภายในและผลเฉลยทีขอบโดเมน นั#น จะสามารถกระทําได้ยากมากทีเดียว รูป 1.6 เส้นชั#นผลเฉลยอุณหภูมิแบบแม่นตรงของสมการ (1.2-23) รูป 1.7 การแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง ส่วนการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สําหรับแก้สมการ (1.2-1) และเงือนไขขอบ (1.2-2) จะประกอบด้วยขั#นตอน ดังนี# ขั-นตอนที 1 สําหรับปัญหาการนําความร้อนในโดเมนขนาด 2 m11× เราสามารถสร้าง แบบจําลองเชิงแนวคิดด้วยโปรแกรม EasyFEM โดยเริมต้นจากการสร้างรูปสีเหลียมจัตุรัส ขนาดความยาว m1 และแบ่งโดเมนด้วยเอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง เช่น กําหนดให้ใช้
  • 12. 12 เอลิเมนต์ขนาด m02.0 เราจะได้โดเมนทีประกอบด้วย 5000 เอลิเมนต์ดังแสดงในรูป 1.7 จากนั#นทําการประยุกต์เงือนไขขอบโดยกําหนดให้อุณหภูมิทีขอบซ้าย ขอบขวา และขอบล่าง เท่ากับ C0o ส่วนขอบบนกําหนดให้มีค่าเท่ากับ C90o ดังแสดงในรูป 1.8 ซึงขั#นตอนที 1 เป็น ขั#นตอนของการเตรียมแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์จากปัญหาจริง (Pre-processing) เพือส่งต่อ ให้กับตัววิเคราะห์ปัญหาต่อไป รูป 1.8 การประยุกต์เงือนไขขอบ ขั-นตอนที 2 จากนั#นข้อมูลทั#งหมดของแบบจําลองจะถูกส่งต่อให้กับโปรแกรมทีทําหน้าที วิเคราะห์ปัญหา (solver) ซึงรายละเอียดทั#งหมดจะปรากฏในบทที 4 อีกครั#ง สําหรับขั#นตอน โดยคร่าว ๆ ของการสร้างสมการไฟไนต์เอลิเมนต์สําหรับสมการ (1.2-1) เริมด้วยการประยุกต์ วิธีการถ่วงนํ#าหนักเศษตกค้างแบบกาเลอร์คินเข้ากับแต่ละเอลิเมนต์ด้วยการใช้ฟังก์ชันนํ#าหนัก iW ทีมีค่าเท่ากับฟังก์ชันการประมาณของเอลิเมนต์ iN ดังนี# 02 2 2 2 =Ω                 ∂ ∂ + ∂ ∂ ∫Ω dt y T x T Ne i (1.2-24) และเมือประยุกต์ทฤษฎีบทกรีน-เกาส์ (Green-Gauss theorem) เข้ากับสมการ (1.2-24) เราจะได้ สมการทีมีอันดับลดลง ได้แก่ Ω ∂ ∂ ∂ ∂ −Γ ∂ ∂ =Ω ∂ ∂ ∫∫∫ ΩΓΩ d x T k x N dn x T kNd x T kN eee i xii 2 2 (1.2-25) Ω ∂ ∂ ∂ ∂ −Γ ∂ ∂ =Ω ∂ ∂ ∫∫∫ ΩΓΩ d y T k y N dn y T kNd y T kN eee i yii 2 2 (1.2-26) 0.00E+000.00E+00 0.00E+00 0.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+000.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 0.00E+00 90.0.00E+0090.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.90.0.00E+00
