SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
สถานการณ์ปัญหา 
(Problem-based learning) 
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็น นามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอนและช่วยในการ สรุปเนื้อหาที่สอน 
คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจ ถึงระบบ การทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติจานวน นักเรียน ทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษาเพื่อแสดงให้บุคลากรใน โรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ 
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียน เกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ 
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด
สถานการณ์ปัญหา 
(Problem-based learning) 
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่และเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติเวิล์ดไวด์เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการ สอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ ทางเครื่องพิมพ์ เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียน สามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการ เรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และ สามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่
สถานการณ์ปัญหา 
(Problem-based learning) 
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให้ผู้เรียน สามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ นามาใช้ได้ ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่ม ชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
ภารกิจ 
1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูแต่ละ คน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่ เลือกใช้ 
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ ความคิดรวบ ยอด(Concept) ของเรื่องที่สอนและช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูแดน 
แผนภูมิ เพราะแผนภูมิเป็นทัศนวัสดุที่ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ ตัวเลข และข้อความ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น ความต่อเนื่อง โดยแสดงความสัมพันธ์เหล่านั้น ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น มีประโยชน์ในการนามาใช้ในการเรียนการสอนที่ช่วย ประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียน ต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น และช่วยสร้างปัญหาและกระตุ้นให้ผู้เรียน ได้ใช้ความคิด นอกจากนี้ผู้สอนสามารถใช้แผนภูมิในการสรุปหรือทบทวน บทเรียน ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูแดน
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญ 
แสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้นความ ต่อเนื่อง 
ใช้ประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น 
กระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น 
และช่วยสร้างปัญหาและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด
การการออกแบบแผนภูมิเพื่อใช้ในการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบดังนี้ 
แผนภูมิแบบตาราง ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นในลักษณะตาราง เพื่อให้ดู แล้วเข้าใจได้ง่าย ส่วนมากจะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเช่นตารางสอน 
แผนภูมิแบบองค์การ และแบบกระบวนการ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงขั้นตอนหรือลาดับในการ ปฏิบัติงาน กระบวนการปฏิบัติขององค์กร กระบวนการจัดกิจกรรม 
แผนภูมิแบบต้นไม้และลาธาร เป็นแผนภูมิที่นาเสนอเรื่องราวที่เป็นภาพรวมหรือความคิดรวบยอด หรือต้น กาเนิดที่สามารถแยกย่อยออกไปหรือแตกสาขาออกไปเหมือนต้นไม้ ส่วนแบบลาธารเป็นการแสดงเนื้อหาที่ ให้เห็นส่วนย่อยหลายสาขาที่แยกออกจากต้นกาเนิดเดียวกัน 
