SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 8
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
สถานการณ์ปัญหา
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป และเนื้อหามีความเป็น
นามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้ ความคิดรวบยอด (Concept) ของเรื่องที่สอนและ
ช่วยในการสรุปเนื้อหาที่สอน
คุณครูรุท เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และในการสอนวันนี้ต้องการให้นักเรียนเข้าใจ ถึง
ระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุปสถิติจานวน
นักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทุกภาคการศึกษาเพื่อ
แสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและบุคคลทั่วไปทราบ
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจของนักเรียนให้นักเรียน
เกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักเรียนหันมาเล่น
กีฬาและให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด
ภารกิจที่ 1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการ
ของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและ
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
คุณครูแดน ต้องการนาเสนอเนื้อหาที่มีความสัมพันธ์ตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป
และเนื้อหามีความเป็นนามธรรม ซึ่งครูแดนต้องการให้นักเรียนได้
ความคิดรวบยอด(Concept) ของเรื่องที่สอนและช่วยในการสรุปเนื้อหาที่
สอน
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ
ความต้องการของคุณครูแดน
แผนภูมิ เพราะแผนภูมิเป็นทัศนวัสดุที่ประกอบด้วยรูปภาพ ลายเส้น สัญลักษณ์ ตัวเลข และ
ข้อความ เพื่อแสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น ความ
ต่อเนื่อง โดยแสดงความสัมพันธ์เหล่านั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น มีประโยชน์ในการนามาใช้ในการเรียน
การสอนที่ช่วยประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ทั้งยังช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียน
ต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น และช่วยสร้างปัญหาและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด
นอกจากนี้ผู้สอนสามารถใช้แผนภูมิในการสรุปหรือทบทวนบทเรียน ซึ่งสอดคล้องกับความ
ต้องการของคุณครูแดน
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญ
 แสดงความเกี่ยวข้องของนามธรรม เช่น จานวน ระยะเวลา ลาดับขั้น
ความต่อเนื่อง
 ใช้ประกอบการอธิบายของครูให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น
 กระตุ้นให้ผู้เรียนต้องการที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น
 และช่วยสร้างปัญหาและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด
การการออกแบบแผนภูมิเพื่อใช้
ในการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบดังนี้
• แผนภูมิแบบตาราง ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นในลักษณะ
ตาราง เพื่อให้ดูแล้วเข้าใจได้ง่าย ส่วนมากจะเป็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเช่นตารางสอน
• แผนภูมิแบบองค์การ และแบบกระบวนการ เป็นแผนภูมิที่เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงขั้นตอน
หรือลาดับในการปฏิบัติงาน กระบวนการปฏิบัติขององค์กร กระบวนการจัดกิจกรรม
• แผนภูมิแบบต้นไม้และลาธาร เป็นแผนภูมิที่นาเสนอเรื่องราวที่เป็นภาพรวมหรือความคิดรวบ
ยอด หรือต้นกาเนิดที่สามารถแยกย่อยออกไปหรือแตกสาขาออกไปเหมือนต้นไม้ ส่วนแบบลา
ธารเป็นการแสดงเนื้อหาที่ให้เห็นส่วนย่อยหลายสาขาที่แยกออกจากต้นกาเนิดเดียวกัน
• แผนภูมิแบบวิวัฒนาการและแบบต่อเนื่อง เป็นการนาเสนอเรื่องราวในอดีตต่อเนื่องมาจนถึง
ปัจจุบัน ซึ่งแสดงได้ทั้งภาพและตัวอักษร โดยเน้นส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมตามลาดับ
แผนภูมิแบบต่อเนื่องจะแสดงสาระที่มีความต่อเนื่องกันเป็นทอดๆตามลาดับ
• แผนภูมิแบบอธิบายภาพ เป็นแผนภูมิที่ใช้สาหรับอธิบายส่วนต่างๆของภาพที่ต้องการโดยเขียน
เส้นโยงกับคาอธิบายสั้น
ภารกิจที่ 1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการ
ของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและ
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
คุณครูรุท เป็น ครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์และในการสอนวันนี้ต้องการให้
นักเรียนเข้าใจถึงระบบการทางานของระบบการทางานของคอมพิวเตอร์
และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ
ความต้องการของคุณครูรุฑ
แผนภาพ เพราะ แผนภาพเป็นภาพลายเส้นหรือทัศนสัญลักษณ์ที่แสดงเค้าโรงของวัตถุ
โครงสร้างที่สาคัญของสิ่งที่เราจะอธิบายให้ง่ายขึ้น แผนภาพสื่อความหมายได้ดี การใช้แผนภาพ
ถ้าใช้คู่กับของจริง จะทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การอธิบายส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
เราใช้แผนภาพโครงร่างของคอมพิวเตอร์ พร้อมกับแสดงของจริงเปรียบเทียบให้ดูด้วย
ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูรุฑ
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญ
 อธิบายเรื่องราวที่ยากแก่การเข้าใจ
 แสดงให้เห็นความสาคัญของส่วนประกอบต่างๆในเรื่องที่อธิบาย
 แสดงให้เห็นกระบวนการของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เข้าใจง่ายขึ้น
ตัวอย่างแผนภาพแสดงส่วนประกอบของอาคาร
คุณครูอั้ม เป็นครูฝ่ายวิชาการของโรงเรียน ซึ่งจะต้องทาหน้าที่การสรุป
สถิติจานวนนักเรียนทุกระดับชั้น(ม.1 - ม.6) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนทุกภาคการศึกษา เพื่อแสดงให้บุคลากรในโรงเรียนและ
บุคคลทั่วไปทราบ
ภารกิจที่ 1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการ
ของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและ
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ
ความต้องการของคุณครูอั้ม
แผนสถิติ เพราะ เป็นแผนภูมิที่ เหมาะกับเนื้อหาที่แสดงการเปรียบเทียบ
ระหว่างจานวน ตัวเลขของสิ่งต่างๆ เช่น จานวนนักเรียนในแต่ละปีการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น เป็นต้น
ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูอั้ม
ภารกิจที่ 1
แผนสถิติมีรูปแบบที่ใช้ในการเรียนการสอนดังนี้
2.1 แผนสถิติแบบเส้น สามารถแสดงข้อมูล ข้อเท็จจริงได้
ถูกต้องกว่าแบบอื่นๆเหมาะสาหรับใช้แสดงข้อมูล ที่มี
ความสัมพันธ์กัน 2 มาตรา โดยเฉพาะระหว่างมาตราจานวน
หรือปริมาณกับเวลาที่เดียวกับปริมาณนั้นๆ โดยที่แกนนอนแสดง
เวลา แกนตั้งแสดงจานวน เมื่อลากเส้นระหว่างจุดเหล่านั้นแล้ว
ทาให้รู้ถึงแนวโน้มของข้อมูลใหม่
2.2 แผนสถิติแบบแท่ง เป็นแผนสถิติที่ทาง่ายและ อ่านเข้าใจ
ง่ายกว่าแบบอื่น เหมาะสาหรับเปรียบเทียบ ข้อมูลหลายชนิด มี
ลักษณะความยาวของแท่งปริมาณข้อมูล ถ้าข้อมูลน้อย แท่งจะ
สั้น ถ้าข้อมูลมากแท่งจะยาว ความกว้างมีขนาดเท่ากัน แกนตั้ง
และแกนนอน จะเปรียบเทียบข้อมูล 2 ประเภทที่เกิดขึ้นในเวลา
เดียวกัน
ตัวอย่างแผนสถิติแบบแท่ง
2.3 แผน สถิติแบบวงกลม เป็นแผนสถิติที่แสดง
ให้เห็นปริมาณหรือจานวนข้อมูลส่วนรวมทั้งหมด
กับส่วนย่อย โดยแบ่งมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลม
ออกเป็นองศาตามสัดส่วนของจานวนข้อมูลที่แสดง
เช่น การแสดงรายจ่ายของนักศึกษาประจาเดือน
เป็นต้น
ตัวอย่างแผนสถิติแบบวงกลม
2.4 แผนสถิติแบบรูปภาพ เป็นแผนสถิติแบบ
แท่งอีกประเภทหนึ่ง แต่ใช้รูปภาพแทนแท่งใน
การแสดงจานวนหรือปริมาณของ ข้อมูล โดย
กาหนดสัดส่วนปริมาณของข้อมูล: รูปภาพ 1 รูป
คุณครูพอลล่า เป็นครูที่สอนในระดับอนุบาล ซึ่งต้องการเร้าความสนใจ
ของนักเรียนให้นักเรียนเกิดความสนุกสนานและเกิดจินตนาการ
ภารกิจที่ 1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการ
ของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและ
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ
ความต้องการของคุณครูพอลล่า
การ์ตูน เพราะการ์ตูน เป็นภาพลายเส้น ซึ่งแสดงสัญลักษณ์ของเรื่องราว
ต่างๆตลอดจน สามารถถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด จินตนาการของผู้วาดซึ่งเป็นการ
ล้อเลียนแสดงอารมณ์ขัน โดยทั่วไปการ์ตูนอาจทาให้ผิดเพี้ยนไปจากธรรมชาติของ
ความเป็นของสิ่งนั้นๆ มากบ้างน้อยบ้าง เพื่อให้ดูแล้วเกิดความสนใจ และความ
สนุกสนาน ภาพการ์ตูนส่วนใหญ่จึงเป็นภาพที่เขียนง่ายๆ
ปัจจุบันการ์ตูนเป็นที่นิยมใช้กันมากในการสื่อความหมาย เพราะ
การ์ตูนเป็นสื่อที่เหมาะสาหรับถ่ายทอดความคิด ทั้งในด้านการเมือง การศึกษา
ศาสนา การประชาสัมพันธ์ เป็นต้นซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูพอลล่า
การ์ตูน สามารถนาไปใช้ได้หลายลักษณะดังนี้
• ใช้นาเข้าสู่บทเรียน เพราะการ์ตูนจะช่วยเร้าความสนใจและดึงดูดให้ผู้เรียน
สนใจในกิจกรรมการเรียนนั้น
• ใช้ในการอธิบายเรื่องราวต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่าย
ในการเรียน และเกิดการเรียนรูได้ดีเพราะมีภาพประกอบ ทาให้สิ่งที่เป็นนามธรรม
เป็นรูปธรรมที่น่าสนใจ
