SlideShare a Scribd company logo
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นระดับ มัธยม ม. 1-6
มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
อย่าง รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ สิ่งแวดล้อม
สาระที่ ๘ เทคโนโลยี
ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
แสดงลาดับ ขั้นตอน
การทางานหรือการ
แก้ปัญหาอย่าง ง่าย
โดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือ
ข้อความ
เขียนโปรแกรม อย่าง
ง่าย โดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือ สื่อ
และตรวจหา
ข้อผิดพลาดของ
โปรแกรม
แสดงอัลกอริทึม ใน
การทางาน หรือการ
แก้ปัญหาอย่าง ง่าย
โดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือ
ข้อความ
ออกแบบ และ เขียน
โปรแกรม อย่างง่าย
โดยใช้ ซอฟต์แวร์
หรือ สื่อ และตรวจหา
ข้อผิดพลาดและ
แก้ไข
ออกแบบและ เขียน
โปรแกรมที่มีการ ใช้
เหตุผลเชิง ตรรกะ
อย่างง่าย ตรวจหา
ข้อผิดพลาดและ
แก้ไข
ออกแบบและ เขียน
โปรแกรม อย่างง่าย
เพื่อ แก้ปัญหาในชีวิต
ประจาวัน ตรวจหา
ข้อผิดพลาดของ
โปรแกรมและ แก้ไข
เขียนโปรแกรม อย่าง
ง่าย โดยใช้
ซอฟต์แวร์ หรือ สื่อ
ใช้เทคโนโลยีใน การ
สร้าง จัด หมวดหมู่
ค้นหา จัดเก็บ
เรียกใช้ ข้อมูลตาม
วัตถุประสงค
เขียนโปรแกรม อย่าง
ง่าย โดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือ สื่อ
และตรวจหา
ข้อผิดพลาดของ
โปรแกรม
ใช้อินเทอร์เน็ต
ค้นหาความรู้ และ
ประเมิน ความ
น่าเชื่อถือ ของข้อมูล
ใช้อินเทอร์เน็ต
ค้นหาข้อมูล
ติดต่อสื่อสาร และ
ทางาน ร่วมกัน
ประเมินความ
น่าเชื่อถือของ ข้อมูล
ใช้อินเทอร์เน็ต ใน
การค้นหา ข้อมูล
อย่างมี ประสิทธิภาพ
ใช้เทคโนโลยีใน การ
สร้าง จัดเก็บ เรียกใช้
ข้อมูล ตาม
วัตถุประสงค์
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ปฏิบัติ
ตามข้อตกลงใน การ
ใช้ คอมพิวเตอร์
ร่วมกัน ดูแล รักษา
อุปกรณ์เบื้อต้นอย่าง
เหมาะสม
ใช้อินเทอร์เน็ต
ค้นหาความรู้
รวบรวม ประเมิน
นาเสนอข้อมูล และ
สารสนเทศ โดยใช้
ซอฟต์แวร์ ที่
หลากหลาย เพื่อ
แก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวัน
รวบรวม ประเมิน
นาเสนอข้อมูล และ
สารสนเทศ ตาม
วัตถุประสงค์ โดยใช้
ซอฟต์แวร์ หรือ
บริการบน
อินเทอร์เน็ตที่
หลากหลาย เพื่อ
แก้ปัญหาใน
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ท างาน
ร่วมกัน อย่าง
ปลอดภัย เข้าใจสิทธิ
และ หน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิ ของ
ผู้อื่น แจ้ง ผู้เกี่ยวข้อง
เมื่อพบ ข้อมูลหรือ
บุคคลที่ไม่ เหมาะสม
ตัวชี้วัดชั้นปี
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ปฏิบัติ
ตามข้อตกลงใน การ
ใช้ คอมพิวเตอร์
ร่วมกันดูแลรักษา
อุปกรณ์เบื้องต้น ใช้
งานอย่าง เหมาะสม
รวบรวม ประมวลผล
และ นาเสนอข้อมูล
โดยใช้ซอฟต์แวร์
ตามวัตถุประสงค์
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย เข้าใจ สิทธิ
และหน้าที่ ของตน
เคารพใน สิทธิของ
ผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อง
เมื่อพบข้อมูล หรือ
บุคคลที่ ไม่เหมาะสม
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย มี มารยาท
เข้าใจสิทธิและ หน้าที่
ของตน เคารพใน
สิทธิ ของผู้อื่น แจ้ง
ผู้เกี่ยวข้อง เมื่อ พบ
ข้อมูลหรือ บุคคลที่
ไม่เหมาะสม
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ปฏิบัติตาม
ข้อตกลงในการ ใช้
อินเทอร์เน็ต
มาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และ
การ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
สาระที่ ๘ เทคโนโลยี
ตัวชี้วัดชั้นปี
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
ออกแบบ อัลกอริทึมที่
ใช้ แนวคิดเชิง
นามธรรมเพื่อ
แก้ปัญหาหรือ
อธิบายการ ทางานที่
พบใน ชีวิตจริง
ออกแบบ อัลกอริทึมที่
ใช้ แนวคิดเชิง ค
านวณในการ
แก้ปัญหา หรือ การท
างานที่พบ ในชีวิตจริง
พัฒนาแอพ พลิเคชัน
ที่มีการ บูรณาการกับ
วิชา อื่นอย่าง
สร้างสรรค์
ประยุกต์ใช้ แนวคิด
เชิง ค านวณในการ
พัฒนาโครงงานที่ มี
การบูรณาการ กับ
วิชาอื่นอย่าง
สร้างสรรค์ และ
เชื่อมโยงกับชีวิต จริง
รวบรวม วิเคราะห์
ข้อมูล และ ใช้ความรู้
ด้าน วิทยาการ
คอมพิวเตอร์ สื่อ
ดิจิทัล เทคโนโลยี
สารสนเทศในการ
แก้ปัญหาหรือเพิ่ม
มูลค่าให้กับบริการ
หรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้
ในชีวิตจริงอย่าง
สร้างสรรค์
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการ น า
เสนอและ แบ่งปัน
ข้อมูลอย่าง ปลอดภัย
มี จริยธรรม และ
วิเคราะห์การ
เปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี
สารสนเทศที่มีผล ต่อ
การด าเนินชีวิต
อาชีพ สังคม และ
วัฒนธรรม
ออกแบบและ เขียน
โปรแกรม อย่างง่าย
เพื่อ แก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์หรือ
วิทยาศาสตร
ออกแบบและ เขียน
โปรแกรมที่ ใช้ตรรกะ
และ ฟังก์ชันในการ
แก้ปัญหา
รวบรวมข้อมูล
ประมวลผล
ประเมินผล น าเสนอ
ข้อมูล และสารสนเทศ
ตามวัตถุประสงค์ โดย
ใช้ซอฟต์แวร์ หรือ
บริการบน
อินเทอร์เน็ตที่
หลากหลาย
ตัวชี้วัดชั้นปี
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
รวบรวมข้อมูล ปฐม
ภูมิ ประมวลผล
ประเมินผล น าเสนอ
ข้อมูล และสารสนเทศ
ตามวัตถุประสงค์ โดย
ใช้ซอฟต์แวร์ หรือ
บริการบน
อินเทอร์เน็ตที่
หลากหลาย
อภิปราย
องค์ประกอบและ
หลักการท างาน ของ
ระบบ คอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยี การ
สื่อสาร เพื่อ
ประยุกต์ใช้งาน หรือ
แก้ปัญหา เบื้องต้น
ประเมินความ
น่าเชื่อถือของ ข้อมูล
วิเคราะห์ สื่อและ
ผลกระทบจาก การให้
ข่าวสารที่ ผิด เพื่อการ
ใช้ งานอย่างรู้เท่า ทัน
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ใช้สื่อ และ
แหล่งข้อมูล ตาม
ข้อกาหนด และ
ข้อตกลง
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย มีความ
รับผิดชอบ สร้าง และ
แสดงสิทธิใน การ
เผยแพร่ ผลงาน
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่าง
ปลอดภัยและมี ความ
รับผิดชอบ ต่อสังคม
ปฏิบัติ ตามกฎหมาย
เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
ใช้ ลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
โดยชอบธรรม
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้ปรับปรุงหลักสูตรตามนโยบาย
ของรัฐบาล ที่ต้องการขับเคลื่อนประเทศไทยโดยการสร้างรายได้จากนวัตกรรมเป็นหลัก หรือ ไทยแลนด์ 4.0 ต้องสร้างกาลังคนที่มีความ
เข้มแข็งในองค์ความรู้ด้าน SMT (Science, Mathematics and Technology) เป็นฐานในการสร้างนวัตกรรม จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนที่
ต้องปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีออกมาทาให้ขาดความเชื่อมโยงจากเนื้อหา
นาไปสู่การปฏิบัติ ทาให้นักเรียนขาดทักษะปฏิบัติการต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการเรียนวิทยาศาสตร์ การออกแบบและเทคโนโลยีและ
สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีผลให้การจัดการเรียนรู้ในสาระดังกล่าวเน้นการ
เรียนเพื่อเป็นผู้ใช้งานเครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องและปลอดภัยมากกว่าการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของผู้เรียนเพื่อเป็นผู้สร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีเดิม การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้ลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา เน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา เพิ่มการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะในการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อตอบรับกับการพัฒนากาลังคนให้มีศักยภาพสูงในการเพิ่ม
ขีดความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ นอกจากนั้น สิ่งที่ สสวท. ได้ทาไว้รองรับหลังจากประกาศใช้หลักสูตรใหม่ ก็คือ การ
จัดทาคู่มือการใช้หลักสูตร ในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ซึ่งครูและโรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมและจัดการ
เรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนสานักพิมพ์อื่นๆ ที่สนใจสามารถดาเนินการผลิตหนังสือเรียนตามกรอบหลักสูตรใหม่
ได้อย่างสะดวก โดยใช้กิจกรรมและแนวทางการจัดกิจกรรมจากคู่มือการใช้หลักสูตรนี้ได้เช่นกัน
จากการเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ในแง่มุมต่างๆ โดยใช้หลักการและ
ผลการวิจัยหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ผ่านมา ในมุมมองของนักศึกษาครูคอม ดี
หรือมีข้อจากัดอย่างไรบ้าง
นางสาวกองแก้ว ดอกคา
รหัสนักศึกษา 573050662-7
สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
237400 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT
IN SECONDARY SCHOOL
การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา
ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์

More Related Content

What's hot

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยสิปป์แสง สุขผล
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
kruthai40
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
sripayom
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 

What's hot (20)

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 

Similar to วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตร
Yuttana Sojantuek
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
Winmixhaha TheJude
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
Pornwipa Onlamul
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
suwanna champasak
 
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
Nong Earthiiz
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
Ployza Com-ed
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
narissararuksri
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
Atigarn Tingchart
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
Phunthawit
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็กเปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
ธนชัย สถาพรสุข
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
Kitsanee Homewong
 
อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33อ.แหม่ม33
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
natthasarttier
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
maitree_s
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
HeroFirst BirdBird
 
Dpu template 462-n
Dpu template 462-nDpu template 462-n
Dpu template 462-n
NuchanatJaroensree
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
Meenarat Bunkanha
 
รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้
รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้
รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้
visanu murijun
 

Similar to วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) (20)

วิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์หลักสูตร
วิเคราะห์หลักสูตร
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตรภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
ภารกิจการเปรียบเทียบหลักสูตร
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง2551
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กับ มาตรฐานการเรียนรู...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็กเปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
เปรียบเทียบตัวชี้วัดเล็ก
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑   ๖
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ๖
 
อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33อ.แหม่ม33
อ.แหม่ม33
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์) ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
ตารางเปรียบเทียบ ตัวชี้วัด(วิชาคอมพิวเตอร์)
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง...
 
Dpu template 462-n
Dpu template 462-nDpu template 462-n
Dpu template 462-n
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนก...
 
รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้
รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้
รายวิชา การออกแบบการจัดการเรียนรู้
 

วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

  • 1. เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นระดับ มัธยม ม. 1-6
  • 2. มาตรฐาน ว ๘.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่าง รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ สิ่งแวดล้อม สาระที่ ๘ เทคโนโลยี
  • 3. ตัวชี้วัดชั้นปี ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 แสดงลาดับ ขั้นตอน การทางานหรือการ แก้ปัญหาอย่าง ง่าย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ ข้อความ เขียนโปรแกรม อย่าง ง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือ สื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดของ โปรแกรม แสดงอัลกอริทึม ใน การทางาน หรือการ แก้ปัญหาอย่าง ง่าย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ ข้อความ ออกแบบ และ เขียน โปรแกรม อย่างง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือ สื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดและ แก้ไข ออกแบบและ เขียน โปรแกรมที่มีการ ใช้ เหตุผลเชิง ตรรกะ อย่างง่าย ตรวจหา ข้อผิดพลาดและ แก้ไข ออกแบบและ เขียน โปรแกรม อย่างง่าย เพื่อ แก้ปัญหาในชีวิต ประจาวัน ตรวจหา ข้อผิดพลาดของ โปรแกรมและ แก้ไข เขียนโปรแกรม อย่าง ง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือ สื่อ ใช้เทคโนโลยีใน การ สร้าง จัด หมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ ข้อมูลตาม วัตถุประสงค เขียนโปรแกรม อย่าง ง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือ สื่อ และตรวจหา ข้อผิดพลาดของ โปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ต ค้นหาความรู้ และ ประเมิน ความ น่าเชื่อถือ ของข้อมูล ใช้อินเทอร์เน็ต ค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสาร และ ทางาน ร่วมกัน ประเมินความ น่าเชื่อถือของ ข้อมูล ใช้อินเทอร์เน็ต ใน การค้นหา ข้อมูล อย่างมี ประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีใน การ สร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ ข้อมูล ตาม วัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏิบัติ ตามข้อตกลงใน การ ใช้ คอมพิวเตอร์ ร่วมกัน ดูแล รักษา อุปกรณ์เบื้อต้นอย่าง เหมาะสม ใช้อินเทอร์เน็ต ค้นหาความรู้ รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล และ สารสนเทศ โดยใช้ ซอฟต์แวร์ ที่ หลากหลาย เพื่อ แก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูล และ สารสนเทศ ตาม วัตถุประสงค์ โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือ บริการบน อินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย เพื่อ แก้ปัญหาใน ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ท างาน ร่วมกัน อย่าง ปลอดภัย เข้าใจสิทธิ และ หน้าที่ของตน เคารพในสิทธิ ของ ผู้อื่น แจ้ง ผู้เกี่ยวข้อง เมื่อพบ ข้อมูลหรือ บุคคลที่ไม่ เหมาะสม
  • 4. ตัวชี้วัดชั้นปี ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏิบัติ ตามข้อตกลงใน การ ใช้ คอมพิวเตอร์ ร่วมกันดูแลรักษา อุปกรณ์เบื้องต้น ใช้ งานอย่าง เหมาะสม รวบรวม ประมวลผล และ นาเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย เข้าใจ สิทธิ และหน้าที่ ของตน เคารพใน สิทธิของ ผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้อง เมื่อพบข้อมูล หรือ บุคคลที่ ไม่เหมาะสม ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย มี มารยาท เข้าใจสิทธิและ หน้าที่ ของตน เคารพใน สิทธิ ของผู้อื่น แจ้ง ผู้เกี่ยวข้อง เมื่อ พบ ข้อมูลหรือ บุคคลที่ ไม่เหมาะสม ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏิบัติตาม ข้อตกลงในการ ใช้ อินเทอร์เน็ต
  • 5. มาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และ การ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม สาระที่ ๘ เทคโนโลยี
  • 6. ตัวชี้วัดชั้นปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 ออกแบบ อัลกอริทึมที่ ใช้ แนวคิดเชิง นามธรรมเพื่อ แก้ปัญหาหรือ อธิบายการ ทางานที่ พบใน ชีวิตจริง ออกแบบ อัลกอริทึมที่ ใช้ แนวคิดเชิง ค านวณในการ แก้ปัญหา หรือ การท างานที่พบ ในชีวิตจริง พัฒนาแอพ พลิเคชัน ที่มีการ บูรณาการกับ วิชา อื่นอย่าง สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ แนวคิด เชิง ค านวณในการ พัฒนาโครงงานที่ มี การบูรณาการ กับ วิชาอื่นอย่าง สร้างสรรค์ และ เชื่อมโยงกับชีวิต จริง รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูล และ ใช้ความรู้ ด้าน วิทยาการ คอมพิวเตอร์ สื่อ ดิจิทัล เทคโนโลยี สารสนเทศในการ แก้ปัญหาหรือเพิ่ม มูลค่าให้กับบริการ หรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ในชีวิตจริงอย่าง สร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการ น า เสนอและ แบ่งปัน ข้อมูลอย่าง ปลอดภัย มี จริยธรรม และ วิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี สารสนเทศที่มีผล ต่อ การด าเนินชีวิต อาชีพ สังคม และ วัฒนธรรม ออกแบบและ เขียน โปรแกรม อย่างง่าย เพื่อ แก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์หรือ วิทยาศาสตร ออกแบบและ เขียน โปรแกรมที่ ใช้ตรรกะ และ ฟังก์ชันในการ แก้ปัญหา รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล น าเสนอ ข้อมูล และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดย ใช้ซอฟต์แวร์ หรือ บริการบน อินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย
  • 7. ตัวชี้วัดชั้นปี ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวบรวมข้อมูล ปฐม ภูมิ ประมวลผล ประเมินผล น าเสนอ ข้อมูล และสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดย ใช้ซอฟต์แวร์ หรือ บริการบน อินเทอร์เน็ตที่ หลากหลาย อภิปราย องค์ประกอบและ หลักการท างาน ของ ระบบ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี การ สื่อสาร เพื่อ ประยุกต์ใช้งาน หรือ แก้ปัญหา เบื้องต้น ประเมินความ น่าเชื่อถือของ ข้อมูล วิเคราะห์ สื่อและ ผลกระทบจาก การให้ ข่าวสารที่ ผิด เพื่อการ ใช้ งานอย่างรู้เท่า ทัน ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ใช้สื่อ และ แหล่งข้อมูล ตาม ข้อกาหนด และ ข้อตกลง ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย มีความ รับผิดชอบ สร้าง และ แสดงสิทธิใน การ เผยแพร่ ผลงาน ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัยและมี ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ปฏิบัติ ตามกฎหมาย เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ใช้ ลิขสิทธิ์ของผู้อื่น โดยชอบธรรม
  • 8. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้ปรับปรุงหลักสูตรตามนโยบาย ของรัฐบาล ที่ต้องการขับเคลื่อนประเทศไทยโดยการสร้างรายได้จากนวัตกรรมเป็นหลัก หรือ ไทยแลนด์ 4.0 ต้องสร้างกาลังคนที่มีความ เข้มแข็งในองค์ความรู้ด้าน SMT (Science, Mathematics and Technology) เป็นฐานในการสร้างนวัตกรรม จึงมีความจาเป็นเร่งด่วนที่ ต้องปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีออกมาทาให้ขาดความเชื่อมโยงจากเนื้อหา นาไปสู่การปฏิบัติ ทาให้นักเรียนขาดทักษะปฏิบัติการต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับการเรียนวิทยาศาสตร์ การออกแบบและเทคโนโลยีและ สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีผลให้การจัดการเรียนรู้ในสาระดังกล่าวเน้นการ เรียนเพื่อเป็นผู้ใช้งานเครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องและปลอดภัยมากกว่าการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของผู้เรียนเพื่อเป็นผู้สร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีเดิม การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ได้ลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา เน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา เพิ่มการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะในการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อตอบรับกับการพัฒนากาลังคนให้มีศักยภาพสูงในการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ นอกจากนั้น สิ่งที่ สสวท. ได้ทาไว้รองรับหลังจากประกาศใช้หลักสูตรใหม่ ก็คือ การ จัดทาคู่มือการใช้หลักสูตร ในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ซึ่งครูและโรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมและจัดการ เรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนสานักพิมพ์อื่นๆ ที่สนใจสามารถดาเนินการผลิตหนังสือเรียนตามกรอบหลักสูตรใหม่ ได้อย่างสะดวก โดยใช้กิจกรรมและแนวทางการจัดกิจกรรมจากคู่มือการใช้หลักสูตรนี้ได้เช่นกัน จากการเปรียบเทียบตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ในแง่มุมต่างๆ โดยใช้หลักการและ ผลการวิจัยหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ผ่านมา ในมุมมองของนักศึกษาครูคอม ดี หรือมีข้อจากัดอย่างไรบ้าง
  • 9. นางสาวกองแก้ว ดอกคา รหัสนักศึกษา 573050662-7 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 237400 DESIGNING COMPUTER LEARNING MANAGEMENT IN SECONDARY SCHOOL การออกแบบการจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ในระดับมัธยมศึกษา ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์