แผนภูมิแบบวิวัฒนาการและแบบต่อเนื่อง เป็นการนาเสนอเรื่องราวในอดีตต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่ง แสดงได้ทั้งภาพและตัวอักษร โดยเน้นส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมตามลาดับ แผนภูมิแบบต่อเนื่องจะ แสดงสาระที่มีความต่อเนื่องกันเป็นทอดๆตามลาดับ 
แผนภูมิแบบอธิบายภาพ เป็นแผนภูมิที่ใช้สาหรับอธิบายส่วนต่างๆของภาพที่ต้องการโดยเขียนเส้นโยงกับ คาอธิบายสั้น
คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียน เข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูรุฑ 
แผนภาพ เพราะ แผนภาพเป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเค้าโรง ของวัตถุ โครงสร้างที่สาคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได้ดี การใช้แผนภาพ ถ้าใช้คู่กับของจริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การอธิบายส่วนประกอบ ของคอมพิวเตอร์ เราใช้แผนภาพโครงร่างของคอมพิวเตอร์ พร้อมกับแสดงของจริง เปรียบเทียบให้ดูด้วย ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูรุฑ
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญ 
อธิบายเรื่องราวที่ยากแก่การเข้าใจ 
แสดงให้เห็นความสาคัญของส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย 
แสดงให้เห็นกระบวนการของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เข้าใจง่ายขึ้น
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติ จานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูอั้ม 
แผนสถิติ เพราะ เป็นแผนภูมิที่ เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่าง จานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ เช่น จานวนนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น เป็นต้น 
ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูอั้ม 
แผนสถิติแบบแท่ง เป็นแผนสถิติที่ทาง่ายและ อ่าน เข้าใจง่ายกว่าแบบอื่น เหมาะสาหรับเปรียบเทียบ ข้อมูล หลายชนิด มีลักษณะความยาวของแท่งปริมาณข้อมูล ถ้าข้อมูลน้อย แท่งจะสั้น ถ้าข้อมูลมากแท่งจะยาว ความ กว้างมีขนาดเท่ากัน แกนตั้งและแกนนอน จะ เปรียบเทียบข้อมูล 2 ประเภทที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน
แผน สถิติแบบวงกลม เป็นแผนสถิติที่แสดง ให้ เห็นปริมาณหรือจานวนข้อมูลส่วนรวมทั้งหมด กับส่วนย่อย โดยแบ่งมุมที่จุดศูนย์กลางของ วงกลมออกเป็นองศาตามสัดส่วนของจานวน ข้อมูลที่แสดง เช่น การแสดงรายจ่ายของ นักศึกษาประจาเดือน เป็นต้น 
แผนสถิติแบบรูปภาพ เป็นแผนสถิติแบบแท่งอีก ประเภทหนึ่ง แต่ใช้รูปภาพแทนแท่งในการแสดง จานวนหรือปริมาณของ ข้อมูล โดยกาหนด สัดส่วนปริมาณของข้อมูล: รูปภาพ 1 รูป 
ตัวอย่างแผนสถิติแบบวงกลม
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ 
การ์ตูน เพราะการ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราวต่างๆตลอดจน สามารถ ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดซึ่งเป็นการล้อเลียนแสดงอารมณ์ขัน โดยทั่วไปการ์ตูนอาจทาให้ ผิดเพี้ยนไปจากธรรมชาติของ ความเป็นของสิ่งนั้นๆ มากบ้างน้อยบ้าง เพื่อให้ดูแล้วเกิดความสนใจ และความ สนุกสนาน ภาพการ์ตูนส่วนใหญ่จึงเป็นภาพที่เขียนง่ายๆ ปัจจุบันการ์ตูนเป็นที่นิยมใช้กันมากในการสื่อความหมาย เพราะการ์ตูนเป็นสื่อที่เหมาะสาหรับ ถ่ายทอดความคิด ทั้งในด้านการเมือง การศึกษา ศาสนา การประชาสัมพันธ์ เป็นต้นซึ่งสอดคล้องกับความ ต้องการของคุณครูพอลล่า 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูพอลล่า
การ์ตูน สามารถนาไปใช้ได้หลายลักษณะดังนี้ 
• ใช้นาเข้าสู่บทเรียน เพราะการ์ตูนจะช่วยเร้าความสนใจและดึงดูดให้ผู้เรียน สนใจใน กิจกรรมการเรียนนั้น 
• ใช้ในการอธิบายเรื่องราวต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย ในการ เรียน และเกิดการเรียนรูได้ดีเพราะมีภาพประกอบ ทาให้สิ่งที่เป็นนามธรรม เป็นรูปธรรมที่ น่าสนใจ 
• ใช้สรุปบทเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจาในเนื้อหาบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น 
• ใช้การ์ตูนกับการเรียนเป็นรายบุคคล ช่วยเด็กที่มีความสามารถทางการเรียนต่า เพราะ การ์ตูนจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจและมีความต้องการที่จะศึกษาเพิ่มขึ้น 
• ใช้การ์ตูนประกอบการศึกษา เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน และ การศึกษา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวน ให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด 
ภาพโฆษณา เพราะภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ ข้อความ หรือเรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให้ ผู้เปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณานั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม เช่น การ รณรงค์การทิ้งขยะมูลฝอย การรักษาความสะอาด หรือการงดสูบบุหรี่ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด และการวางแผนครอบครัว เป็นต้น 
ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูศรราม 
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูพอลล่า
วัตถุประสงค์ในการผลิตภาพโฆษณา 
• ให้คาแนะนาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 
• เชิญชวนให้บุคคลร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานจัดขึ้น 
• เพื่อสร้างความทรงจาให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย 
• เพื่อเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหรือสรุปเหตุการณ์ที่ผ่านมา 
• เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน 
• เพื่อรณรงค์ให้บุคคลร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่หน่วยงาน จัดขึ้นซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมและสังคม
ลักษณะภาพโฆษณา (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545) 
• มีแนวคิดเดียว มีลักษณะที่เข้าใจง่าย สามารถสื่อความหมายได้ทันที ไม่ต้องเสียเวลา ในการพิจารณา ทาความเข้าใจเลย จะเป็นการสูญเปล่า 
• สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการจัดทา มีการจัดองค์ประกอบ เหมาะสมทั้งขนาด และรูปภาพประกอบตัวอักษร สัญลักษณ์มีความ สอดคล้องกัน คือ รูปภาพ ข้อความสั้น ที่กะทัดรัด ชัดเจน เพื่อช่วยให้ เข้าใจได้ง่าย 
• ดึงดูดความสนใจของผู้ดู มีความแปลกใหม่น่าสนใจ มีการโน้มน้าว เชิญชวนที่พึงกระทาตามเช่น หญิงก็ได้ ชายก็ดี มีแค่สอง
ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะ ของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระ การเรียนรู้วิชาเอกของคุณ 
ในที่นี้กลุ่มเราจะขอนาเสนอการออกแบบการนาเสนอข้อมูล 
เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ Social network
การออกแบบการ นาเสนอข้อมูลโดย ใช้ป้ายนิเทศ 
สถิติเกี่ยวกับ Social Network 
โดยใช้เนื้อหาด้วยภาพ 
วัสดุ ตัวอักษร 
ใช้ข้อความบรรยายที่น่าสนใจ และข้อมูลที่สาคัญ วางไว้ ตาแหน่งมุมซ้ายด้านบน 
ใช้โทนสีพื้นหลังในแต่ละหัวข้อโดย ยึดหลักโทนสีร้อน ซึ่งเป็นสีที่ดึงดูด ทาให้รู้สึกว่าสิ่งนั้นอยู่ใกล้ โทนสีเย็น ให้ความรู้สึกที่อยู่ไกล 
ใช้สีตัวอักษรให้เหมาะสม กับสีพื้นหลัง 
ใช้แผนสถิติแบบแท่ง เพื่อเปรียบเทียบข้อมูล หลายชนิด และแผนสถิติ แบบวงกลม เพื่อแสดง จานวนข้อมูลส่วนรวม ทั้งหมดกับส่วนย่อย
การใช้ Social Network 
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลต่อการ ติดต่อสื่อสารของมนุษย์เป็นอย่างมากโดยเฉพาะในสังคมของวัยรุ่นที่ มีการใช้ Social Network ซึ่งเข้ามามีอิทธิพลต่อการดารงชีวิต 
จากการสารวจนักเรียนชั้น ม.3 ทั้งหมด35คน พบว่า - ใช้ MSN จานวน 10 คน - ใช้ Twitter จานวน 8 คน - ใช้ Hi5 จานวน 4 คน -ใช้ Facebook จานวน 13 คน 
จากการสารวจนักเรียนชั้น ม.3 ทั้งหมด 35คน พบว่า - จานวนผู้ใช้ MSN คิดเป็นร้อยละ 28.57 - จานวนผู้ใช้ Twitter คิดเป็นร้อยละ 22.86 - จานวนผู้ใช้ Hi5 คิดเป็นร้อยละ 11.43 -จานวนผู้ใช้ Facebook คิดเป็นร้อยละ 37.14 
ใช้สีโทนร้อน 
หัวข้อสาคัญอยู่มุมซ้ายบน 
ใช้แผนสถิติในการนาเสนอ 
ใช้พื้นหลังเป็นสีโทนเย็น และเลือกสีตัวอักษรให้เหมาะสม
นางสาวศศิธร แซ่จิว 563050139-1 
นายเสฏฐวุฒิ เรืองบุญ 563050152-9 
นางสาวณัฐฐาพร บาอุ้ย 563050087-4 
จัดทาโดย 
อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร 
เสนอ