• ใช้สรุปบทเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจาในเนื้อหาบทเรียนได้ดียิ่งขึ้น
• ใช้การ์ตูนกับการเรียนเป็นรายบุคคล ช่วยเด็กที่มีความสามารถทางการเรียนต่า
เพราะการ์ตูนจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจและมีความต้องการที่จะศึกษาเพิ่มขึ้น
• ใช้การ์ตูนประกอบการศึกษา เป็นการ์ตูนที่ใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน
และการศึกษา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
คุณครูศรราม เป็นครูฝ่ายปกครอง ซึ่งต้องการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้
นักเรียนหันมาเล่นกีฬา และให้นักเรียนห่างไกลยาเสพย์ติด
ภารกิจที่ 1 เลือกสื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะความต้องการ
ของคุณครูแต่ละคน พร้อมอธิบายเหตุผลในการเลือกและ
คุณลักษณะของวัสดุกราฟิกที่สาคัญที่เลือกใช้
สื่อวัสดุกราฟิกที่เหมาะสมกับลักษณะ
ความต้องการของคุณครูพอลล่า
ภาพโฆษณา เพราะภาพโฆษณา เป็นการออกแบบซึ่งประกอบด้วย ภาพ
ข้อความ หรือเรื่องราว จุดมุ่งหมายของภาพโฆษณา คือเพื่อกระตุ้นให้ ผู้เปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม ตามจุดประสงค์ของภาพโฆษณานั้นๆ อาจจะเกิดขึ้นช้าหรือเร็วก็ตาม เช่น
การรณรงค์การทิ้งขยะมูลฝอย การรักษาความสะอาด หรือการงดสูบบุหรี่ รณรงค์ต่อต้าน
ยาเสพติด และการวางแผนครอบครัว เป็นต้น
ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของคุณครูศรราม
วัตถุประสงค์ในการผลิตภาพโฆษณา
• ให้คาแนะนาเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
• เชิญชวนให้บุคคลร่วมกิจกรรมที่หน่วยงานจัดขึ้น
• เพื่อสร้างความทรงจาให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย
• เพื่อเสนอเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหรือสรุปเหตุการณ์ที่ผ่านมา
• เพื่อให้ข้อมูลข่าวสาร แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน
• เพื่อรณรงค์ให้บุคคลร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่หน่วยงานจัดขึ้นซึ่ง
จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมและสังคม
ภารกิจที่ 1
ลักษณะภาพโฆษณา (สุมาลี ชัยเจริญ, 2545)
• มีแนวคิดเดียว มีลักษณะที่เข้าใจง่าย สามารถสื่อความหมายได้
ทันที ไม่ต้องเสียเวลา ในการพิจารณา ทาความเข้าใจเลย จะเป็น
การสูญเปล่า
• สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการจัดทา มีการจัดองค์ประกอบ
เหมาะสมทั้งขนาด และรูปภาพประกอบตัวอักษร สัญลักษณ์มี
ความสอดคล้องกัน คือ รูปภาพ ข้อความสั้น ที่กะทัดรัด ชัดเจน
เพื่อช่วยให้เข้าใจได้ง่าย
• ดึงดูดความสนใจของผู้ดู มีความแปลกใหม่น่าสนใจ มีการโน้ม
น้าว เชิญชวนที่พึงกระทาตามเช่น หญิงก็ได้ ชายก็ดี มีแค่สอง
ออกแบบการนาเสนอข้อมูล โดยใช้คุณลักษณะ
ของวัสดุกราฟิกที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชาในสาระ
การเรียนรู้วิชาเอกของคุณ
ในที่นี้กลุ่มเราจะขอนาเสนอการออกแบบการนาเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติ Social network
การออกแบบการ
นาเสนอข้อมูลโดย
ใช้ป้ายนิเทศ
สถิติเกี่ยวกับ Social Network
โดยใช้เนื้อหาด้วยภาพ
วัสดุ ตัวอักษร
ใช้ข้อความบรรยายที่น่าสนใจ
และข้อมูลที่สาคัญ วางไว้
ตาแหน่งมุมซ้ายด้านบน
ใช้โทนสีพื้นหลังในแต่ละหัวข้อโดย
ยึดหลักโทนสีร้อน ซึ่งเป็นสีที่ดึงดูด
ทาให้รู้สึกว่าสิ่งนั้นอยู่ใกล้ โทนสีเย็น
ให้ความรู้สึกที่อยู่ไกล
ใช้สีตัวอักษรให้เหมาะสม
กับสีพื้นหลัง
ใช้แผนสถิติแบบแท่ง
เพื่อเปรียบเทียบข้อมูล
หลายชนิด และแผนสถิติ
แบบวงกลม เพื่อแสดง
จานวนข้อมูลส่วนรวม
ทั้งหมดกับส่วนย่อย
การใช้ Social Network
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลต่อการ
ติดต่อสื่อสารของมนุษย์เป็นอย่างมากโดยเฉพาะในสังคมของวัยรุ่นที่
มีการใช้ Social Network ซึ่งเข้ามามีอิทธิพลต่อการดารงชีวิต
จากการสารวจนักเรียนชั้น ม.3 ทั้งหมด35คน พบว่า
- ใช้ MSN จานวน 10 คน
- ใช้ Twitter จานวน 8 คน
- ใช้ Hi5 จานวน 4 คน
-ใช้ Facebook จานวน 13 คน
จากการสารวจนักเรียนชั้น ม.3 ทั้งหมด 35คน
พบว่า
- จานวนผู้ใช้ MSN คิดเป็นร้อยละ 28.57
- จานวนผู้ใช้ Twitter คิดเป็นร้อยละ 22.86
- จานวนผู้ใช้ Hi5 คิดเป็นร้อยละ 11.43
-จานวนผู้ใช้ Facebook คิดเป็นร้อยละ 37.14
ใช้สีโทนร้อน
หัวข้อสาคัญอยู่มุมซ้ายบน
ใช้แผนสถิติในการนาเสนอ
ใช้พื้นหลังเป็นสีโทนเย็น และเลือกสีตัวอักษรให้เหมาะสม
ภารกิจที่ 2
ผู้จัดทา
นายชินวัตร ชาวันดี 553050067-9
นายธีรศักดิ์ นันทสาร 553050291-4

