SlideShare a Scribd company logo
การผลิตสื่อกราฟิก
เพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน
การออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ที่คลินิก รับ
ปรึกษาปัญหาการผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามา
ปรึกษากับคุณ ซึ่งประกอบด้วย
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2
สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้
นักเรียนได้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วย
ในการสรุปเนื้อหาที่สอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอน
วันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทา
งานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทา
หน้าที่การสรุปสถิติจานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดง
ให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการ
เร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิด
จินตนาการ
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการ
ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียน
ห่างไกลยาเสพย์ติด
……………………………
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความ
ต้องการของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการ
เลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
คุณครูแดน
แผนภูมิ เป็นทัศนวัสดุที่ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ ตัวเลข
และข้อความ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น
ความต่อเนื่อง โดยแสดงความสัมพันธ์เหล่านั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น มีประโยชน์ในการ
นามาใช้ในการเรียนการสอนที่ช่วยประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น
ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น และช่วยสร้างปัญหา
และกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด นอกจากนี้ผู้สอนสามารถใช้แผนภูมิในการสรุปหรือ
ทบทวนบทเรียน ในปัจจุบันมีการการออกแบบแผนภูมิเพื่อใช้ในการเรียนการสอนใน
หลายรูปแบบ เช่น แผนภูมิแบบตาราง แผนภูมิแบบองค์การ แผนภูมิแบบต้นไม้และลา
ธาร แผนภูมิแบบวิวัฒนาการและแบบต่อเนื่อง แผนภูมิแบบอธิบายภาพ
ภารกิจที่ 1
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับ
คุณครูแดน ต้องการ
น า เ ส น อ เ นื้ อ ห า ที่ มี
ความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้น
ไป และเนื้อหามีความเป็น
นามธรรม ที่ครูแดนต้องการ
ให้นักเรียนได้ความคิดรวบ
ยอด(Concept) ของเรื่องที่
สอน และช่วยในการสรุป
เนื้อหาที่สอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
คุณครูรุท
แผนภาพ เป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่
แสดงเค้าโรงของวัตถุ โครงสร้างที่สาคัญของสิ่งที่เราจะอธิบาย
ให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได้ดี การใช้แผนภาพถ้าใช้คู่กับ
ของจริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การอธิบายส่วนประกอบ
ของคอมพิวเตอร์เราใช้แผนภาพโครงร่างของคอมพิวเตอร์ พร้อม
กับแสดงของจริงเปรียบเทียบให้ดูด้วย
ภารกิจที่ 1
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ประโยชน์ของแผนภาพ
- อธิบายเรื่องราวที่ยากแก่การเข้าใจ
- แสดงให้เห็นความสาคัญของส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย
- แสดงให้เห็นกระบวนการของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เข้าใจง่ายขึ้น
ภารกิจที่ 1
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรง
กับคุณครูรุท เป็นครู
สอนวิชาคอมพิวเตอร์และ
ในการสอนต้องการให้
นักเรียนเข้าใจถึงระบบ
การทางานของระบบการ
ทางานของคอมพิวเตอร์
และส่วนประกอบของ
คอมพิวเตอร์
ภารกิจที่ 1
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
คุณครูอั้ม
แผนสถิติ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการ
เปรียบเทียบระหว่างจานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ เช่น จานวน
นักเรียนในแต่ละปีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
ในแต่ละระดับชั้น เป็นต้น รูปแบบที่ใช้ในการเรียนการสอน เช่น
แผนสถิติแบบเส้น แผนสถิติแบบแท่ง แผนสถิติแบบวงกลม และ
แผนสถิติแบบรูปภาพ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับคุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ที่
จะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติจานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6)
และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้
บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
คุณครูพอลล่า
การ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราว
ต่างๆตลอดจน สามารถ
ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดซึ่งเป็นการล้อเลียน
แสดงอารมณ์ขัน โดยทั่วไป การ์ตูนอาจทาให้ผิดเพี้ยนไปจาก
ธรรมชาติของความเป็นของสิ่งนั้นๆ มากบ้างน้อยบ้าง เพื่อให้ดูแล้ว
เกิดความสนใจ และความสนุกสนาน ภาพการ์ตูนส่วนใหญ่จึงเป็น
ภาพที่เขียนง่ายๆ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับคุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับ
อนุบาล ที่ต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความ
สนุกสนานและเกิดจินตนาการ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
คุณครูศรราม
ภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ
ข้อความ หรือเรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้น
ให้ ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพ
โฆษณา นั้นๆอาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม เช่น การรณรงค์การ
ทิ้งขยะมูลฝอย การรักษาความสะอาด หรือการงดสูบบุหรี่
รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด และการวางแผนครอบครัว เป็นต้น
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 1
ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับคุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ที่
ต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้
นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะ
ของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการ
เรียนรู้วิชาเอกของคุณ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
สาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
1) แผนภูมิ (Charts)
แผนภูมิเป็นวัสดุประเภทกราฟิก ซึ่งมี
องค์ประกอบที่สาคัญ คือ สัญลักษณ์
รูปภาพ และตัวอักษร ใช้ประกอบ
การบรรยาย ชี้แจง สรุปสาระสาคัญ
เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อแผนภูมิ
ได้แก่ การเปรียบเทียบ ความต่อเนื่อง
กระบวนการ ความสัมพันธ์ ขั้นตอน
เป็นต้น
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 แผนภูมิ
ลักษณะแผนภูมิที่ดี
1. เป็นแบบง่ายและแสดงแนวคิดเดียว
2. ขนาดใหญ่ อ่านง่าย ไม่แน่นเกินไป
3. ใช้สีเพื่อการเน้นเป็นสาคัญ
4. ภาพประกอบต้องเหมาะสม น่าสนใจ
5. เนื้อหาถูกต้องตามความเป็นจริง
6. เนื้อหาและคาบรรยายชัดเจน อ่านง่าย
7. มีการทบทวนในการใช้งานและการเก็บรักษา
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 แผนภูมิ
เทคนิคการนาเสนอ
1. แผนภูมิต้องตรงกับเนื้อหา
2. ต้องติดตั้งหรือแขวนให้เรียบร้อย
3. อธิบายตามลาดับขั้นอย่างต่อเนื่อง
4. ขณะใช้แผนภูมิต้องหันหน้าเข้าหาผู้เรียน
5. จุดสนใจควรเน้นด้วยสี ขนาด การปิด-เปิด
6. ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอ
7. การชี้แผนภูมิควรใช้ไม้หรือวัสดุชี้
8. สามารถใช้ประกอบกับสื่ออื่น ๆ ได้
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
2) แผนสถิติ (Graph)
แผนสถิติเป็นวัสดุลายเส้นที่เน้นการ
สื่อความหมายในเชิงปริมาณและตัวเลข แผน
สถิติแต่ละเรื่องควรแจ้งที่มา
ของข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสร้างความเชื่อถือ และ
เปิดโอกาสให้ศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ง่ายขึ้น
เนื้อหาที่เหมาะสมกับแผนสถิติ ได้แก่
ข้อมูลเชิงปริมาณ การเปรียบเทียบ
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
ลักษณะแผนสถิติที่ดี
1. ตัวอักษร เส้น สี ต้องชัดเจน น่าสนใจ
2. มีลักษณะดูแล้วเข้าใจง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
3. แสดงแหล่งที่มาของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
4. ควรนาเสนอในลักษณะเปรียบเทียบหรือแสดงความสัมพันธ์
ของข้อมูล
5. แสดงขอมูลในลักษณะประมาณมิใช่เน้นความถี่ของข้อมูล
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
3) แผนภาพ (Diagrams)
แผนภาพเป็นทัศนวัสดุอย่างหนึ่งที่แสดง
ให้เห็นส่วนประกอบต่าง ๆ ของสิ่งของ
หรือของระบบการทางาน เช่น การ
ทางานของลูกสูบรถยนต์ เครื่องกรอง
น้า ส่วนประกอบของดอกไม้ เป็นต้น
เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อ
แผนภาพ ได้แก่ กระบวนการ
ความสัมพันธ์ ส่วนประกอบต่าง ๆ
หรือโครงสร้างภายใน เป็นต้น
ภารกิจที่ 2
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 แผนภาพ
ลักษณะแผนภาพที่ดี
1. มีรูปแบบง่าย ๆ แสดงแนวความคิดเดียว
2. ขนาดใหญ่พอสมควร รูปภาพ ตักอักษร อ่านได้ชัดเจน
3. ใช้สีแสดงความแตกต่างและความเหมือนกันเพื่อแสดง
ความหมายให้ชัดเจน
4. ควรใช้รูปภาพ สัญลักษณ์มากกว่าตัวหนังสือ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 แผนภาพ
เทคนิคการนาเสนอ
1. การใช้แผนภาพผู้เรียนต้องมีพื้นฐานความรู้ในเรื่องนั้นก่อน
2. ควรใช้โสตทัศนวัสดุอื่น ๆ ที่เหมาะสมประกอบ เช่น รูปภาพ ของจริง
ภาพยนตร์ เป็นต้น
3. แผนภาพจะต้องมีคาอธิบาย จะช่วยป้องกันการสับสนของผู้เรียน
4. ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสมอ
5. ควรจัดกิจกรรมต่อเนื่องในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรูปภาพ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
4) ภาพพลิก (Flip Charts)
ภาพพลิกเป็นทัศนวัสดุที่เป็นชุดของภาพวาด ภาพถ่าย แผนภูมิ หรือแผน