  • 13. 13 โดย e Γ หมายถึง ขอบเอลิเมนต์ (element boundary) ส่วน xn และ yn หมายถึง องค์ประกอบ ของเวกเตอร์ขนาดหนึงหน่วย (unit vector) ตั#งฉากกับขอบเอลิเมนต์ e Γ ในทิศทางแกน x และ y ตามลําดับ จากนั#นแทนค่าสมการทั#งสองลงใน (1.2-24) และจัดพจน์เสียใหม่ เราจะได้ 0=Γ      ∂ ∂ + ∂ ∂ −Ω      ∂ ∂ ∂ ∂ + ∂ ∂ ∂ ∂ ∫∫ ΓΩ dtn y T n x T Ndt y T y N x T x N ee yxi ii (1.2-27) สําหรับปัญหานี#ไม่มีการกําหนดฟลักซ์ความร้อนในทิศทางตั#งฉากกับขอบโดเมน ดังนั#น พจน์สุดท้ายของสมการ (1.2-27) จึงเท่ากับศูนย์นันคือ 0=Ω      ∂ ∂ ∂ ∂ + ∂ ∂ ∂ ∂ ∫Ω dt y T y N x T x N e ii (1.2-28) ซึงเป็นสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ของสมการ (1.2-1) สําหรับเอลิเมนต์รูปสามเหลียมเชิงเส้นตรง และสมมติผลเฉลยแบบประมาณในรูปของฟังก์ชันการประมาณของเอลิเมนต์ เท่ากับ   e i ii T T T NNNTNT NT=           == ∑ = 3 2 1 321 3 1 (1.2-29) เมือแทนค่าสมการ (1.2-29) ลงในสมการ (1.2-28) เราสามารถแสดงสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ใน รูปแบบเมทริกซ์ ดังนี# ( ) 0TBBBB =Ω+∫Ω e y T yx T x dte (1.2-30) หรือสามารถเขียนในรูปแบบกระชับได้ว่า 0TK =ee c (1.2-31) โดย ( )           +++ +++ +++ = Ω+= ∫Ω 333323231313 323222221212 313121211111 4 ccbbccbbccbb ccbbccbbccbb ccbbccbbccbb A t dte y T yx T x e c BBBBK (1.2-32)
  • 14. 14 เราจะเห็นได้ว่าถึงแม้ว่าเส้นขอบของโดเมนจะเปลียนแปลงเป็นรูปทรงอืน หรือเงือนไขขอบถูก กําหนดด้วยค่าอุณหภูมิทีแตกต่างกันออกไป เรายังคงสามารถแก้สมการ (1.2-1) โดยใช้สมการ (1.2-31) ได้เช่นเดิม จากนั#นสมการ (1.2-31) จะถูกนํามาใช้ในการสร้างระบบสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ พร้อมทั#งระบุภาระทีมากระทํากับเอลิเมนต์ และเมือทําการต่อเอลิเมนต์ทั#งหมดเข้าด้วยกัน พร้อมกับการกําหนดเงือนไขขอบให้กับระบบสมการ เราจะได้ระบบสมการพีชคณิตทีสามารถ ใช้หาผลเฉลยด้วยวิธีเชิงตัวเลขทีกําหนดดังแสดงในรูป 1.9                 =                 =                 0 0 0 0 00 3 2 1 321 2333231 2232221 1131211 NNNNNN N N N T T T T kkkk kkkk kkkk kkkk M L MOMMM L L L รูป 1.9 ตัวอย่างระบบสมการพีชคณิต ขั-นตอนที 3 เมือทราบผลเฉลยทีจุดต่อ เราก็จะสามารถแสดงผลเฉลยดังกล่าวในรูปแบบ กราฟิก เช่น เส้นชั#นอุณหภูมิ หรือเวกเตอร์แสดงทิศทางการไหลของปริมาณฟลักซ์ความร้อน ดังแสดงในรูป 1.10 และ 1.11 ตามลําดับ รูป 1.12 แสดงการเปรียบเทียบผลเฉลยตลอดแนว 5.0=x ซึงผลเฉลยทีได้มีความแตกต่างกันน้อยมาก ดังนั#น เราจะเห็นได้ว่าผลเฉลยทีจุดต่อที ได้จะสามารถนํามาใช้ประโยชน์ในแง่ของการวิเคราะห์ได้อย่างสะดวกก็โดยอาศัย ความสามารถด้านกราฟิก เพราะการทีเราสามารถแปลงข้อมูลตัวเลขออกมาเป็นรูปแบบของ เส้นชั#น หรือเวกเตอร์ทีสามารถระบุค่าความต่างของผลเฉลยด้วยสีของเส้นชั#น หรือขนาดความ ยาวของเวกเตอร์ เป็นต้น จะช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์ผลเฉลยได้ง่ายขึ#นนอกจากนี# การทีเรา สามารถเปรียบเทียบผลเฉลยในรูปแบบของภาพกราฟิก จะมีส่วนช่วยให้เราสามารถทําความ เข้าใจถึงผลของรูปร่างของโครงสร้างทีทําการออกแบบว่าจะก่อให้เกิดผลอย่างไรเมือถูก นํามาใช้งาน ดังนั#น การศึกษาวิชาไฟไนต์เอลิเมนต์ในปัจจุบัน จึงมีความจําเป็นอย่างยิงทีเรา ต้องเรียนรู้ทั#งในภาคทฤษฎี และการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงานวิศวกรรม ควบคู่กันไป ดังนั#น เพือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด จึงขอแนะนําให้ผู้อ่านใช้โปรแกรม EasyFEM ประกอบกับหนังสือเล่มนี#
  • 15. 15 รูป 1.10 เส้นชั#นอุณหภูมิ รูป 1.11 เวกเตอร์แสดงฟลักซ์ความร้อน รูป 1.12 เปรียบเทียบผลเฉลยของอุณหภูมิตลอดแนว 5.0=x 0 0.25 0.5 0.75 1 0 15 30 45 60 75 90 FEM Exact y Co T
  • 16. 16 1.3 ตัวอย่างการประยุกต์วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ชิ#นส่วนในงานวิศวกรรมโดยส่วนใหญ่จะเป็นชิ#นส่วนทีมีความซับซ้อน ดังนั#น การ วิเคราะห์ค่าทางกลด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์จึงมีความจําเป็นอย่างมากต่องานด้านการออกแบบ ในปัจจุบัน เนืองจากสภาพการแข่งขันทีรุนแรงในภาคอุตสาหกรรม ดังนั#น วิศวกรจึงมีความ จําเป็นต้องออกแบบชิ#นส่วนต่าง ๆ ให้มีความแข็งแรง ปลอดภัยต่อการใช้งานตามมาตรฐานที สากลยอมรับ นอกจากนี#ยังต้องคํานึงถึงต้นทุนการผลิต เพือให้สามารถแข่งขันในตลาดได้อีก ด้วย ด้วยเหตุผลดังกล่าวการออกแบบในปัจจุบันจึงเป็นทั#งศาสตร์และศิลป์ ทีวิศวกรจําเป็นต้อง ประนีประนอมระหว่างหลักการทางวิศวกรรมในการออกแบบ ความสามารถในการผลิตด้วย กระบวนการทีต้นทุนไม่สูงมากนัก สามารถควบคุมคุณภาพกระบวนการผลิตได้ง่าย และใช้ เวลาในการผลิตไม่มาก ดังนั#น วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์จึงเป็นหนึงในทางเลือกทีวิศวกรนิยม นํามาใช้เป็นเครืองมือทีสําคัญในการออกแบบชิ#นส่วนในปัจจุบัน ตัวอย่างแรกเป็นการวิเคราะห์ปัญหาการรับแรงขนาด N250 ของแผ่นยึดขนาด 2 m5.05.0 × ทีมีความหนา m025.0 ดังแสดงในรูป 1.13 รูป 1.13 แบบจําลองของปัญหาแผ่นยึดรับแรงขนาด N250 รูป 1.14 แสดงการแบ่งโดเมนออกเป็นตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม ส่วนรูป 1.15 แสดงการกระจายตัวของความเค้นเฉือน (shear stress) และความเค้นฟอนมิสเซส (von Mises stress) และรูป 1.16 แสดงการเสียรูปจากแรงทีมากระทํา ซึงจะเห็นได้ว่าผลเฉลยทีได้ทําให้เรา สามารถทราบถึงความแข็งแรงของชิ#นส่วน และตําแหน่งของชิ#นส่วนทีรับแรงสูงทีสุด หรือ 250.250. 250. 250. 250. 250.
  • 17. 17 ตําแหน่งทีอ่อนแอทีสุด เป็นต้น ดังนั#น วิศวกรจึงสามารถทําการออกแบบซํ#าอีกครั#งเพือให้ได้ ชิ#นส่วนทีมีขนาดเหมาะสมทีสุดสําหรับการใช้งาน รูป 1.14 ตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม รูป 1.15 การกระจายตัวของความเค้น รูป 1.16 การเสียรูปของชิ#นส่วน
  • 18. 18 ตัวอย่างทีสองเป็นการวิเคราะห์ปัญหาความเค้นจากความร้อนของแผงระบายความ ร้อน (heat sink) บนตัวประมวลผล (CPU) ขนาด 3 m04.01.01.0 ×× ดังแสดงในรูป 1.17 โดย อุณหภูมิทีฐานกําหนดให้มีค่าเท่ากับ C80o และถูกระบายความร้อนด้วยอากาศทีอุณหภูมิ เท่ากับ C25o และ C)W/(m30 o2 ⋅=h ดังนั#น ความร้อนภายในแผงระบายความร้อนจะมี ทิศทางการกระจายตัวจากล่างขึ#นบน และส่งผลให้การกระจายตัวของอุณหภูมิสูงทีฐานมายัง ด้านบนซึงจะมีอุณหภูมิตํากว่า รูป 1.17 แบบจําลองของปัญหาความเค้นจากความร้อนของแผงระบายความร้อน รูป 1.18 ตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม รูป 1.19 การกระจายตัวของอุณหภูมิ
  • 19. 19 รูป 1.20 การกระจายตัวของความเค้นฟอนมิสเซสในขณะเสียรูป รูป 1.18 แสดงการแบ่งโดเมนออกเป็นตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม รูป 1.19 แสดงผล การกระจายตัวของอุณหภูมิในสถานะคงตัว ส่วนรูป 1.20 แสดงการกระจายตัวของความเค้น ฟอนมิสเซสในขณะเสียรูปเนืองจากผลของความร้อน ซึงการทีเราทราบกระจายตัวของอุณหภูมิ และการเสียรูปของแผงระบายความร้อน ทําให้เราสามารถออกแบบของแผงระบายความร้อนที มีขนาดเล็กทีสุด ใช้วัสดุน้อยทีสุด และยังสามารถระบายความร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามทีกําหนด ตัวอย่างสุดท้ายเป็นการวิเคราะห์ปัญหาการไหลแบบแลมินาร์ของอากาศผ่านบ้าน ประหยัดพลังงานขนาด 3 m51010 ×× ดังแสดงในรูป 1.21 เพือศึกษาลักษณะของการถ่ายเท อากาศภายในตัวบ้าน โดยเลขเรย์โนลดส์เมือวัดด้วยความยาวตัวบ้านเท่ากับ 100Re =L รูป 1.22 แสดงการแบ่งโดเมนออกเป็นตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม ส่วนรูป 1.23 และ 1.24 แสดง เวกเตอร์ความเร็วของอากาศตลอดทั#งโดเมน และรูปขยายเฉพาะส่วนทีไหลผ่านตัวบ้าน ตามลําดับ ซึงปัญหานี#จะทําให้เราทราบถึงพฤติกรรมการไหลของอากาศผ่านตัวบ้าน และจะ ช่วยให้เราสามารถออกแบบบ้านทีมีการระบายอากาศทีดี รูป 1.21 แบบจําลองของปัญหาการไหลแบบแลมินาร์ของอากาศผ่านบ้านประหยัดพลังงาน
  • 20. 20 รูป 1.22 ตาข่ายเอลิเมนต์รูปสามเหลียม รูป 1.23 เวกเตอร์ความเร็วของอากาศตลอดทั#งโดเมน รูป 1.24 เวกเตอร์ความเร็วของอากาศเฉพาะส่วนทีไหลผ่านตัวบ้าน
  • 21. 21 1.4 บทสรุป บทนี#ได้กล่าวถึงภาพรวมของวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ซึงเป็นวิธีเชิงตัวเลขทีช่วยในการแก้ สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย ซึงเป็นสมการควบคุมปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ทีเกิดขึ#นในธรรมชาติ ด้วยเทคนิคการประมาณค่าของผลเฉลย โดยทีหลักการสําคัญของวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สามารถ แบ่งออกได้เป็น 2 ประการ ดังนี# หลักการแรกเป็นหลักการการแบ่งโดเมนออกเป็นเอลิเมนต์ ขนาดเล็กทีวางเรียงตัวกันตลอดทั#งโดเมน โดยไม่มีการทับซ้อนกันของเอลิเมนต์ และหลักการ ทีสองเป็นหลักการของการสร้างสมการไฟไนต์เอลิเมนต์ซึงมีอยู่ด้วยกันหลายวิธี แต่วิธีทีได้รับ ความนิยมมากทีสุดก็คือ วิธีการถ่วงนํ#าหนักเศษตกค้างแบบกาเลอร์คิน สุดท้ายเราจะได้สมการ ไฟไนต์เอลิเมนต์ในรูปแบบของระบบสมการพีชคณิต ทีสามารถแก้ระบบสมการดังกล่าวด้วย วิธีเชิงตัวเลขทีเหมาะสมต่อไป นอกจากนี# วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ยังเป็นวิธีทีได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน ดังจะเห็นได้ว่าเป็นวิธีพื#นฐานทีถูกบรรจุลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยงาน วิศวกรรมเชิงพาณิชย์จํานวนมาก สุดท้ายเพือให้เห็นถึงประโยชน์ของการประยุกต์ใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ จึงได้แสดงผล ของตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง ปัญหาความเค้นจากความร้อน และปัญหา การไหลแบบแลมินาร์ของอากาศ ซึงจะเห็นว่าวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สามารถช่วยให้วิศวกรได้ เห็นถึงผลกระทบทางกลทีเกิดขึ#นกับโดเมนทีทําการวิเคราะห์ได้เป็นอย่างดี ซึงเราสามารถนํา ผลเฉลยทีได้มาใช้เป็นข้อมูลประกอบการออกแบบชิ#นส่วน หรือโครงสร้างทีมีความปลอดภัย แข็งแรง และมีต้นทุนการผลิตทีตําได้ต่อไป
  • 22. 22 เอกสารอ้างอิง [1] Strikwerda, J. C. Finite Difference Schemes and Partial Differential Equation. Second Edition. Philadelphia: SIAM, 2004. [2] Hoffman, J. D. Numerical Methods for Engineers and Scientists. Second Edition. New York: Marcel Dekker, 1992. [3] LeVeque,R.J.FiniteVolumeMethodsforHyperbolicProblems.NewYork:Cambridge University Press, 2004. [4] Versteeg, H. K., and Malalasekera, W. An Introduction to Computational Fluid Dynamics: The Finite Volume Method. Second Edition. UK: Prentice Hall, 2007. [5] Zienkiewicz, O. C., and Taylor, R. L. The Finite Element Method Vol. 1: The Basis. Fifth Edition. Oxford: Butterworth-Heinemann, 2000. [6] Dechaumphai, P. Finite Element Method: Fundamentals and Applications. Oxford: Alpha Science International, 2010. [7] Dechaumphai,P.,andPhongthanapanich,S.EasyFiniteElementMethodwithSoftware. Oxford: Alpha Science International, 2009. [8] http://www.ansys.com/Products [9] http://www.altairhyperworks.com/# [10] http://www.3ds.com/products-services/simulia/products/abaqus/latest-release/ [11] Shewchuck, J. R. An Introduction to the Conjugate Gradient Method without the Agonizing Pain. Pittsburgh: Carnegie Mellon University, August 1994. [12] Coad, P., and Yourdon, E. Object-Oriented Analysis. Second Edition. New Jersey: Prentice Hall, 1991. [13] Phongthanapanich, S., and Dechaumphai, P. EasyFEM - An Object-Oriented Graphics Interface Finite Element/Finite Volume Software. Advances in Engineering Software. Vol. 37. No. 12. 2006, pp. 797-804. [14] Bejan, A. Heat Transfer. New York: John Wiley & Sons, 1993.