More Related Content

What's hot

บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกjittraphorn
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
lalidawan
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8LALILA226
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Pronsawan Petklub
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
Oumim'Ch BkkClash
 

What's hot (13)

บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิก
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8
 
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
Chapter8 การผลิตกราฟิกเพื่อการศึกษา (งานกลุ่ม)
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Innovation chapter 8
Innovation chapter 8Innovation chapter 8
Innovation chapter 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 

Similar to Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน

งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
Suparat Boonkum
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Sasitorn Seajew
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8Vi Mengdie
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8FerNews
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
Suparat Boonkum
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Jitthana_ss
 
นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8
Setthawut Ruangbun
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8Bee Bie
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนFern's Supakyada
 

Similar to Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน (20)

งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
งานกลุ่ม นวัตกรรม โด้ 8
 
Lesson8
Lesson8Lesson8
Lesson8
 
Chapter 8 pdf
Chapter 8 pdfChapter 8 pdf
Chapter 8 pdf
 
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่ 8 การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Chapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิChapter 8 อิอิ
Chapter 8 อิอิ
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8นวัตกรรมบทที่ 8
นวัตกรรมบทที่ 8
 
บทท 8
บทท   8บทท   8
บทท 8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 

More from Teerasak Nantasan

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Teerasak Nantasan
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Teerasak Nantasan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Teerasak Nantasan
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศTeerasak Nantasan
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Teerasak Nantasan
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 

More from Teerasak Nantasan (7)

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 

Chapter 8 การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน