SlideShare a Scribd company logo
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
คุยกันวันนี้
อีเลิร์นนิงแบบปฏิสัมพันธ์คืออะไร1
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย2
การออกแบบโครงสร้างอีเลิร์นนิง3
Gestalt Theory of Visual Perception for e-Learning4
A Day Made of Glass 2014
https://www.youtube.com/watch?v=PfgmlVxLC9w
The Flipped Classroom
Jonathan Bergmann & Aaron Sams. (2010). The flipped classroom.
How the Flipped Classroom works
https://www.youtube.com/watch?v=iQWvc6qhTds
What is e-Learning?
“The use of digital technologies and media to
deliver, support and enhance teaching,
learning, assessment and evaluation is the
use of information and communication
technologies in delivering learning and
training”
(AECT, 2007)
What is e-Learning?
Online Learning / Training
Web Based Learning / Training (WBL/WBT)
Computer Based Learning / Training (CBL/CTB)
Web Based Instruction (WBI)
use of information and communication technologies
in delivering learning and training.
What is e-Learning?
การใช้ทรัพยากรต่างๆ ในระบบอินเทอร์เน็ต มาออกแบบ
และจัดระบบ เพื่อสร้างระบบการเรียนการสอน โดยการ
สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ตรงกับความต้องการของผู้สอนและผู้เรียน
เชื่อมโยงระบบเป็ นเครือข่ายที่สามารถเรียนรู้ได้
ทุกที่ ทุกเวลา และทุกคน
รศ.ดร.ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง
e- Learning : องค์ประกอบ
e-Learning
Content
Communic
ation
LMS
Evaluation
Synchronous
Asynchronous
text chat, audio & video conferencing
electronic whiteboards, file sharing
e-mails
discussion forums
Pre-Test
Exam
Post-Test
e-Learning Design Framework
https://www.youtube.com/watch?v=GLshskPhA2w
e-Learning : การนําไปใช้
สื่อหลัก (Comprehensive Replacement)
ใช้แทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้ อหาทั้งหมดออนไลน์
สื่อเติม (Complementary)
ผู้สอนออกแบบเนื้ อหาให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเนื้ อหาเพิ่มเติมจาก e-Learning
สื่อเสริม (Supplementary)
นอกจากเนื้ อหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษา
เนื้ อหาเดียวกันนี้ ในลักษณะอื่นๆ เช่น จากเอกสารประกอบ
การสอน เป็ นต้น เพื่อให้ผู้เรียนมีทางเลือกในการเข้าถึงเนื้ อหา
ประเภทการเรียนการสอนออนไลน์
ทฤษฎีทางการศึกษาสําหรับการออกแบบและพัฒนาอีเลิร์นนิง
Instructional System Design
Evaluation
Analysis
Design
Development
Implementation
Learning Pyramid
16
PassiveActive
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
Designing of Interactive e-Learning Based on Robert Gangne’ Theory
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Gain Attention
เริ่มด้วยการใช้ภาพ แสง สี เสียง
เลือกใช้ภาพกราฟิกที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
ขนาดใหญ่ชัดเจน ง่าย และไม่ซับซ้อน
ใช้เทคนิคการนําเสนอที่ปรากฏภาพได้เร็ว
ควรให้ภาพปรากฏบนจอภาพระยะหนึ่ง
ควรบอกชื่อเรื่องบทเรียน
เลือกใช้สีที่ตัดกับฉากหลังอย่างชัดเจน
โดยเฉพาะสีเข้ม
Augmented Reality
https://www.youtube.com/watch?v=oH_LfXnklRw
eLearning Africa 2010 NComputing Opening Video
https://www.youtube.com/watch?v=Tdedatej4u8
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Specify Objective
