SlideShare a Scribd company logo
การผลิตสื่อกราฟิก
เพื่อการเรียนการสอน
สถานการณ์ปัญหา
ในคาบเรียนนี้นักศึกษาได้รับหน้าที่ในการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบวัสดุกราฟิก ซึ่ง
ปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ที่คลินิก รับปรึกษาปัญหาการผลิตสื่อ ซึ่งในวันนี้ก็มีคุณครู 5 คน เข้ามาปรึกษากับคุณ
ซึ่งประกอบด้วย
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็น
นามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอน และช่วยในการ
สรุปเนื้อหาที่สอน
คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทา
งานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติจานวนนักเรียนทุก
ระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรใน
โรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียนเกิด
ความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และ
ให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด
ภารกิจที่ 1
เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ
ความต้องการของคุณครูแต่ละคน พร้อม
อธิบายเหตุผลในการเลือกและคุณลักษณะของ
วัสดุกราฟิกที่สําคัญที่เลือกใช้
ครูแดน
• มีความต้องการดังนี้
- นําเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ 2 สิ่งขึ้นไป
- ต้องการให้นักเรียนมีความคิดรวบยอด
- สร้างเนื้อหาจากสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
• เหมาะจะเลือกใช้สื่อวัสดุกราฟิกแบบ แผนภูมิ
• เหตุผลที่เลือก แผนภูมิ นั้นเนื่องจากว่า แผนภูมิมีลักษณะที่สอดคล้องกับ
งานของครูแดนหลายอย่าง เช่น
1.การแสดงความเกี่ยวข้อง 2 สิ่งขึ้นไป (เวลา, จํานวน,ลําดับขั้น)
2.การอธิบายให้เป็นรูปธรรม
3.การกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิด
4.สามารถสร้างในรูปแบบการสรุปแผนงานได้
ครูรุท
• มีความต้องการดังนี้
- ให้นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์
- นักเรียนสามารถเข้าใจถึงส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
• เหมาะจะเลือกใช้สื่อวัสดุกราฟิกแบบ แผนภาพ
• เหตุผลที่เลือก แผนภาพ นั้นเนื่องจากว่า แผนภาพมีลักษณะที่
สอดคล้องกับงานของครูรุท หลายอย่าง เช่น
1. แผนภาพสามารถอธิบายเรื่องที่ยากแก่การเข้าใจได้ง่าย
2. แสดงความสําคัญของส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย
3. แสดงให้เห็นกระบวนการของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เข้าใจง่าย
ครูอั้ม
• มีความต้องการดังนี้
- ต้องการสรุปสถิติจํานวนนักเรียน
- สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนทุกภาคศึกษา
• เหมาะจะเลือกใช้สื่อวัสดุกราฟิกแบบ แผนสถิติ
• เหตุผลที่เลือก แผนสถิติ นั้นเนื่องจากว่า แผนสถิติมีลักษณะที่สอดคล้อง
กับงานของคุณครูอั้ม หลายอย่าง เช่น
1. แสดงข้อมูล ข้อเท็จจริงได้ถูกต้องกว่าแบบอื่น
2. สามารถอ่านค่าได้ง่าย ทําความเข้าใจได้มากกว่าแบบอื่น
3. สามารถสรุปข้อมูลแบบตัวเลขได้ดี
4. สามารถเห็นปริมาณข้อมูลทั้งหมด และสัดส่วนแต่ละข้อมูลย่อย
ครูพอลล่า
• มีความต้องการดังนี้
- ต้องการสิ่งที่สามารถดึงดูดความสนใจจากเด็กเล็กๆได้
- นักเรียนเกิดจินตนาการและความสนุกสนาน
• เหมาะจะเลือกใช้สื่อวัสดุกราฟิกแบบ การ์ตูน
• เหตุผลที่เลือก การ์ตูน นั้นเนื่องจากว่า การ์ตูน มีลักษณะที่สอดคล้องกับ
งานของครูพอลล่า หลายอย่าง เช่น
1. หากใช้รูปภาพการ์ตูน นําเข้าสู่บทเรียน จะช่วยเร้าความสนใจและ
ดึงดูดผู้เรียน
2. ใช้อธิบายเรื่องราวต่าง โดยผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย
3. ใช้สรุปบทเรียน ทําให้ผู้เรียนจําเนื้อหาในบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น
ครูศรราม
• มีความต้องการดังนี้
- ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้นักเรียนมาเล่นกีฬา
- รณรงค์ให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด
• เหมาะจะเลือกใช้สื่อวัสดุกราฟิกแบบ ภาพโฆษณา
• เหตุผลที่เลือก ภาพโฆษณา นั้นเนื่องจากว่า ภาพโฆษณา
มีลักษณะที่สอดคล้องกับงานของครูศรราม หลายอย่าง เช่น
1. สามารถกระตุ้นให้ผู้อ่านเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
2. เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารได้
3. รณรงค์ให้บุคคลร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆที่
หน่วยงานจัดขึ้น
ออกแบบการนําเสนอข้อมูล
โดยใช้คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่
สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระการ
เรียนรู้วิชาเอกของคุณ
ภารกิจที่ 2
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับเนื้อหา
สาระวิชาคณิตศาสตร์
 แผนภูมิ
 แผนสถิติ
 แผนภูมิ
 แผนสถิติ
• แผนสถิติแบบเส้น
• แผนสถิติแบบแท่ง
• แผนสถิติแบบวงกลม
• แผนสถิติแบบรูปภาพ
แผนสถิติแบบเส้น
แผนสถิติแบบเส้น สามารถแสดงข้อมูล ข้อเท็จจริงได้ถูกต้องกว่าแบบอื่นๆเหมาะสําหรับ
ใช้แสดงข้อมูล ที่มีความสัมพันธ์กัน 2 มาตรา โดยเฉพาะระหว่างมาตราจํานวน หรือปริมาณกับ
เวลาที่เดียวกับปริมาณนั้นๆ โดยที่ แกนนอนแสดงเวลา แกนตั้งแสดงจํานวน
โดยการนําแผนสถิติแบบรูปภาพมาใช้ในการนําเสนอข้อมูลทางคณิตศาสตร์กับนักเรียน
ซึ่งในการใช้ลักษณะของกราฟเส้นนี้ จะเห็นความแตกต่างในแต่ละช่วงและเห็นแนวโน้มเพิ่มขึ้น
และลดลงอย่างเป็นลําดับขั้นและชัดเจน
แผนสถิติแบบแท่ง
แผนสถิติที่ทําง่ายและอ่านเข้าใจง่ายกว่าแบบอื่นเหมาะสําหรับเปรียบเทียบ ข้อมูลหลาย
ชนิดมีลักษณะความยาวของแท่งปริมาณข้อมูล
โดยการนําแผนสถิติแบบรูปภาพมาใช้ในการนําเสนอข้อมูลทางคณิตศาสตร์กับนักเรียน
โดยการสอนเรื่องจํานวน ให้นักเรียนใช้แผนภูมิแท่งมาเปรียบเทียบจํานวนได้อย่างเข้าใจง่าย
แผนสถิติแบบวงกลม
แผนสถิติที่แสดงให้เห็นปริมาณหรือจํานวนข้อมูลส่วนรวมทั้งหมดกับส่วนย่อย โดยแบ่ง
มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมออกเป็นองศาตามสัดส่วนของจํานวนข้อมูลที่แสดง
โดยการนําแผนสถิติแบบรูปภาพมาใช้ในการนําเสนอข้อมูลทางคณิตศาสตร์กับนักเรียน
อาจใช้ในการสํารวจ ว่านักเรียนชื่นชอบเรื่องใด แล้วนําเสนอข้อมูลเหล่านั้น โดยใช้แผนภูมิวงกลม
ซึ่งทําให้เห็นภาพอัตราส่วนได้อย่างชัดเจน
แผนสถิติแบบรูปภาพ
แผนสถิติแบบแท่งอีกประเภทหนึ่ง แต่ใช้รูปภาพแทนแท่งในการแสดงจํานวนหรือ
ปริมาณของ ข้อมูล โดยกําหนดสัดส่วนปริมาณของข้อมูล
โดยการนําแผนสถิติแบบรูปภาพมาใช้ในการนําเสนอข้อมูลทางคณิตศาสตร์กับนักเรียน
จากแบบจํานวนให้เห็นแบบรูปภาพ ซึ่งจากนามธรรมเป็นรูปธรรมทําให้เด็กสามารถเข้าใจจํานวน
นั้นๆได้มากยิ่งขึ้น
จัดทําโดย
สมาชิกกลุ่ม จอมปลวก
• 1.นางสาวอันนา วงศ์พัฒนกิจ 553050007-7
• 2.นางสาวธีรญา ชูเกษ 553050081-5
• 3.นางสาววลัยพรรณ วงศ์สุวรรณ 553050097-0
• 4.นางสาวละมัย คําราช 553050315-6
สาขาคณิตศาสตรศึกษา sec.2

More Related Content

What's hot

Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Wuth Chokcharoen
 
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนDexdum Ch
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกjittraphorn
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนFern's Supakyada
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8LALILA226
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
lalidawan
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนjanepi49
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Teerasak Nantasan
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Thamonwan Kottapan
 

What's hot (13)

Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8การผลิต สื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8
 
Chapter 8 pdf
Chapter 8 pdfChapter 8 pdf
Chapter 8 pdf
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 

Similar to Chapter.8

Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChanissata Rakkhuamsue
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8FerNews
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Sattakamon
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Kanatip Sriwarom
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
Oumim'Ch BkkClash
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pari Za
 
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
Suparat Boonkum
 

Similar to Chapter.8 (17)

Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนChapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทท 8
บทท  8บทท  8
บทท 8
 
Innovation chapter 8
Innovation chapter 8Innovation chapter 8
Innovation chapter 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
 

More from Anna Wongpattanakit

Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)
Anna Wongpattanakit
 
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาเรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาAnna Wongpattanakit
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Anna Wongpattanakit
 
Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Anna Wongpattanakit
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อAnna Wongpattanakit
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 

More from Anna Wongpattanakit (20)

Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)
 
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาเรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
 
Chaapter9
Chaapter9Chaapter9
Chaapter9
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Introduction to technologies and educational media chapter1
Introduction to technologies  and educational media chapter1Introduction to technologies  and educational media chapter1
Introduction to technologies and educational media chapter1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 

Chapter.8