สถิติ ซึ่งนามาเย็บเล่นรวมกันเข้าเป็นเรื่องราวให้มีความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน
ตั้งแต่ต้นจนจบ จานวนประมาณ 10-15 แผ่น
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 ภาพพลิก
รูปแบบของภาพพลิกสามารถทาได้หลายแบบ เช่น
1. ใช้กระดาษแข็งหรือไม้อัดทาเป็นปกหน้าและปกหลัง เวลาใช้
ต้องกางปกทั้งสองออกเป็นขาตั้งไปในตัว
2. ใช้กระดาษแข็ง ไม้อัด หรือไม้เนื้อแข็งทาเป็นขาหยั่งตั้งโต๊ะ
แบบเป็นรูปฐานรองรับภาพ 2 ชิ้น แล้วติดด้วยบานพับ
3. ใช้ขาหยั่งตั้งบนพื้นทาเป็นเสาสูง 3 หรือ 4 และมีขอโลหะ
สาหรับทาที่แขวนด้านบน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 ภาพพลิก
ลักษณะของภาพพลิกที่ดี
1. ภาพชัดเจน เข้าใจง่าย สื่อความหมายได้ดี ตรงกับเนื้อหาและ
วัตถุประสงค์
2. คาอธิบายควรเป็นประโยคสั้น ๆ กะทัดรัด ตัวอักษะขนาดใหญ่และ
ควรเป็นอักษรแบบเดียวกันทั้งชุด
3. ควรใช้สีให้ตัดกันอย่างเหมาะสม แต่ไม่ควรเกิน 3-4 สี ภาพสีจะช่วย
ให้เกิดความสนใจมากกว่าภาพขาวดา
4. ภาพควรเรียงตัวต่อไปตามลาดับอย่างถูกต้อง ภาพพลิก 1 ชุด ควร
เป็นเรื่องเดียวกัน ในภาพหนึ่งควรมีความคิดเดียว
5. การเย็บแผ่นหรือขาหยั่ง ขาตั้ง ต้องมั่นคงแข็งแรง
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 ภาพพลิก
เทคนิคการนาเสนอ
1. ติดตั้งภาพพลิกบนขาหยั่ง ขาตั้งให้เรียบร้อย
2. อธิบายอย่างต่อเนื่องตามลาดับขั้น
3. อย่ายืนบังภาพพลิกในขณะใช้
4. การใช้ควรใช้ไม้หรือวัสดุชี้
5. ควรเปิดโอกาสให้คนดูมีส่วนร่วมกิจกรรมด้วย อาจทาเป็นคาถามไว้
ในภาพพลิก หรือภาพชวนให้ศึกษาคาตอบ
6. ควรมีบทสรุปหรือกิจกรรมต่อเนื่องในตอนท้ายของเรื่อง
7. ใช้ร่วมกับสื่ออื่น ๆ ได้ดี
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
5) ภาพโฆษณาหรือภาพโปสเตอร์
ภาพโปสเตอร์เป็นทัศนวัสดุที่สร้างขึ้น
ชักชวน จูงใจ สร้างความประทับใจให้เกิด
ความประทับใจ ให้เกิดความเชื่อถือ
ศรัทธาและนาไปสู่การแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมใน
เวลาต่อไป
เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อภาพโปสเตอร์
ควรเป็นเนื้อหาที่ต้องการกระตุ้นเร้าใจให้
ปฏิบัติตามการแจ้งข่าวสาร การแนะนาเชิญ
ชวน เป็นต้น
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 ภาพโฆษณาหรือภาพโปสเตอร์
ลักษณะของภาพโปสเตอร์ที่ดี
1. รูปแบบสอดคล้องกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย
2. เด่นมองเห็นสะดุดตา
3. ข้อความสั้นกระชับได้ใจความ
4. รูปภาพเร้าความสนใจ ชวนติดตาม
5. สื่อความหมายได้ตามวัตถุประสงค์
6. แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์
7. มีขนาดใหญ่พอที่จะมองเห็นได้ในระยะห่างพอสมควร
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
6) รูปภาพ (Picture)
รูปภาพเป็นสัญลักษณ์
อย่างหนึ่งเป็นวัสดุพื้นฐานที่มี
อิสระในตัวเอง สามารถใช้ได้
โดยไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์อื่น ๆ
ในทุกสถานที่และทุก
เวลา รูปภาพเป็นวัสดุราคาถูก
หาได้ง่ายแต่มีประโยชน์ต่อการ
เรียนการสอนในทุกระดับ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 รูปภาพ
ลักษณะรูปภาพประกอบการสอนที่ดี
1. มีความหมายให้รายละเอียดตรงกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์
2. เป็นภาพที่คุ้นเคยกับความสามารถและความสนใจของผู้เรียน
3. เป็นภาพที่ตรงกับความเป็นจริง ทันสมัย ประณีต
4. เป็นภาพที่สื่อความหมายได้ดี
5. มีสาระในภาพเพียงเรื่องเดียว
6. ควรเป็นภาพที่ถูกหลักการออกแบบ และมีคุณภาพทางเทคนิคดี
7. มีหัวเรื่องและมีคาอธิบายประกอบภาพ
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2 รูปภาพ
ข้อดีและข้อจากัดของรูปภาพ
ข้อดี
1. ทาประสบการณ์นามธรรมเป็นรูปธรรมได้
2. ราคาถูกจัดหาได้ง่าย เร้าความสนใจได้ดี
3. สามารถดัดแปลงให้เป็นสื่ออื่น ๆ ได้อีกมาก
4. ครอบคลุมเนื้อหาได้หลาย ๆ วิชา
5. ศึกษารายละเอียดได้โดยใช้เวลานานเท่าที่ต้องการ
6. ใช้ร่วมกับสื่ออื่น ๆ ได้แทบทุกชนิด
7. ใช้กับกระบวนการเรียนการสอนได้ทุกขั้นตอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
ภารกิจที่ 2
ข้อดีและข้อจากัดของรูปภาพ
เทคนิคการนาเสนอด้วยรูปภาพ
1. ใช้รูปภาพให้ตรงกับจุดหมายที่ตั้งไว้
2. ไม่ควรนาเสนอภาพหลาย ๆ ภาพพร้อมกัน
3. ควรติดตั้งหรือแขวนให้เรียบร้อย
4. อาจสร้างความสนใจด้วยการปิด - เปิดทีละส่วน
5. ใช้ควบคู่กับสื่ออื่น ๆ ได้ เช่น วีดีทัศน์ แผนภูมิ ของจริง
6. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เช่น ตอบคาถาม เล่าเรื่องจากภาพ
7. รูปภาพที่ดี ๆ มีคุณค่า ควรผลึก หรือใส่กรอบให้แข็งแรง
8. เมื่อใช้เสร็จแล้วควรเก็บรักษาไว้หมวดหมู่เพื่อใช้ในโอกาสต่อไป
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวปรียาพร พันธ์พรม 553050299-8
นางสาวสุทธิดา สามารถ 553050325-3
นางสาวธนยพร กุลวงษ์ 553050287-5
นางสาวประภัสสร รักษาภักดี 553050297-2
นางสาวมัทน์ชุลินทร์ อินทะราช 553050313-0
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา

More Related Content

What's hot

Power point8
Power point8Power point8
Power point8tross999
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
Rojsak Chiablaem
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 aonaon080
 
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขPak Ubss
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
Ham Had
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้Supichaya Tamaneewan
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
Anucha Somabut
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
Nat Wrkt
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
daykrm
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
Cholticha New
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Pronsawan Petklub
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
Paranee Srikhampaen
 

What's hot (20)

Power point8
Power point8Power point8
Power point8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กับ 2560(ฉบับปรับปรุง)
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทท 8
บทท   8บทท   8
บทท 8
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555
 
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
C hapter 8 ppt
C hapter 8 pptC hapter 8 ppt
C hapter 8 ppt
 

Similar to บทที่8

บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกjittraphorn
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8LALILA226
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Wuth Chokcharoen
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
lalidawan
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนFern's Supakyada
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8FerNews
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8Vi Mengdie
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
cheekymoodygirl92
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
cheekymoodygirl92
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4Nuchy Geez
 

Similar to บทที่8 (20)

บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8 pdf
Chapter 8 pdfChapter 8 pdf
Chapter 8 pdf
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Innovation chapter 8
Innovation chapter 8Innovation chapter 8
Innovation chapter 8
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 

More from Oumim'Ch BkkClash

บท4
บท4บท4
สื่อสิ่งพิม)
สื่อสิ่งพิม)สื่อสิ่งพิม)
สื่อสิ่งพิม)
Oumim'Ch BkkClash
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
Chapter1Chapter1

More from Oumim'Ch BkkClash (14)

Map7
Map7Map7
Map7
 
Mindmap5
Mindmap5Mindmap5
Mindmap5
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
บท4
บท4บท4
บท4
 
Map3
Map3Map3
Map3
 
Map3
Map3Map3
Map3
 
สื่อสิ่งพิม)
สื่อสิ่งพิม)สื่อสิ่งพิม)
สื่อสิ่งพิม)
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 

บทที่8

  • 2. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน การออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ที่คลินิก รับ ปรึกษาปัญหาการผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามา ปรึกษากับคุณ ซึ่งประกอบด้วย คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้ นักเรียนได้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วย ในการสรุปเนื้อหาที่สอน
  • 3. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอน วันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทา งานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทา หน้าที่การสรุปสถิติจานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดง ให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
  • 4. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการ เร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิด จินตนาการ คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียน ห่างไกลยาเสพย์ติด ……………………………
  • 5. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมการลักษณะความ ต้องการของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการ เลือกและคุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
  • 6. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน คุณครูแดน แผนภูมิ เป็นทัศนวัสดุที่ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ ตัวเลข และข้อความ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น ความต่อเนื่อง โดยแสดงความสัมพันธ์เหล่านั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น มีประโยชน์ในการ นามาใช้ในการเรียนการสอนที่ช่วยประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น และช่วยสร้างปัญหา และกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด นอกจากนี้ผู้สอนสามารถใช้แผนภูมิในการสรุปหรือ ทบทวนบทเรียน ในปัจจุบันมีการการออกแบบแผนภูมิเพื่อใช้ในการเรียนการสอนใน หลายรูปแบบ เช่น แผนภูมิแบบตาราง แผนภูมิแบบองค์การ แผนภูมิแบบต้นไม้และลา ธาร แผนภูมิแบบวิวัฒนาการและแบบต่อเนื่อง แผนภูมิแบบอธิบายภาพ ภารกิจที่ 1
  • 7. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับ คุณครูแดน ต้องการ น า เ ส น อ เ นื้ อ ห า ที่ มี ความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้น ไป และเนื้อหามีความเป็น นามธรรม ที่ครูแดนต้องการ ให้นักเรียนได้ความคิดรวบ ยอด(Concept) ของเรื่องที่ สอน และช่วยในการสรุป เนื้อหาที่สอน
  • 8. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน คุณครูรุท แผนภาพ เป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่ แสดงเค้าโรงของวัตถุ โครงสร้างที่สาคัญของสิ่งที่เราจะอธิบาย ให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได้ดี การใช้แผนภาพถ้าใช้คู่กับ ของจริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การอธิบายส่วนประกอบ ของคอมพิวเตอร์เราใช้แผนภาพโครงร่างของคอมพิวเตอร์ พร้อม กับแสดงของจริงเปรียบเทียบให้ดูด้วย ภารกิจที่ 1
  • 9. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ประโยชน์ของแผนภาพ - อธิบายเรื่องราวที่ยากแก่การเข้าใจ - แสดงให้เห็นความสาคัญของส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย - แสดงให้เห็นกระบวนการของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เข้าใจง่ายขึ้น ภารกิจที่ 1
  • 10. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรง กับคุณครูรุท เป็นครู สอนวิชาคอมพิวเตอร์และ ในการสอนต้องการให้ นักเรียนเข้าใจถึงระบบ การทางานของระบบการ ทางานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของ คอมพิวเตอร์ ภารกิจที่ 1
  • 11. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 คุณครูอั้ม แผนสถิติ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการ เปรียบเทียบระหว่างจานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ เช่น จานวน นักเรียนในแต่ละปีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ในแต่ละระดับชั้น เป็นต้น รูปแบบที่ใช้ในการเรียนการสอน เช่น แผนสถิติแบบเส้น แผนสถิติแบบแท่ง แผนสถิติแบบวงกลม และ แผนสถิติแบบรูปภาพ
  • 12. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับคุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ที่ จะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติจานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้ บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
  • 13. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 คุณครูพอลล่า การ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราว ต่างๆตลอดจน สามารถ ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดซึ่งเป็นการล้อเลียน แสดงอารมณ์ขัน โดยทั่วไป การ์ตูนอาจทาให้ผิดเพี้ยนไปจาก ธรรมชาติของความเป็นของสิ่งนั้นๆ มากบ้างน้อยบ้าง เพื่อให้ดูแล้ว เกิดความสนใจ และความสนุกสนาน ภาพการ์ตูนส่วนใหญ่จึงเป็น ภาพที่เขียนง่ายๆ
  • 14. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับคุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับ อนุบาล ที่ต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความ สนุกสนานและเกิดจินตนาการ
  • 15. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 คุณครูศรราม ภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ ข้อความ หรือเรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้น ให้ ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพ โฆษณา นั้นๆอาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม เช่น การรณรงค์การ ทิ้งขยะมูลฝอย การรักษาความสะอาด หรือการงดสูบบุหรี่ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด และการวางแผนครอบครัว เป็นต้น
  • 16. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 1 ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรงกับคุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ที่ ต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้ นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด
  • 17. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะ ของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการ เรียนรู้วิชาเอกของคุณ
  • 19. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 1) แผนภูมิ (Charts) แผนภูมิเป็นวัสดุประเภทกราฟิก ซึ่งมี องค์ประกอบที่สาคัญ คือ สัญลักษณ์ รูปภาพ และตัวอักษร ใช้ประกอบ การบรรยาย ชี้แจง สรุปสาระสาคัญ เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อแผนภูมิ ได้แก่ การเปรียบเทียบ ความต่อเนื่อง กระบวนการ ความสัมพันธ์ ขั้นตอน เป็นต้น
  • 20. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 แผนภูมิ ลักษณะแผนภูมิที่ดี 1. เป็นแบบง่ายและแสดงแนวคิดเดียว 2. ขนาดใหญ่ อ่านง่าย ไม่แน่นเกินไป 3. ใช้สีเพื่อการเน้นเป็นสาคัญ 4. ภาพประกอบต้องเหมาะสม น่าสนใจ 5. เนื้อหาถูกต้องตามความเป็นจริง 6. เนื้อหาและคาบรรยายชัดเจน อ่านง่าย 7. มีการทบทวนในการใช้งานและการเก็บรักษา
  • 21. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 แผนภูมิ เทคนิคการนาเสนอ 1. แผนภูมิต้องตรงกับเนื้อหา 2. ต้องติดตั้งหรือแขวนให้เรียบร้อย 3. อธิบายตามลาดับขั้นอย่างต่อเนื่อง 4. ขณะใช้แผนภูมิต้องหันหน้าเข้าหาผู้เรียน 5. จุดสนใจควรเน้นด้วยสี ขนาด การปิด-เปิด 6. ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสนอ 7. การชี้แผนภูมิควรใช้ไม้หรือวัสดุชี้ 8. สามารถใช้ประกอบกับสื่ออื่น ๆ ได้
  • 22. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 2) แผนสถิติ (Graph) แผนสถิติเป็นวัสดุลายเส้นที่เน้นการ สื่อความหมายในเชิงปริมาณและตัวเลข แผน สถิติแต่ละเรื่องควรแจ้งที่มา ของข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสร้างความเชื่อถือ และ เปิดโอกาสให้ศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ง่ายขึ้น เนื้อหาที่เหมาะสมกับแผนสถิติ ได้แก่ ข้อมูลเชิงปริมาณ การเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
  • 23. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 ลักษณะแผนสถิติที่ดี 1. ตัวอักษร เส้น สี ต้องชัดเจน น่าสนใจ 2. มีลักษณะดูแล้วเข้าใจง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน 3. แสดงแหล่งที่มาของข้อมูลได้อย่างถูกต้อง 4. ควรนาเสนอในลักษณะเปรียบเทียบหรือแสดงความสัมพันธ์ ของข้อมูล 5. แสดงขอมูลในลักษณะประมาณมิใช่เน้นความถี่ของข้อมูล
  • 24. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน 3) แผนภาพ (Diagrams) แผนภาพเป็นทัศนวัสดุอย่างหนึ่งที่แสดง ให้เห็นส่วนประกอบต่าง ๆ ของสิ่งของ หรือของระบบการทางาน เช่น การ ทางานของลูกสูบรถยนต์ เครื่องกรอง น้า ส่วนประกอบของดอกไม้ เป็นต้น เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อ แผนภาพ ได้แก่ กระบวนการ ความสัมพันธ์ ส่วนประกอบต่าง ๆ หรือโครงสร้างภายใน เป็นต้น ภารกิจที่ 2
  • 25. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 แผนภาพ ลักษณะแผนภาพที่ดี 1. มีรูปแบบง่าย ๆ แสดงแนวความคิดเดียว 2. ขนาดใหญ่พอสมควร รูปภาพ ตักอักษร อ่านได้ชัดเจน 3. ใช้สีแสดงความแตกต่างและความเหมือนกันเพื่อแสดง ความหมายให้ชัดเจน 4. ควรใช้รูปภาพ สัญลักษณ์มากกว่าตัวหนังสือ
  • 26. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 แผนภาพ เทคนิคการนาเสนอ 1. การใช้แผนภาพผู้เรียนต้องมีพื้นฐานความรู้ในเรื่องนั้นก่อน 2. ควรใช้โสตทัศนวัสดุอื่น ๆ ที่เหมาะสมประกอบ เช่น รูปภาพ ของจริง ภาพยนตร์ เป็นต้น 3. แผนภาพจะต้องมีคาอธิบาย จะช่วยป้องกันการสับสนของผู้เรียน 4. ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมเสมอ 5. ควรจัดกิจกรรมต่อเนื่องในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรูปภาพ
  • 27. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 4) ภาพพลิก (Flip Charts) ภาพพลิกเป็นทัศนวัสดุที่เป็นชุดของภาพวาด ภาพถ่าย แผนภูมิ หรือแผน สถิติ ซึ่งนามาเย็บเล่นรวมกันเข้าเป็นเรื่องราวให้มีความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ตั้งแต่ต้นจนจบ จานวนประมาณ 10-15 แผ่น
  • 28. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 ภาพพลิก รูปแบบของภาพพลิกสามารถทาได้หลายแบบ เช่น 1. ใช้กระดาษแข็งหรือไม้อัดทาเป็นปกหน้าและปกหลัง เวลาใช้ ต้องกางปกทั้งสองออกเป็นขาตั้งไปในตัว 2. ใช้กระดาษแข็ง ไม้อัด หรือไม้เนื้อแข็งทาเป็นขาหยั่งตั้งโต๊ะ แบบเป็นรูปฐานรองรับภาพ 2 ชิ้น แล้วติดด้วยบานพับ 3. ใช้ขาหยั่งตั้งบนพื้นทาเป็นเสาสูง 3 หรือ 4 และมีขอโลหะ สาหรับทาที่แขวนด้านบน
  • 29. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 ภาพพลิก ลักษณะของภาพพลิกที่ดี 1. ภาพชัดเจน เข้าใจง่าย สื่อความหมายได้ดี ตรงกับเนื้อหาและ วัตถุประสงค์ 2. คาอธิบายควรเป็นประโยคสั้น ๆ กะทัดรัด ตัวอักษะขนาดใหญ่และ ควรเป็นอักษรแบบเดียวกันทั้งชุด 3. ควรใช้สีให้ตัดกันอย่างเหมาะสม แต่ไม่ควรเกิน 3-4 สี ภาพสีจะช่วย ให้เกิดความสนใจมากกว่าภาพขาวดา 4. ภาพควรเรียงตัวต่อไปตามลาดับอย่างถูกต้อง ภาพพลิก 1 ชุด ควร เป็นเรื่องเดียวกัน ในภาพหนึ่งควรมีความคิดเดียว 5. การเย็บแผ่นหรือขาหยั่ง ขาตั้ง ต้องมั่นคงแข็งแรง