More Related Content

What's hot

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์N'Ice Thnaphop
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรsirato2539
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Thanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimchanok Turapat
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้IctRachanok Songsang
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...HeroFirst BirdBird
 

What's hot (20)

หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
1
1 1
1
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Viewers also liked

นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษาAmu P Thaiying
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนlalidawan
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาWanlayaa
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 

Viewers also liked (6)

นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to นวัตกรรมบทที่ 8

โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ksm' Oom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ksm' Oom
 
ใบงานคอม 2 8
ใบงานคอม 2  8ใบงานคอม 2  8
ใบงานคอม 2 8theerajet
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานTanyaporn Puttawan
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนjanepi49
 
การผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษา
การผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษาการผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษา
การผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษาJaengJy Doublej
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8TupPee Zhouyongfang
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Phkphoom
 

Similar to นวัตกรรมบทที่ 8 (20)

Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบงานคอม 2 8
ใบงานคอม 2  8ใบงานคอม 2  8
ใบงานคอม 2 8
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
การผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษา
การผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษาการผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษา
การผลิตสื่อกราฟิคเพื่อการศึกษา
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
3 120719083921-phpapp01
3 120719083921-phpapp013 120719083921-phpapp01
3 120719083921-phpapp01
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Setthawut Ruangbun

นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7Setthawut Ruangbun
 
สื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวย
สื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวยสื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวย
สื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวยSetthawut Ruangbun
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 

More from Setthawut Ruangbun (19)

นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Minion and conic section
Minion and conic sectionMinion and conic section
Minion and conic section
 
สื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวย
สื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวยสื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวย
สื่อการเรียนรู้ ภาคตัดกรวย
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
งานบทที่ 2
งานบทที่ 2งานบทที่ 2
งานบทที่ 2
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
 

นวัตกรรมบทที่ 8

  • 2. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็น นามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอนและช่วยในการ สรุปเนื้อหาที่สอน คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจ ถึงระบบ การทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติจานวน นักเรียน ทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษาเพื่อแสดงให้บุคลากรใน โรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียน เกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด
  • 3. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่และเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติเวิล์ดไวด์เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการ สอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตนหรือสั่งพิมพ์ ทางเครื่องพิมพ์ เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียน สามารถกาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการ เรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และ สามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่
  • 4. สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning) โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให้ผู้เรียน สามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่ สามารถแก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถ นามาใช้ได้ ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่ม ชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 5. ภารกิจ 1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูแต่ละ คน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่ เลือกใช้ คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ ความคิดรวบ ยอด(Concept) ของเรื่องที่สอนและช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน
  • 6. สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการของคุณครูแดน แผนภูมิ เพราะแผนภูมิเป็นทัศนวัสดุที่ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ ตัวเลข และข้อความ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น ความต่อเนื่อง โดยแสดงความสัมพันธ์เหล่านั้น ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น มีประโยชน์ในการนามาใช้ในการเรียนการสอนที่ช่วย ประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียน ต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น และช่วยสร้างปัญหาและกระตุ้นให้ผู้เรียน ได้ใช้ความคิด นอกจากนี้ผู้สอนสามารถใช้แผนภูมิในการสรุปหรือทบทวน บทเรียน ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูแดน
  • 7. คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญ แสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้นความ ต่อเนื่อง ใช้ประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น กระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น และช่วยสร้างปัญหาและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด
  • 8. การการออกแบบแผนภูมิเพื่อใช้ในการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบดังนี้ แผนภูมิแบบตาราง ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นในลักษณะตาราง เพื่อให้ดู แล้วเข้าใจได้ง่าย ส่วนมากจะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเช่นตารางสอน แผนภูมิแบบองค์การ และแบบกระบวนการ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงขั้นตอนหรือลาดับในการ ปฏิบัติงาน กระบวนการปฏิบัติขององค์กร กระบวนการจัดกิจกรรม แผนภูมิแบบต้นไม้และลาธาร เป็นแผนภูมิที่นาเสนอเรื่องราวที่เป็นภาพรวมหรือความคิดรวบยอด หรือต้น กาเนิดที่สามารถแยกย่อยออกไปหรือแตกสาขาออกไปเหมือนต้นไม้ ส่วนแบบลาธารเป็นการแสดงเนื้อหาที่ ให้เห็นส่วนย่อยหลายสาขาที่แยกออกจากต้นกาเนิดเดียวกัน แผนภูมิแบบวิวัฒนาการและแบบต่อเนื่อง เป็นการนาเสนอเรื่องราวในอดีตต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่ง แสดงได้ทั้งภาพและตัวอักษร โดยเน้นส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมตามลาดับ แผนภูมิแบบต่อเนื่องจะ แสดงสาระที่มีความต่อเนื่องกันเป็นทอดๆตามลาดับ แผนภูมิแบบอธิบายภาพ เป็นแผนภูมิที่ใช้สาหรับอธิบายส่วนต่างๆของภาพที่ต้องการโดยเขียนเส้นโยงกับ คาอธิบายสั้น
  • 9. คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียน เข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูรุฑ แผนภาพ เพราะ แผนภาพเป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเค้าโรง ของวัตถุ โครงสร้างที่สาคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได้ดี การใช้แผนภาพ ถ้าใช้คู่กับของจริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การอธิบายส่วนประกอบ ของคอมพิวเตอร์ เราใช้แผนภาพโครงร่างของคอมพิวเตอร์ พร้อมกับแสดงของจริง เปรียบเทียบให้ดูด้วย ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูรุฑ
  • 11. คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติ จานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
  • 12. สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูอั้ม แผนสถิติ เพราะ เป็นแผนภูมิที่ เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่าง จานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ เช่น จานวนนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูอั้ม แผนสถิติแบบแท่ง เป็นแผนสถิติที่ทาง่ายและ อ่าน เข้าใจง่ายกว่าแบบอื่น เหมาะสาหรับเปรียบเทียบ ข้อมูล หลายชนิด มีลักษณะความยาวของแท่งปริมาณข้อมูล ถ้าข้อมูลน้อย แท่งจะสั้น ถ้าข้อมูลมากแท่งจะยาว ความ กว้างมีขนาดเท่ากัน แกนตั้งและแกนนอน จะ เปรียบเทียบข้อมูล 2 ประเภทที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน
  • 13. แผน สถิติแบบวงกลม เป็นแผนสถิติที่แสดง ให้ เห็นปริมาณหรือจานวนข้อมูลส่วนรวมทั้งหมด กับส่วนย่อย โดยแบ่งมุมที่จุดศูนย์กลางของ วงกลมออกเป็นองศาตามสัดส่วนของจานวน ข้อมูลที่แสดง เช่น การแสดงรายจ่ายของ นักศึกษาประจาเดือน เป็นต้น แผนสถิติแบบรูปภาพ เป็นแผนสถิติแบบแท่งอีก ประเภทหนึ่ง แต่ใช้รูปภาพแทนแท่งในการแสดง จานวนหรือปริมาณของ ข้อมูล โดยกาหนด สัดส่วนปริมาณของข้อมูล: รูปภาพ 1 รูป ตัวอย่างแผนสถิติแบบวงกลม
  • 14. คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ การ์ตูน เพราะการ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราวต่างๆตลอดจน สามารถ ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดซึ่งเป็นการล้อเลียนแสดงอารมณ์ขัน โดยทั่วไปการ์ตูนอาจทาให้ ผิดเพี้ยนไปจากธรรมชาติของ ความเป็นของสิ่งนั้นๆ มากบ้างน้อยบ้าง เพื่อให้ดูแล้วเกิดความสนใจ และความ สนุกสนาน ภาพการ์ตูนส่วนใหญ่จึงเป็นภาพที่เขียนง่ายๆ ปัจจุบันการ์ตูนเป็นที่นิยมใช้กันมากในการสื่อความหมาย เพราะการ์ตูนเป็นสื่อที่เหมาะสาหรับ ถ่ายทอดความคิด ทั้งในด้านการเมือง การศึกษา ศาสนา การประชาสัมพันธ์ เป็นต้นซึ่งสอดคล้องกับความ ต้องการของคุณครูพอลล่า สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูพอลล่า
  • 15. การ์ตูน สามารถนาไปใช้ได้หลายลักษณะดังนี้ • ใช้นาเข้าสู่บทเรียน เพราะการ์ตูนจะช่วยเร้าความสนใจและดึงดูดให้ผู้เรียน สนใจใน กิจกรรมการเรียนนั้น • ใช้ในการอธิบายเรื่องราวต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย ในการ เรียน และเกิดการเรียนรูได้ดีเพราะมีภาพประกอบ ทาให้สิ่งที่เป็นนามธรรม เป็นรูปธรรมที่ น่าสนใจ • ใช้สรุปบทเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจาในเนื้อหาบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น • ใช้การ์ตูนกับการเรียนเป็นรายบุคคล ช่วยเด็กที่มีความสามารถทางการเรียนต่า เพราะ การ์ตูนจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจและมีความต้องการที่จะศึกษาเพิ่มขึ้น • ใช้การ์ตูนประกอบการศึกษา เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน และ การศึกษา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
  • 16. คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวน ให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด ภาพโฆษณา เพราะภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ ข้อความ หรือเรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให้ ผู้เปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณานั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม เช่น การ รณรงค์การทิ้งขยะมูลฝอย การรักษาความสะอาด หรือการงดสูบบุหรี่ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด และการวางแผนครอบครัว เป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูศรราม สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ ความต้องการของคุณครูพอลล่า
  • 17. วัตถุประสงค์ในการผลิตภาพโฆษณา • ให้คาแนะนาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • เชิญชวนให้บุคคลร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานจัดขึ้น • เพื่อสร้างความทรงจาให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย • เพื่อเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหรือสรุปเหตุการณ์ที่ผ่านมา • เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน • เพื่อรณรงค์ให้บุคคลร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่หน่วยงาน จัดขึ้นซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมและสังคม
  • 18. ลักษณะภาพโฆษณา (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545) • มีแนวคิดเดียว มีลักษณะที่เข้าใจง่าย สามารถสื่อความหมายได้ทันที ไม่ต้องเสียเวลา ในการพิจารณา ทาความเข้าใจเลย จะเป็นการสูญเปล่า • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการจัดทา มีการจัดองค์ประกอบ เหมาะสมทั้งขนาด และรูปภาพประกอบตัวอักษร สัญลักษณ์มีความ สอดคล้องกัน คือ รูปภาพ ข้อความสั้น ที่กะทัดรัด ชัดเจน เพื่อช่วยให้ เข้าใจได้ง่าย • ดึงดูดความสนใจของผู้ดู มีความแปลกใหม่น่าสนใจ มีการโน้มน้าว เชิญชวนที่พึงกระทาตามเช่น หญิงก็ได้ ชายก็ดี มีแค่สอง
  • 19. ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะ ของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระ การเรียนรู้วิชาเอกของคุณ ในที่นี้กลุ่มเราจะขอนาเสนอการออกแบบการนาเสนอข้อมูล เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ Social network
  • 20. การออกแบบการ นาเสนอข้อมูลโดย ใช้ป้ายนิเทศ สถิติเกี่ยวกับ Social Network โดยใช้เนื้อหาด้วยภาพ วัสดุ ตัวอักษร ใช้ข้อความบรรยายที่น่าสนใจ และข้อมูลที่สาคัญ วางไว้ ตาแหน่งมุมซ้ายด้านบน ใช้โทนสีพื้นหลังในแต่ละหัวข้อโดย ยึดหลักโทนสีร้อน ซึ่งเป็นสีที่ดึงดูด ทาให้รู้สึกว่าสิ่งนั้นอยู่ใกล้ โทนสีเย็น ให้ความรู้สึกที่อยู่ไกล ใช้สีตัวอักษรให้เหมาะสม กับสีพื้นหลัง ใช้แผนสถิติแบบแท่ง เพื่อเปรียบเทียบข้อมูล หลายชนิด และแผนสถิติ แบบวงกลม เพื่อแสดง จานวนข้อมูลส่วนรวม ทั้งหมดกับส่วนย่อย
  • 21. การใช้ Social Network ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลต่อการ ติดต่อสื่อสารของมนุษย์เป็นอย่างมากโดยเฉพาะในสังคมของวัยรุ่นที่ มีการใช้ Social Network ซึ่งเข้ามามีอิทธิพลต่อการดารงชีวิต จากการสารวจนักเรียนชั้น ม.3 ทั้งหมด35คน พบว่า - ใช้ MSN จานวน 10 คน - ใช้ Twitter จานวน 8 คน - ใช้ Hi5 จานวน 4 คน -ใช้ Facebook จานวน 13 คน จากการสารวจนักเรียนชั้น ม.3 ทั้งหมด 35คน พบว่า - จานวนผู้ใช้ MSN คิดเป็นร้อยละ 28.57 - จานวนผู้ใช้ Twitter คิดเป็นร้อยละ 22.86 - จานวนผู้ใช้ Hi5 คิดเป็นร้อยละ 11.43 -จานวนผู้ใช้ Facebook คิดเป็นร้อยละ 37.14 ใช้สีโทนร้อน หัวข้อสาคัญอยู่มุมซ้ายบน ใช้แผนสถิติในการนาเสนอ ใช้พื้นหลังเป็นสีโทนเย็น และเลือกสีตัวอักษรให้เหมาะสม
  • 22. นางสาวศศิธร แซ่จิว 563050139-1 นายเสฏฐวุฒิ เรืองบุญ 563050152-9 นางสาวณัฐฐาพร บาอุ้ย 563050087-4 จัดทาโดย อ.ดร.อนุชา โสมาบุตร เสนอ