วัตถุประสงค์ของบทเรียนเป็ นส่วนสําคัญ
ต่อกระบวนการเรียนรู้
แจ้งให้ทราบล่วงหน้าถึงประเด็นสําคัญ
ของเนื้อหาและเค้าโครงของเนื้อหา
ผู้เรียนจะทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้าย
ของตนเองหลังจบบทเรียนแล้ว
ผู้เรียนที่ทราบวัตถุประสงค์ของการเรียน
ก่อนเรียนบทเรียน จะสามารถจําและเข้าใจ
เนื้อหาได้ดีขึ้น
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Activate Prior Knowledge
การทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)
เพื่อทบทวนเนื้อหาเดิมที่เคยศึกษาผ่านมาแล้ว
เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับเนื้อหาใหม่
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Present New Information
ใช้ภาพเคลื่อนไหว สําหรับเนื้อหาที่ยากและ
ซับซ้อนที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็ นลําดับขั้น
ใช้แผนภูมิ แผนภาพ แผนสถิติ สัญลักษณ์
ภาพเปรียบเทียบ แทนข้อความคําอธิบาย
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
ควรเน้นข้อความสําคัญเนื้อหาที่ยากและ
ซับซ้อน เช่น การตีกรอบ การกระพริบ
การเปลี่ยนสีพื้น การโยงลูกศร การใช้สี
การชี้แนะด้วยคําพูด เช่น สังเกตที่ด้านซ้าย
ของภาพ
ควรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทําอย่างอื่นบ้าง
การปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนโดยวิธีการพิมพ์
หรือตอบคําถาม
ศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มา: http://elearning.stkc.go.th
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
LO : ศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://elearning.stkc.go.th/lms/html/bio/LO14/Flash_th/LO14.html
สีบนจอคอมพิวเตอร์
สีบนจอคอมพิวเตอร์
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Guide Learning
จัดระบบการเสนอเนื้อหาที่ดีและสัมพันธ์
กับประสบการณ์เดิม ความรู้เดิมของผู้เรียน
การนําเสนอเนื้อหาที่ยาก ควรให้ตัวอย่าง
ที่เป็ นรูปธรรมมากกว่านามธรรม
นําเสนอตัวอย่างที่แตกต่างกัน เพื่อช่วย
อธิบายความคิดรวบยอดใหม่ให้ชัดเจนขึ้น
เช่น ตัวอย่างการเปิดหน้ากล้องหลายๆ ค่า
เพื่อให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของรูรับแสง
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
นําเสนอตัวอย่างที่ไม่ใช่ตัวอย่างที่ถูกต้อง
เพื่อเปรียบเทียบกับตัวอย่างที่ถูกต้อง
เช่น นําเสนอภาพไม้ พลาสติก และยาง
แล้วบอกว่าภาพเหล่านี้ไม่ใช่โลหะ
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Elicit Response
ควรให้ผู้เรียนการพิมพ์คําตอบ เติมข้อความ
สั้นๆ เพื่อเรียกความสนใจ
ถามคําถามเป็ นช่วงๆ สลับกับการนําเสนอ
เนื้อหา
ไม่ควรถามครั้งเดียวหลายๆ คําถาม
เฟรมตอบสนองของผู้เรียน เฟรมคําถาม
และเฟรมการตรวจปรับเนื้อหา ควรอยู่บน
หน้าจอภาพเดียวกัน เพื่อสะดวกในการอ้างอิง
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Provide Feedback
ให้ข้อมูลย้อนกลับทันที หลังจากผู้เรียน
โต้ตอบกับบทเรียน
หลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลย้อนกลับที่ตื่นตา
เกินไปในกรณีที่ผู้เรียนตอบผิด
เฉลยคําตอบที่ถูกต้อง หลังจากที่ผู้เรียนตอบ
ผิด 2 - 3 ครั้ง
ใช้วิธีการให้คะแนนหรือแสดงภาพ เพื่อบอก
ความใกล้-ไกลจากเป้ าหมาย
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
LO : ศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://elearning.stkc.go.th/lms/html/bio/LO10/Flash_th/LO10.html
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Assess Performance
การทดสอบหลังเรียน (Post-test)
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชี้แจงวิธีการตอบคําถาม
หลีกเลี่ยงแบบทดสอบแบบอัตนัยที่ให้ผู้เรียน
พิมพ์คําตอบยาวๆ
แบบทดสอบชุดหนึ่งควรมีหลายๆ ประเภท
แบบทดสอบควรเป็ นข้อสอบที่มีคุณภาพ
มีค่าอํานาจจําแนกดี ความยากง่ายเหมาะสม
และมีความเชื่อมั่นเหมาะสม
การสร้างแบบทดสอบ
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึกหัด)
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์
การวิเคราะห์ข้อสอบปรนัย
เทคนิค 25 % / เทคนิค 27%
กลุ่มคะแนนสูง 25 %
กลุ่มคะแนนตํ่า 25 %
คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด
ค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8
ค่าอํานาจจําแนก (D) ตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป
ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป
การประเมินผล (Evaluation)
สมมุติฐาน E1/E2 : 80/80
E1 คือ ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา
ที่ทําแบบฝึกหัดระหว่างเรียนแต่ละหน่วย
E2 คือ ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษา
ที่ทําแบบทดสอบหลังการเรียนเมื่อเรียน
ครบทุกหน่วย
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ
100
A
N
X
E
n
1i
1 ×=
∑
=
◌ียนจํานวนผู้เร
ยนระหว่างเรีองแบบทดสอบคะแนนเต็มข
◌่างเรียนบทดสอบระหวจากการทําแบ
นที�ได้ยละของคะแนคิดเป็นร้อ
การพของกระบวนประสิทธิภา
างเรียนทดสอบระหว่
ากแบบงนักเรียนจคะแนนรวมขอ
=
=
=
=∑
=
N
A
E
X
1
n
1i
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ
100
B
N
F
E
n
1i
2 ×=
∑
=
◌ียนจํานวนผู้เร
วมหลังเรียนรองแบบทดสอบคะแนนเต็มข
เรียนรวมบทดสอบหลังจากการทําแบ
นที�ได้ยละของคะแนคิดเป็นร้อ
◌์พของผลลัพธประสิทธิภา
างเรียนทดสอบระหว่
ากแบบงนักเรียนจคะแนนรวมขอ
=
=
=
=∑
=
N
B
E
F
2
n
1i
การวิเคราะห์หาประสิทธิผล
E post – Epre > 60
E post = ร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบหลังเรียนทั้งวิชา
E pre = ร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบก่อนเรียนทั้งวิชา
การวิเคราะห์หาประสิทธิผล
x 100
NB
Epost =
∑=
N
i
Xi
1
Xi =
N =
B = คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
จํานวนนักเรียนทั้งหมด
คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนคนที่ i
การวิเคราะห์หาประสิทธิผล
x 100
NC
Epre =
∑=
N
k
X
1
Xk =
N =
C = คะแนนเต็มของแบบทดสอบก่อนเรียน
จํานวนนักเรียนทั้งหมด
คะแนนสอบก่อนเรียนของนักเรียนคนที่ k
k
การออกแบบอีเลิร์นนิงตามแนวคิดของกานเย
1. เร้าความสนใจ
2. บอกวัตถุประสงค์
3. ทบทวนความรู้เดิม
4. นําเสนอเนื้ อหาใหม่
5. ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้
6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน
7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ
8. ทดสอบความรู้ใหม่
9. สรุปและนําไปใช้
Review and Transfer
สรุปองค์ความรู้เฉพาะประเด็นสําคัญๆ
ชี้แนะความสัมพันธ์กับความรู้หรือ
ประสบการณ์เดิมที่ผู้เรียนผ่านมาแล้ว
ทบทวนแนวคิดที่สําคัญของเนื้อหา
เพื่อเป็ นการสรุป
เสนอแนะเนื้อหาความรู้ใหม่ ที่สามารถ
นําไปใช้ประโยชน์ได้
บอกแหล่งข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ในการศึกษา
เนื้อหาต่อไป
การออกแบบโครงสร้างอีเลิร์นนิง
Designing of e-Learning Site Structure
e-Learning : การนําไปใช้
สื่อหลัก (Comprehensive Replacement)
ใช้แทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้ อหาทั้งหมดออนไลน์
สื่อเติม (Complementary)
ผู้สอนออกแบบเนื้ อหาให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเนื้ อหาเพิ่มเติมจาก e-Learning
สื่อเสริม (Supplementary)
นอกจากเนื้ อหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษา
เนื้ อหาเดียวกันนี้ ในลักษณะอื่นๆ เช่น จากเอกสารประกอบ
การสอน เป็ นต้น เพื่อให้ผู้เรียนมีทางเลือกในการเข้าถึงเนื้ อหา
ประเภทการเรียนการสอนออนไลน์
ทฤษฎีทางการศึกษาสําหรับการออกแบบและพัฒนาอีเลิร์นนิง
Instructional System Design
Evaluation
Analysis
Design
Development
Implementation
Learning Pyramid
51
PassiveActive
พฤติกรรมการใช้สื่อที่ส่งผลต่อการออกแบบ
พฤติกรรมของผู้เรียน หลักในการออกแบบเว็บไซต์
85 % ไม่อ่านข้อความจนจบ ควรจัดแบ่งออกเป็ นประเด็นย่อยๆ
เพื่อให้ผู้เรียนไม่รู้สึกว่าเนื้อหามากจนเกินไป
10 % ไม่เคยเลื่อนหน้า
เพื่ออ่านเนื้อหาในส่วนล่างของหน้าจอ
เนื้อหาที่สําคัญ และจําเป็ นควรออกแบบ
ให้อยู่ส่วนบนของหน้าจอเสมอ
ไม่อดทนต่อการรอดาวน์โหลด
ข้อมูลที่ช้าจนเกินไป
ไม่ควรออกแบบเนื้อหาที่ยาวเกินไป /
มีรูปภาพมากจนเกินไปในแต่ละหน้า
ถ้ามีเนื้อหาเป็ นจํานวนมากต้องมีการ
แบ่งเนื้อหาออกเป็ นส่วนๆ เพื่อการเข้าไปดู
เนื้อหานั้นๆ โดยตรง
ไม่ชอบที่จะเปิดผ่านหลายลิงค์เกินไป
กว่าจะพบเนื้อหาที่ต้องการอ่าน
หลีกเลี่ยงการออกแบบบทเรียน / โครงสร้าง
บทเรียนที่มีความซับซ้อนมากและแบ่ง
โครงสร้างเนื้อหาให้ตื้นขึ้น
การออกแบบโครงสร้างอีเลิร์นนิง
การจัดลําดับเนื้ อหาโดยเรียงลําดับตามความสําคัญมากไปน้อย
ภาพรวมลงไปสู่รายละเอียดปลีกย่อย (hierarchy of importance)
จัดลําดับตามความสัมพันธ์ (Relations)
เริ่มจากข้อมูลที่ผู้เรียนมีความคุ้นเคยมากไปน้อย
นําเสนอข้อมูลด้วยปุ่ มเมนูที่มากเกินไป
นําเสนอข้อมูลด้วยปุ่ มเมนูที่มากเกินไป ผู้เรียนสับสน เนื่องจากปุ่ มและข้อมูลภายใต้
ลิงค์ไม่มีความสัมพันธ์กัน
http://www.webdesign.org/web-design-basics/design-principles/site-design-introduction.6056.html
นําเสนอข้อมูลด้วยปุ่ มเมนูที่น้อยเกินไป
http://www.webdesign.org/web-design-basics/design-principles/site-design-introduction.6056.html
การเชื่อมโยงที่สับสน
http://www.webdesign.org/web-design-basics/design-principles/site-design-introduction.6056.html
การนําเสนอข้อมูลที่เหมาะสม
http://www.webdesign.org/web-design-basics/design-principles/site-design-introduction.6056.html
โครงสร้างแบบขนาน (Linear) แบบเรียงลําดับ (Sequence)
http://webstyleguide.com/wsg3/3-information-architecture/3-site-structure.html
โครงสร้างแบบไม่ขนาน (Non-linear)
http://webstyleguide.com/wsg3/3-information-architecture/3-site-structure.html
โครงสร้างแบบลําดับขั้น (Hierarchies)
http://webstyleguide.com/wsg3/3-information-architecture/3-site-structure.html
โครงสร้างแบบลําดับขั้น (Hierarchies)
http://webstyleguide.com/wsg3/3-information-architecture/3-site-structure.html
โครงสร้างแบบเว็บ (Web)
http://webstyleguide.com/wsg3/3-information-architecture/3-site-structure.html
การประยุกต์การออกแบบโครงสร้าง
http://webstyleguide.com/wsg3/3-information-architecture/3-site-structure.html
Gestalt Theory of Visual Perception
for e-Learning
Gestalt Theory : Closure
Gestalt Theory : Similarity
Gestalt Theory : Similarity
Gestalt Theory : Continuation
กระบวนการออกแบบ
บทเรียนอีเลิร์นนิงแบบปฏิสัมพันธ์
การวิเคราะห์เนื้ อหา (Analysis)
1. สร้างแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart)
2. สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart)
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์Input Unit
CPU
Memory
Output Unit
Mouse
Microphone
Joystick
Scanner
KeyboardDigital Camera
ALU CU
Main Memory Secondary
Memory
RAM
ROM Floppy Disk
Hard Disk CDROM
DVDROM
Tape
Monitor
Printer
Plotter
Speaker
Projector
3. สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้ อหา (Content Network Chart)
2
Input Unit
3 DigitalCamera4
5
6
7
8
9
10
Keyboard
Mouse
Scanner
Joystick
Microphone
13
15
14
ALU
CU
29
30
OutputUnit
3731
32
33
35
36
34
Monitor
Printer
Speaker
Plotter
Projector
Floppy Disk
HardDisk
17
19
23
18
22
20
21
24
25
26
27
28
Main
Memory
Secondary
Memory
Ram
Rom
CDRom
DVDRom
Tape
12
16
CPU
Memory
11
การวิเคราะห์เนื้ อหา (Analysis)
หน่วยเรียนที่ 1 หน่วยรับข้อมูล(Input Unit)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
1.1 Keyboard
1.2 Mouse
1.3 Scanner
1.4 Joystick
1.5 Digital Camera
1.6 Microphone
1.1 อธิบายความหมายของอุปกรณ์
ทางด้านอินพุทได้
1.2 บอกได้ว่าอุปกรณ์ชนิดใดเป็นอุปกรณ์
ทางด้านอินพุท
1.3 เข้าใจหน้าที่การทํางานของอุปกรณ์
อินพุทแต่ละตัว
1.4 อธิบายข้อแตกต่างของการนําอุปกรณ์
อินพุทไปใช้งานได้
1.5 อธิบายข้อแตกต่างระหว่างอุปกรณ์อินพุทแต่ละตัวได้
1.6 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
หน่วยเรียนที่ 2 หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
2.1 ALU
2.2 CU
2.1 อธิบายหลักการทํางานของ CPU ได้
2.2 อธิบายหน้าที่หลักการทํางานของ ALUได้
2.3 อธิบายหน้าที่หลักการทํางานของ CUได้
หน่วยเรียนที่ 3 หน่วยความจํา(Memory)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
3. หน่วยความจํา(Memory)
3.1 Main Memory
3.1.1 Ram
3.1.2 Rom
3.2 Secondary Memory
3.2.1 Floppy Disk
3.2.2 Hard Disk
3.2.3 CD ROM
3.2.4 DVD ROM
3.2.5 Tape
3.1 อธิบายหน้าที่หลักการทํางานของ
หน่วยความจํา ได้
3.2 สามารถอธิบายได้ว่าอะไรเป็นหน่วย
ความจําหลักอะไรเป็นหน่วยความจําสํารอง
3.3 อธิบายหลักการทํางานของอุปกรณ์เก็บ
ข้อมูลแต่ละชนิดได้
3.4 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลแต่ละชนิด
ได้อย่างถูกต้อง
3.5 สามารถบอกได้ว่าหน่วยความจําชนิดใดเป็นหน่วย
ความจําชั่วคราวและหน่วยความจําชนิดใดเป็น
หน่วยความจําถาวร
หน่วยเรียนที่ 4 หน่วยแสดงผล(Output Unit)
รายละเอียดเนื้อหา วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
4. หน่วยแสดงผล(Output Unit)
4.1 Monitor
4.2 Printer
4.3 Plotter
4.4 Projector
4.5 Speaker
4.1 อธิบายความหมายแลของอุปกรณ์ทางด้าน
เอ้าท์พุทได้
4.2 บอกได้ว่าอุปกรณ์ชนิดใดเป็นอุปกรณ์แสดงผล
4.3 เข้าใจหน้าที่การทํางานของอุปกรณ์เอ้าท์พุทแต่ละตัว
4.4 อธิบายข้อแตกต่างของการนําอุปกรณ์เอ้าท์พุท
ไปใช้งานได้
4.5 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์เอ้าท์พุทได้อย่างถูกต้อง
ลําดับการนําเสนอเนื้อหาบทเรียน
CourseFlow Chart
Module 2
หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)
เริ่มเข้าสู่บทเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
จบบทเรียน
Module 1
หน่วยรับข้อมูล(Input Unit)
Module 4
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
Module 3
หน่วยความจํา (Memory)
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยรับข้อมูล
(Input Unit)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
Keyboard MicrophoneScanner
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก
Mouse JoystickDigital Camera
การนําเสนอเนื้อหา
Module 1
หน่วยประมวลผลกลาง
(CPU)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
ALU CU
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก การนําเสนอเนื้อหา
Module 2
หน่วยความจํา
(Memory)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
Main Memory
Floppy Disk
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก การนําเสนอเนื้อหา
Module 3
Secondary Memory
RAM ROM Hard Disk CD ROM DVD ROM Tape
หน่วยแสดงผล
(Output Unit)
แบบทดสอบก่อนเรียน(Pre-Test)
Monitor ProjectorPlotter
แบบทดสอบหลังเรียน
(Posttest)
กลับเมนูหลัก
Printer Speaker
การนําเสนอเนื้อหา
Module 4
Script writer …วิภารัตน์ พุกเงิน…..……Graphic……….วิภารัตน์ พุกเงิน………………..……...
VDO Shooter……-……………………….Narrator…..….วิภารัตน์ พุกเงิน………………..……....
Supervisor……เชษฐา คงพลปาน……..…Inspector…..…ณรงค์ชัย สุขสวคนธ์ ….……………...…
Approved…….รศ. ไพโรจน์ ตีรณธนากุล...Date…………………….…………..……………………...
Note……………………………………………………………………………….
Narration Script…สวัสดีครับยินดีต้อนรับสู่หน่วยเรียนที่2 ทฤษฎีทาง
ไฟฟ้ าขั้นพื้นฐานผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเรื่องใดก่อนก็ได้แต่ถ้าจะให้สัมฤทธิ์ผล
ผู้เรียนควรเลือกเรียนตามลําดับขั้นดังนี้ทําแบบทดสอบก่อนเรียน เมื่อทําแบบ
ทดสอบก่อนเรียนเสร็จแล้วให้กลับมาเรียนเนื้อหาเรื่องกฎของโอห์มกําลังไฟฟ้ าและ
พลังงานไฟฟ้ าตามลําดับหลังจากเรียนเนื้อหาจบแล้วให้กลับไปทําแบบทดสอบ
หลังเรียนต่อไป
Screen Show-out………………-………………...…………………………...
……………………………………….……………………..
……………………………………………………………...
Picture/VDO……กฎของโอห์ม……. File name..…Ohm.jpg ….………..…
…….กําลังไฟฟ้ า…….... File name ….Power.jpg..…………..
…….พลังงานไฟฟ้ า..…. File name …. Energy.jpg………….
………..……………….File name……………………………
File name..………………Module2……………………..……………………...
Filein From
...MainMenu...
……………..……
……………..
………………..
Effect
Click รายการหลักกลับแผนภูมิ
Click.รูปเข้าสู่บทเรียน………….
Click.ปุ่ มคําสั่งเข้าสู่คํ าสั่งต่าง ๆ….
……..…………………………....
File Out to
...MainMenu...
…………………
…………………
…….…………..
Subject ...หน่วยเรียนที่2 ทฤษฎีทางไฟฟ้ าขั้นพื้นฐาน…...
Title ...SubMenu: หัวเรื่องหน่วย2……………………..
Page no ..02-1..sheet no ..01..Main Icon …Basic…...
Comp.&IT (SIE)
ComputerInstructionScript
Form No.…002…
ตรา
กฎของโอห์ม
กําลังไฟฟ้ า
พลังงานไฟฟ้ า
ทฤษฎีทางไฟฟฟ้าขั้นพื้นฐาน
ทฤษฎีวงจรไฟฟฟ้ากระแสตรงรายการหลัก
ส่วนช่วยเหลือแบบทดสอบ ออก
ศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ที่มา: http://elearning.stkc.go.th
อีเลิร์นนิงของของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: M@xlearn
ที่มา: https://course.ku.ac.th/lms
http://www.e-trainingvec.org
การเขียนรายงานผลการจัดการเรียนการสอน
เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
เทคนิคบริหารจัดการเอกสารตามระเบียบงานสารบรรณ
http://www.e-trainingvec.org
http://www.slideshare.net/drpanita
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
หัวหน้าศูนย์วิจัยการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
สํานักวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
panitaw@kmutnb.ac.th
http://www.panitaw.com
http://www.facebook.com/drpanita

More Related Content

What's hot

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
Surapon Boonlue
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
Anucha Somabut
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Teerasak Nantasan
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
Surapon Boonlue
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
Tar Bt
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
Tar Bt
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
Kittipun Udomseth
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
Surapon Boonlue
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
Surapon Boonlue
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
Surapon Boonlue
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนjanepi49
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
Surapon Boonlue
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Thamonwan Kottapan
 

What's hot (20)

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Social network training
Social network trainingSocial network training
Social network training
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบ u-L...
 
Ict for edu primary school surapon
Ict for edu primary school  suraponIct for edu primary school  surapon
Ict for edu primary school surapon
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐานเทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
เทคนิคการสอนโดยไอซีทีเป็นฐาน
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Innovation chapter 8
Innovation chapter 8Innovation chapter 8
Innovation chapter 8
 

Viewers also liked

77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
LUKNONGLUK
 
e-Learning
e-Learninge-Learning
e-Learning
Prachyanun Nilsook
 
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
Parichart Ampon
 
โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์
Pongpitak Toey
 
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera Supa CPC
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
Tasanee Nunark
 
Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Viewers also liked (8)

77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
 
e-Learning
e-Learninge-Learning
e-Learning
 
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
 
E learning
E learningE learning
E learning
 
โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์โครงสร้างเว็บไซต์
โครงสร้างเว็บไซต์
 
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้Graphic organizer
 
Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 

Similar to Strategy for designing and developing Interactive e-Learning

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
CUPress
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
Oumim'Ch BkkClash
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Ged Gis
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
อบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
อบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการอบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
อบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
Weerachat Martluplao
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
Pornpailin
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
Tar Bt
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
Bas Kit
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textChangnoi Etc
 

Similar to Strategy for designing and developing Interactive e-Learning (20)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
บทท 8
บทท   8บทท   8
บทท 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
อาม
อามอาม
อาม
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
อบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
อบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการอบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
อบรม Android Application ที่พัฒนาในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
งานคอมม
งานคอมมงานคอมม
งานคอมม
 
งานคอมม
งานคอมมงานคอมม
งานคอมม
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb

USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Working process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryWorking process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st century
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutionsStudy of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
 
Working process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st centuryWorking process of digital journalists in the 21st century
Working process of digital journalists in the 21st century
 
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
Development of a ubiquitous learning system with scaffolding and problem base...
 
The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...The design of cloud computing management information system accordance with t...
The design of cloud computing management information system accordance with t...
 
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutionsStudy of e waste management with green ict in thai higher education institutions
Study of e waste management with green ict in thai higher education institutions
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

Strategy for designing and developing Interactive e-Learning