  • 30. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 ภาพพลิก เทคนิคการนาเสนอ 1. ติดตั้งภาพพลิกบนขาหยั่ง ขาตั้งให้เรียบร้อย 2. อธิบายอย่างต่อเนื่องตามลาดับขั้น 3. อย่ายืนบังภาพพลิกในขณะใช้ 4. การใช้ควรใช้ไม้หรือวัสดุชี้ 5. ควรเปิดโอกาสให้คนดูมีส่วนร่วมกิจกรรมด้วย อาจทาเป็นคาถามไว้ ในภาพพลิก หรือภาพชวนให้ศึกษาคาตอบ 6. ควรมีบทสรุปหรือกิจกรรมต่อเนื่องในตอนท้ายของเรื่อง 7. ใช้ร่วมกับสื่ออื่น ๆ ได้ดี
  • 31. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 5) ภาพโฆษณาหรือภาพโปสเตอร์ ภาพโปสเตอร์เป็นทัศนวัสดุที่สร้างขึ้น ชักชวน จูงใจ สร้างความประทับใจให้เกิด ความประทับใจ ให้เกิดความเชื่อถือ ศรัทธาและนาไปสู่การแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมใน เวลาต่อไป เนื้อหาที่เหมาะสมกับสื่อภาพโปสเตอร์ ควรเป็นเนื้อหาที่ต้องการกระตุ้นเร้าใจให้ ปฏิบัติตามการแจ้งข่าวสาร การแนะนาเชิญ ชวน เป็นต้น
  • 32. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 ภาพโฆษณาหรือภาพโปสเตอร์ ลักษณะของภาพโปสเตอร์ที่ดี 1. รูปแบบสอดคล้องกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมาย 2. เด่นมองเห็นสะดุดตา 3. ข้อความสั้นกระชับได้ใจความ 4. รูปภาพเร้าความสนใจ ชวนติดตาม 5. สื่อความหมายได้ตามวัตถุประสงค์ 6. แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ 7. มีขนาดใหญ่พอที่จะมองเห็นได้ในระยะห่างพอสมควร
  • 33. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 6) รูปภาพ (Picture) รูปภาพเป็นสัญลักษณ์ อย่างหนึ่งเป็นวัสดุพื้นฐานที่มี อิสระในตัวเอง สามารถใช้ได้ โดยไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์อื่น ๆ ในทุกสถานที่และทุก เวลา รูปภาพเป็นวัสดุราคาถูก หาได้ง่ายแต่มีประโยชน์ต่อการ เรียนการสอนในทุกระดับ
  • 34. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 รูปภาพ ลักษณะรูปภาพประกอบการสอนที่ดี 1. มีความหมายให้รายละเอียดตรงกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ 2. เป็นภาพที่คุ้นเคยกับความสามารถและความสนใจของผู้เรียน 3. เป็นภาพที่ตรงกับความเป็นจริง ทันสมัย ประณีต 4. เป็นภาพที่สื่อความหมายได้ดี 5. มีสาระในภาพเพียงเรื่องเดียว 6. ควรเป็นภาพที่ถูกหลักการออกแบบ และมีคุณภาพทางเทคนิคดี 7. มีหัวเรื่องและมีคาอธิบายประกอบภาพ
  • 35. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 รูปภาพ ข้อดีและข้อจากัดของรูปภาพ ข้อดี 1. ทาประสบการณ์นามธรรมเป็นรูปธรรมได้ 2. ราคาถูกจัดหาได้ง่าย เร้าความสนใจได้ดี 3. สามารถดัดแปลงให้เป็นสื่ออื่น ๆ ได้อีกมาก 4. ครอบคลุมเนื้อหาได้หลาย ๆ วิชา 5. ศึกษารายละเอียดได้โดยใช้เวลานานเท่าที่ต้องการ 6. ใช้ร่วมกับสื่ออื่น ๆ ได้แทบทุกชนิด 7. ใช้กับกระบวนการเรียนการสอนได้ทุกขั้นตอน
  • 36. บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน ภารกิจที่ 2 ข้อดีและข้อจากัดของรูปภาพ เทคนิคการนาเสนอด้วยรูปภาพ 1. ใช้รูปภาพให้ตรงกับจุดหมายที่ตั้งไว้ 2. ไม่ควรนาเสนอภาพหลาย ๆ ภาพพร้อมกัน 3. ควรติดตั้งหรือแขวนให้เรียบร้อย 4. อาจสร้างความสนใจด้วยการปิด - เปิดทีละส่วน 5. ใช้ควบคู่กับสื่ออื่น ๆ ได้ เช่น วีดีทัศน์ แผนภูมิ ของจริง 6. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม เช่น ตอบคาถาม เล่าเรื่องจากภาพ 7. รูปภาพที่ดี ๆ มีคุณค่า ควรผลึก หรือใส่กรอบให้แข็งแรง 8. เมื่อใช้เสร็จแล้วควรเก็บรักษาไว้หมวดหมู่เพื่อใช้ในโอกาสต่อไป
  • 37. สมาชิกกลุ่ม นางสาวปรียาพร พันธ์พรม 553050299-8 นางสาวสุทธิดา สามารถ 553050325-3 นางสาวธนยพร กุลวงษ์ 553050287-5 นางสาวประภัสสร รักษาภักดี 553050297-2 นางสาวมัทน์ชุลินทร์ อินทะราช 553050313-0 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา