SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
บทวิจารณ์หนังสือ
ชื่อหนังสือ
ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
Characteristics of Buddhism
ผู้รจนา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต)
PhraBrahmagunahorn
(P.A. Payutto)
ผู้วิจารณ์
นายชนะยุทธ เกตุอยู่
Mr. Chanayut Ketyoo
อาจริยบูชา
ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา เลิศเลอค่าสติปัญญาพ้นทุกข์
ได้
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์รจนาไว้ เพื่อพุทธศาสน์ขจรไกลทุกชันนชน
พระจอมปราชญ์แห่งพระพุทธศาสนา ทรงคุณค่าพุทธธรรมนาสู่ผล
สร้างสรรค์ทางสว่างจางมืดมน ฤทัยดลประนมหัตถ์นมัสการ
ศ. ดร.พงษ์ศรี เลขะ
วัฒนะ
แปลเป็ น
ภาษาอังกฤษ
ศ. ดร.สมศีล ฌานวังศะ
ช่วยตรวจและเรียบเรียงบันทึกท้าย
รศ. ดร.วิภา ฌาน
วังศะ ทวนทาน
และพิสูจน์อักษร
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ.
ปยุตฺโต) / Somdet Phra
Buddhaghosacharya
(P
. A. Payutto)
วิสัยทัศน์ของผู้รจนา
System Theories
วิสัยทัศน์ของผู้รจนา ๒
Wisdom processor
๑ การเรียงลาดับเนื้อหา
หนังสือเรื่อง “ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา (Characteristics of Buddhism)”รจนาโดย
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) Phra Brahmagunahorn(P
.A. Payutto) ท่าน
จาแนกออกเป็นประเด็นต่างๆ รวมทันงสินน ๑๙ ประเด็น เรียงลาดับตามสารบัญดังต่อไปนีน
๑) ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
๒) ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘
๓) ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัย ๗
๔) มองกว้างๆ กับวิเคราะห์เนืนอใน
๕) ลักษณะที่ ๑: คาสอนเป็นกลาง ปฏิบัติสายกลาง ๖) มีหลักการเป็นสากล ๗) ถือ
สาคัญทันงสาระและรูปแบบ ๘) เป็นกรรมวาท กิริยวาท วิริยวาท ๙) เป็นวิภัชชวาท ๑๐) มุ่ง
อิสรภาพ ๑๑) เป็นศาสนาแห่งปัญญา ๑๒) สอนหลักอนัตตา ๑๓) มองตามเหตุปัจจัย ๑๔) เชื่อว่า
มนุษย์ประเสริฐ ด้วยการฝึกฝนพัฒนา ๑๕) เป็นศาสนาแห่งการศึกษา ๑๖) ให้ความสาคัญทันงปัจจัย
ภายในและปัจจัยภายนอก ๑๗) ให้ตื่นตัวด้วยความไม่ประมาท ๑๘) เห็นทุกข์ แต่เป็นสุข หรือ ทุกข์
เพื่อเห็น แต่สุขเพื่อเป็น ๑๙) มุ่งประโยชน์สุขเพื่อมวลชน
๑
ปิ ยวาท
ผู้วิจารณ์เห็นด้วยกับการ
นาเสนอประเด็นต่างๆ ที่
นามาสู่การศึกษาหาความรู ้
ในความลึกซึ้งของลักษณะ
แห่งพระพุทธศาสนา
เนื่องจากเป็ นการนาเสนอ
วาทศาสตร ์ที่มีความเชื่อมโยง
กันระหว่างประเด็นต่างๆ ทั้ง
๑๙ ประเด็น โดยลาดับดังที่
ท่านนาเสนอไว้
ปฎิพากษ์
การใช้ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
ในสารบัญถึงแม้ว่าผู้รจนาจะเป็ น
นักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา
แต่การใช้ศัพท์พระพุทธศาสนาใน
การตั้งหัวข้อนั้นอาจทาให้ผู้ศึกษา
ที่ปราศจากพื้นฐานความรู ้ทาง
พระพุทธศาสนาไม่มีความเข้าใจ
หรือทาให้ประเด็นดังกล่าวขาด
ความน่าสนใจ
๒. ด้านการเรียงลาดับการ
นาเสนอ
หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนาใช้วิธี
เรียงลาดับการนาเสนอลักษณะเดียวกับ
หนังสือทั่วไป แต่มีความแตกต่างกันตรงมี
คาอนุโมทนาต่อบุคคลผู้จัดทา และใช้
อารัมภพจน์ (หน้า ๖) แล้วจึงกล่าวถึง
เนื้อหาในเรื่อง ลงท้ายด้วยสรุปและบันทึก
ท้ายเล่ม เป็ นลักษณะเอกสารกึ่งวิจัย ซึ่งจะ
มีอยู่ไม่กี่ท่านที่ใช้การนาเสนอในลักษณะ
นี้
๒
ปิ ยวาท
ผู้วิจารณ์เห็นด้วยกับ การ
เรียงลาดับการนาเสนอใน
ลักษณะนี้ เพราะเป็ นการ
จัดระบบการนาเสนอใน
ลักษณะของผู้รจนา ซึ่งมี
อีกหลายเล่มที่นาเสนอใน
ลักษณะนี้
ปฎิพากษ์
การเรียงลาดับเนื้อหาของ อารัมภ
พจน์ เพราะ ควรเรียงจากผู้จัดทา
คือ ดร.พงษ์ศรี เลขะวัฒนะ และ
ดร.สมศีล ฌานวังศะ ก่อน ในย่อ
ห น้ า ที่ ๓ ต่ อ ม า จึ ง จ ะ เ ป็ น
ศาสตราจารย์ ดร.สมศีล ฌาน
วังศะ ผู้ตรวจเรียบเรียงและบันทึก
ท้ายเล่ม ในย่อหน้าที่ ๒ และจึง
เป็ น ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศรี
เลขะวัฒนะ ผู้เผยแผ่และแปลเป็ น
ภาษาอังกฤษ ในย่อหน้าที่ ๑ ส่วน
ย่อหน้าที่ ๔ คงไว้
๓. การใช้ภาษา
หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนาใช้
ภาษาในลักษณะเทศนาโวหาร คือ เป็ น
ภาษาที่ใช้ในการแสดงปาฐกถาธรรม
กอปรกับ บรรยายโวหาร คือการเล่า
เหตุการณ์ต่างๆ จากพุทธกาลจนถึง
ปัจจุบัน สาธกโวหาร คือ การยกตัวอย่าง
เรื่องราวในพระพุทธศาสนา กอปรกับ
อุปมาโวหาร โดยการเปรียบเทียบกับ
สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ต่ า ง ๆ ร ว ม ถึ ง ก า รใ ช้
สัญลักษณ์ในเชิงเปรียบเทียบ เช่น การยิง
ลูกศรให้กลางเป้ ากับทางสายกลาง การใช้
ปฏิพากย์ คือ การแสดงสะท้อนกลับของ
้
๓
ปิ ยวาท
ความหลากหลายของการ
ใช้ภาษาเพื่อให้เกิดอรรถรส
ในการศึกษา นาไปสู่การ
วิเคราะห์ให้เกิดองค์ความรู ้
ร่วมกับ การแฝงแง่คิดให้
เห็นความสุขุมลุ่มลึกแห่ง
ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง
พระพุทธศาสนาในประเด็น
ต่างๆ มีความครอบคลุมทั้ง
หลักธรรม พุทธประวัติ ลีลา
ก า ร ส อ น แ ล ะ โ ว ห า ร
ลักษณะต่างๆ ทาให้มีความ
ปฎิพากษ์
การนาเสนอทางด้านภาษาที่ปราศจาก
อรรถาธิบายท้ายเรื่อง เพราะการใช้ภาษาที่
หลากหลายนั้นอาจทาให้ผู้ศึกษาเกิดความ
สงสัย หรืออาจเข้าใจผิดได้ เช่น “ดังที่ได้
บอกแต่ต้นแล้วว่า ลักษณะของ
พระพุทธศาสนา นั้น เป็ นลักษณะของสิ่งที่
ถือว่าเรารู ้กันดีอยู่แล้ว เพราะฉะนั้น เรื่องที่
อาตมาภาพจะยกขึ้นมาพูดก็เป็ นเรื่อง
ธรรมดา ที่ท่านรู ้อยู่แล้ว เท่ากับว่า เอาเรื่อง
ที่รู ้กันอยู่แล้วนั้นเอง” (หน้า ๕) ซึ่งบุคคลที่
มีความรู ้ต้องผ่านระบบการศึกษา
พระพุทธศาสนาจึงจะรู ้และเข้าใจเรื่อง
เหล่านี้ แต่สาหรับบุคคลธรรมดาที่ไม่ได้มี
ความรู ้จะเป็ นเรื่องยากที่จะบอกว่ารู ้อยู่แล้ว
ผู้วิจารณ์จึงไม่เห็นด้วยกับข้อความ
๔. การจัดรูปแบบข้อความ
หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนาใช้วิธีการจัดรูปแบบ
ข้อความหลายประเภท คือ
๑) ใช้ตัวอักษรปกติในการนาเสนอเรื่องราว
๒) ใช้ตัวอักษรเอนเมื่อต้องการแสดงจุดสนใจ
๓) ใช้ตัวอักษรเข้มเมื่อแสดงหัวข้อหรือศัพท์ที่สาคัญ
๔) ใช้เครื่องหมายสัญประกาศ “_____” เมื่อเป็ นความหมาย
ของศัพท์หรือ พุทธวจนะ
๕) ใช้เครื่องหมายวงเล็บ (_____) ในการอธิบายเพิ่มเติม
๖) ใช้เครื่องหมายยัติภาค_____ในการเชื่อมเนื้อหา
๗) ข้อความแบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ ข้อความที่เป็ น
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยแสดงเครื่องหมายให้เห็น
อย่างชัดเจน
๔
ปิ ยวาท
ความหลากหลายของสัญลักษณ์ทาง
ภาษา เพราะเป็ นการสร้างจุดสนใจ เป็ น
การจัดกลุ่มของเนื้อหาให้เกิดความ
ชัดเจนนาไปสู่การเชื่อมโยงกับการ
นาเสนอในแต่ละประเด็นเพราะผู้ศึกษาจะ
สามารถเลือกเฟ
้ นเนื้อหาตามสัญลักษณ์
ให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ในแต่ละ
ประเด็นแม้มีทั้งหมด ๑๙ ประเด็น แต่
สามารถเชื่อมโยงในแต่ละประเด็นได้ เช่น
ตัวเข้ม เป็ นการแสดงถึงศัพท์ที่สาคัญใน
แต่ละซึ่งเป็ นการเชื่อมโยงกันระหว่างศัพท์
ในแต่ละประเด็นที่มีความคล้ายเคียงกัน
สามารถเชื่อมโยงกันได้ในแต่ละประเด็น
ปฎิพากษ์
การให้บันทึกท้ายเล่ม แม้เป็ น
การอธิบายแต่เป็ นการสร้าง
ปัญหาให้เกิดขึ้นแก่นักอ่าน
ห นั ง สือ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า
มือใหม่ที่อาจจะไม่คุ้นเคยกับ
การอ่านหนังสือในลักษณะนี้ที่
จะอาศัยเชิงอรรถเพื่อสร้าง
ความเข้าใจได้ทันที หรือ ควร
อธิบายท้ายประเด็นจะสะดวก
กว่า
๑) ลักษณะแห่ง
พระพุทธศาสนา ปรากฏใน
หนังสือหน้า ๑ (ดูรายละเอียด
ในเล่ม)
เป็ นการอารัมภบท
หรือการเกริ่นนาใน
การประชุมองค์การ
พุทธศาสนิกสัมพันธ ์
แห่งโลก โดยกล่าว
มุทิตาพจน์ต่อผู้เข้า
ประชุม
๕
ปิ ยวาท
ท่านที่ได้กระทา
ข้อตกลงกับ
พุทธศาสนิกชน
ผู้รับฟัง โดยใน
อาศัยการอธิบาย
ธรรมเชิงวิชาการ
เพื่อกระชับเวลา
ปฎิพากษ์
การที่ท่านก็ชี้แจงการ
อธิบายรายละเอียดของ
พุทธธรรมซึ่งอาจเกิน
เวลาที่จะเปิ ดโอกาสให้
พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ช น ตั้ง
คาถามแต่หากเกินเวลา
ก็จะพูดฝ
่ ายเดียวเลย
๒) ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘
ปรากฏในหนังสือหน้า ๒ – ๓ (ดู
รายละเอียดในเล่ม)
ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘ เป็ น
ประเด็นแรกที่ท่านยกมาเป็ นปฐม
บทในการปาฐกกถาธรรม ซึ่งถือ
ว่ามีความเหมาะสม เพราะ
การศึกษาพระพุทธศาสนามีการ
เรียงลาดับตามหลักไตรสิกขา
ท่านได้ยกองค์ความรู ้ที่ปรากฏใน
หนังสือนวโกวาทของสมเด็จพระ
มหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิร
ญาณวโรรสเป็ นการรับรองบท
ปาฐกกถาซึ่งมิได้กล่าวถึงเองโดย
๖
ปิ ยวาท
ท่านยกองค์ความรู ้ที่
ป ร า ก ฎใ น ห นั ง สื อ
นวโกวาทชองสมเด็จ
พระมหาสมณเจ้ากรม
พระยาวชิรญาณวโร
รสเป็ นการรับรองบท
ป า ฐ ก ก ถ า ซึ่ง มิ ไ ด้
กล่า วถึง เอ งโด ยห า
ปฎิพากษ์
การที่ท่านไม่ได้บอก
ที่มาของลักษณะการ
ตัดสินพระธรรมวินัย
๘ ประการในสังขิตต
สู ต ร เ พื่ อใ ห้ เ ห็ น
ชัดเจนมากขึ้น
๓) ลักษณะตัดสินพระธรรม
วินัย ๗ ปรากฏในหนังสือหน้า
๓ – ๔ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัย
๗ เป็ นการแสดงถึงความเป็ น
พหูสูตของท่าน ซึ่งท่านได้ยก
พุ ท ธ ป ร ะ วั ติ ต อ น ที่
พระพุทธเจ้าตรัสไว้แก่พระอุ
บาลีเป็ นการรับรอง เพื่อให้
เห็นความมั่นคงของพระ
สัทธรรมแห่งองค์สมเด็จพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้ตรัสไว้
ใกล้เคียงกันในหลายแห่ง
๗
ปิ ยวาท
ท่านนาลักษณะการ
ตัดสินพระธรรมวินัย
๗ ป ร ะ ก า ร ม า ใ ช้
รับรองการนาเสนอ
ลัก ษ ณ ะ ตัด สิน พ ร ะ
ธรรมวินัย ๘ ประการ
เพื่อให้เห็นความมั่นคง
ของพระสัทธรรม
ปฎิพากษ์
ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ไ ด้
บ อ ก ที่ ม า ข อ ง
ลักษณะการตัดสิน
พระธรรมวินัย ๗
ประการในปฐมวินย
ธรสูตรเพื่อให้เห็น
ชัดเจนมากขึ้น
๔) มองกว้างๆ กับวิเคราะห์
เนื้อใน ปรากฏในหนังสือหน้า
๔ – ๕ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
มองกว้างๆ กับวิเคราะห์เนื้อใน
เป็ นการนาเสนอแนวคิดการ
ตี ค ว า ม ลั ก ษ ณ ะ แ ห่ ง
พระพุทธศาสนา ๒ ประการ
เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ได้ว่า
เป็ นหลักคาสอนที่ควรจะ
นาไปใช้หรือไม่ ซึ่งเป็ นการ
แสดงหัวข้อหลักของการ
วิเคราะห์ว่าลักษณะทั่วไปแห่ง
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า จ า แ น ก
๘
ปิ ยวาท
ท่ า น อ า รั ม ภ บ ท
เกี่ยวกับลักษณะทั่วไป
แห่งพระพุทธศาสนาที่
จาแนกออกเป็ น ๑๕
ลักษณะก่อนเพื่อให้
เห็นโครงสร้างของการ
นาเสนอ
ปฎิพากษ์
การนาเสนอใน
ลักษณะดังกล่าว
เพราะ เป็ น กา ร
นาเสนอประเด็น
ซ้อนประเด็น
๕) ลักษณะที่ ๑ คาสอนเป็ นกลาง
ปฏิบัติสายกลาง ปรากฏในหนังสือ
หน้า ๖ – ๑๒ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
ค า ส อ น เ ป็ น ก ล า ง
ปฏิบัติสายกลาง ท่าน
นาเสนอหลักธรรมที่
ปรากฏในธรรมจัก
กัปปวัตนสูตร ซึ่งท่าน
ได้เพิ่มความสุดโต่ง
ทางด้านความคิด
๙
ปิ ยวาท
ท่านได้เสนอการเชื่อมโยง
ระหว่าง วัตถุ กับจิต หรือ
ตีความเป็ นนามรูป ซึ่งเป็ น
เรื่องจริง พระพุทธศาสนาจึง
สอนในสิ่งที่เป็ นความจริงโดย
ไม่เอียงเข้าไปในทางสุดโต่ง 2
ท า ง ซึ่ ง ท่ า น เ รี ย ก ว่ า
มัชฌิมาปฏิปทา ซึ่งเป็ นกลาง
ทั้งหมด ไม่เข้าข้างฝ
่ ายใด
อันหมายถึง มรรคมีองค์ ๘
นั่นเอง
ปฎิพากษ์
ก า ร ที่ ท่ า นไ ม่
กล่าวถึงพระพุทธ
พจน์เกี่ยวกับทาง
สุดโต่ง ๒ ประการ
เลย
๖) มีหลักการเป็ นสากล
ปรากฏในหนังสือหน้า ๑๓ –
๑๕ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
มีหลักการเป็ นสากลเป็ นสิ่งที่เป็ น
ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ข อ ง
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ พ ร า ะ
พระพุทธศาสนานั้นสามารถ
นามาใช้ได้กับทุกสรรพสิ่งทั้งที่มี
ชีวิตและไม่มีชีวิต เห็นด้วยกับที่
ท่านกล่าวว่าพระพุทธศาสนา
เป็ นสากลทั้งความคิดและการ
ปฏิบัติ ความว่าสากลทั้งความคิด
และการปฏิบัติ คือ เป็ นสิ่งที่คอย
ควบคุมกายและจิตให้มีความ
๑๐
ปิ ยวาท
ท่ า น น า เ ส น อ ว่ า แ ง่
ความคิดคือสัจจธรรม
หรือคาสอนเกี่ยวกับสัจ
จธรรม ซึ่งถือว่าเป็ นสิ่งที่
มีความเป็ นธรรมชาติ จุด
แข็งก็คือ เมื่อความคิด
เป็ นกลาง การปฏิบัติก็จะ
เป็ นกลางด้วย ซึ่งความ
เป็ นกลางนั้นคือความ
ปฎิพากษ์
ท่านไม่อธิบาย
ห ลัก ก ฎ แ ห่ ง
กรรมที่มีความ
ส า ก ล ใ น
พระพุทธศาสน
๗) ถือสาคัญทั้งสาระและรูปแบบ
ปรากฏในหนังสือหน้า ๑๖ – ๒๒
(ดูรายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนาไม่เอียง
สุดไปข้างไหน เพราะ
ย อ ม รับ ข อ ง แ ต่ ล ะ
ประเด็น ทั้งในด้านสาระ
แ ล ะ รู ป แ บ บ ซึ่ง ท่ า น
กล่าวว่าต้องเป็ นไปด้วย
ความสมัครใจ แต่ไม่เอน
๑๑
ปิ ยวาท
ท่านให้ความเห็นว่าลักษณะของ
พระพุทธศาสนานี้คือ ธรรม กับ
วินัย ธ ร ร ม นั้น เ ป็ น เ รื่อ ง ข อ ง
สติปัญญา ของบุคคล ส่วนวินัย
เป็ นแบบแผนทางสังคม เป็ นเครื่อง
สร้างสภาพแวดล้อมแก่ทุกคน
เสมอกัน อีกทั้งเอื้อต่อการนาธรรม
มาใช้ประโยชน์ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้
ควรมีความสมดุลกัน อิงอาศัยกัน
สิ่งที่ให้ความหมายแก่วินัยก็คือ
ธรรม และสิ่งที่จะรักษาธรรมไว้คือ
วินัยนั่นเอง
ปฎิพากษ์
การไม่ยกตัวอย่าง
คาจากัดความของ
พระธรรมวินัยอัน
ถือเป็ นแบบแผน
ของพุทธบริษัทใน
พระพุทธศาสนา
๘) เป็ นกรรมวาท กิริยาวาท วิริ
ยวาท ปรากฏในหนังสือหน้า ๒๓
– ๒๗ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนาถือว่า
กรรมเป็ นหลักความจริงที่
กระทาแล้ว มีความเพียร
พยายามให้ผลจริง หลัก
กรรมถือว่าเป็ นหลักใหญ่
ในพระพุทธศาสนา เพราะ
พระพุทธศาสนายึดการ
กระทาหรือความประพฤติ
๑๒
ปิ ยวาท
ท่านจาแนกกรรมออกไป
อีก ๓ ประเภท ตามหลัก
เหตุผล คือ กรรมในอดีต
กรรมในปัจจุบัน และกรรม
ในอนาคต ซึ่งเกิดขึ้น
เพราะกริยาทางกาย อัน
สืบเนื่องจากความเพียร
พยายามทางจิตใจ
ปฎิพากษ์
ก า ร ที่ ท่ า นไ ม่
อ ธิ บ า ย ค ว า ม
เชื่อมโยงของกรรม
๓ ป ร ะ เ ภ ท กับ
กรรมวาท กิริยา
วาท วิริยาวาท ให้
ชัดเจน
๙) เป็ นวิภัชชวาท ปรากฏใน
หนังสือหน้า
๒๘ – ๓๑ (ดูรายละเอียดใน
เล่ม)
พระพุทธศาสนา
นั้ นไ ม่ ไ ด้จ า กัด
กระบวนการทาง
ค ว า ม คิ ดโ ด ย
เอกเทศ สามารถ
๑๓
ปิ ยวาท
ท่านได้อธิบายเกี่ยวกับ
ความเป็ นวิภัชชวาทีของ
พระพุทธเจ้า ในการตรัส
ต่อพุทธบริษัท เพื่อให้เกิด
ประโยชน์ โดยอาศัยการ
เป็ นนักวิเคราะห์ จาแนก
แจกธรรม หรือแยกแยะ
ให้เห็นครบแง่ด้านของ
ความจริง
ปฎิพากษ์
ท่านไม่กล่าวถึง
เกสปุตติสูตรอัน
เป็ นการวิพากษ์
ชาวกาลามะของ
พระพุทธเจ้าแบบ
วิภัชชวาที
๑๐) มุ่งอิสรภาพ ปรากฏใน
หนังสือหน้า ๓๒ – ๓๔ (ดู
รายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนา มี
วิมุตติ หรือ ความมี
อิ ส ร ภ า พ เ ป็ น
จุดหมายสาคัญ และ
ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น เ พี ย ง
จุดหมายเท่านั้น แต่มี
อิ ส ร ภ า พ เ ป็ น
๑๔
ปิ ยวาท
ท่านจาแนกศัพท์ของ
อิสรภาพออกเป็ น หลาย
ศั พ ท์ คื อ Freedom
อิส ร ภ า พ Sovereignty
ความเป็ นใหญ่ หรือแม้แต่
Domination หรือ
Dominion คือความมี
อานาจหรือเหนือความ
เป็ นใหญ่
ปฎิพากษ์
ก า ร ที่ ท่ า นไ ม่
อ ธิ บ า ย ค ว า ม
แ ต ก ต่ า ง ข อ ง
อิ ส ร ภ า พ ทั้ง ๓
ศัพ ท์ว่ า ต่ า ง กัน
อ ย่ า งไ รใ น แ ง่
พฤติกรรม
๑๑) เป็ นศาสนาแห่งปัญญา
ปรากฏในหนังสือหน้า ๓๕ – ๔๑
(ดูรายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนาเป็ น
ศ า ส น า แ ห่ ง ปั ญ ญ า
พระพุทธศาสนาถือว่า
ปัญญาเป็ นธรรมสูงสุด
เ ป็ น ตั ว ตั ด สิ น ขั้ น
สุ ด ท้า ยใ น ก า ร ที่ จ ะ
เข้าถึงจุดหมายของ
พระพุทธศาสนา
๑๕
ปิ ยวาท
ก า ร ที่ ท่ า น ย ก
ประเด็นการปฏิบัติ
ของชาวพุทธใน
ยุคปั จจุบัน ว่า มี
ปัญญาเป็ นเครื่อง
กาหนดความเป็ น
ชาวพุทธหรือไม่
ปฎิพากษ์
การที่ท่านไม่ได้
อธิบายการสร้าง
ปัญญาตามหลัก
พระพุทธศาสนา
หรือ ปัญญา ๓
๑๒) สอนหลักอนัตตา ปรากฏ
ในหนังสือหน้า ๔๒ – ๔๔ (ดู
รายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนามอง
ความจริงของสรรพสิ่ง
เป็ นไปตามกฎเกณฑ์
แห่งไตรลักษณ์ คือ
ความไม่เที่ยง ทนอยู่
ในสภาพเดิมไม่ได้
เ พ ร า ะ ส ร ร พ สิ่ ง
๑๖
ปิ ยวาท
ท่านกล่าวว่า ได้อธิบาย
ถึง ขันธ ์๕ ว่า ไม่มีตัวคงที่
เพราะประกอบขึ้นจาก
ปัจจัยย่อยๆ ไม่มีสิ่งโดย
ลาพังไม่มีใครหรืออะไรจะ
เป็ นเจ้าของครอบครอง
หรือบังคับบัญชาได้ นี้คือ
หลักความจริงที่เรียกว่า
อนัตตา
ปฎิพากษ์
การที่ท่านกล่าวถึง
อ นั ต ต า เ พี ย ง
ประเด็นเดียวโดยไม่
กล่าวถึงไตรลักษณ์
อีก ๒ ประการที่มี
ความสอดคล้องกัน
๑๓) มองตามเหตุปัจจัย
ปรากฏในหนังสือหน้า ๔๕ –
๔๖ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
หลักความเป็ นไปตาม
เหตุปัจจัย บ่งชี้ว่า สิ่ง
ทั้งหลายไม่มีอยู่โดย
ลาพัง แต่อิงอาศัยกัน
เป็ นไปตามเหตุปัจจัย
ค ล้ า ย ๆ กั บ
ห ลัก สัม พัท ธ ภ า พ
๑๗
ปิ ยวาท
ก า ร ที่ ท่ า น น า
หลักสัมพัทธภาพมาใช้
อธิบายเพื่อให้บุคคลทา
ความเข้าใจได้ง่ ายขึ้น
โดยท่านอธิบายถึงหลักอิ
ทั ป ปั จ จ ย ต า ห รื อ
ปฏิจจสมุปบาทที่เนื่อง
ด้วยหลักอิทัปปั จจยตา
และ หลักไตรลักษณ์ อัน
ปฎิพากษ์
การที่ท่านไม่ได้
จาแนกองค์ธรรม
ของปฏิจจสมุป
บาทเพื่อให้เห็น
เป็ นรูปธรรมเลย
๑๔) เชื่อว่ามนุษย์ประเสริฐด้วยการ
ฝึ กฝนพัฒนา ปรากฏในหนังสือหน้า
๔๗ – ๕๑ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนายืนยันใน
ศักยภาพสูงสุดของมนุษย์
โดยยอมรับความสาคัญ
ของมนุษย์ว่ามีภาวะเป็ น
สัตว์ที่ฝึ กได้ และฝึ กได้
จนถึงขั้นเป็ นสัตว์ประเสริฐ
ถ้ามนุ ษย์ไม่พัฒนาตน
หรือไม่ฝึ กตนแล้ว ก็จะเป็ น
่ ่ ่
๑๘
ปิ ยวาท
การที่ท่านยก พระพุทธ
พจน์ ว่า ผู้ที่ฝึ กแล้ว เป็ น
ผู้ประเสริฐในหมู่มนุษย์
เป็ นต้น การที่ถือว่ามนุษย์
เป็ นสัตว์ที่จะต้องฝึ กฝน
พัฒนา จะทาให้เป็ นคน
อ่อนน้อมถ่อมตน เพื่อ
ฝึ กฝนพัฒนาให้มากขึ้น
เรื่อยๆ
ปฎิพากษ์
การที่ท่านไม่ได้
ก ล่ า ว ถึ ง
ห ลั ก ธ ร ร ม ที่
น า ไ ป สู่ ก า ร
พั ฒ น า ข อ ง
ม นุ ษ ย์ เ ช่ น
๑๕) เป็ นศาสนาแห่งการศึกษา
ปรากฏในหนังสือหน้า ๕๒ – ๕๕
(ดูรายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนานา
หลักการศึกษาเข้ามา
เป็ นสาระสาคัญ เป็ น
เนื้อแท้ของการดาเนิน
ชีวิต และทาให้การ
ดาเนินชีวิตของมนุษย์
๑๙
ปิ ยวาท
ก า ร ที่ท่ า นไ ด้จ า แ น ก
พรหมจรรย์ให้เชื่อมโยง
กับมรรคโดยอาศัยการ
อธิบายหลักอริยมรรคมี
องค์ ๘ โดยสรุปความเป็ น
หลักไตรสิกขา อันเป็ น
ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น
พระพุทธศาสนา หรือ
ภาพรวมของการศึกษา
ปฎิพากษ์
ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ไ ด้
อธิบายองค์ธรรม
แ ห่ง อ ริย ม ร ร ค มี
องค์ ๘ เพื่อให้เห็น
กระบวนการตาม
ห ลักไ ต ร สิ ก ข า
ชัดเจน
๑๖) ให้ความสาคัญทั้งแก่ปัจจัยภายในและ
ปัจจัยภายนอก ปรากฏในหนังสือหน้า ๕๖ –
๕๘ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนาถือเป็ น
ศ า ส น า ที่ ใ ห้
ค ว า ม ส า คัญ ทั้ง แ ก่
ปัจจัยภายในและปัจจัย
ภ า ย น อ ก ซึ่ ง ท่ า น
ก ล่ า ว ถึ ง ค ว า ม
เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา
๒๐
ปิ ยวาท
การที่ท่านให้ความสาคัญ
ระหว่างปัจจัยภายนอกอัน
ได้แก่ ปรโตโฆสะ หรือ บุคคล
ผู้ให้การศึกษา และ ปัจจัย
ภ า ยใ น ไ ด้ แ ก่ โ ย นิ โ ส
มนสิการ คือการใช้สติปัญญา
พิจารณาโดยแยบคาย หนึ่ง
ใ น ลั ก ษ ณ ะ แ ห่ ง
พระพุทธศาสนา และเพราะ
ปัจจัยทั้งสองประการนี้ถือเป็ น
บุรพภาคแห่งการศึกษา
ปฎิพากษ์
ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ไ ด้
ก ล่ า ว ถึ ง ห ลั ก
กัลยาณมิตร ๗ อัน
เ ป็ น คุ ณ ส ม บั ติ
ของปรโตโฆสะที่
เ ป็ น กัล ย า ณ ช น
เลย
๑๗) ให้ตื่นตัวด้วยความไม่
ประมาท ปรากฏในหนังสือหน้า
๕๙ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
ธรรมที่ให้ชีวิตชีวาแก่
การปฏิบัติทั้งหมด ถือ
เป็ นตัวกระตุ้นให้มีการ
ปฏิบัติตามหลักธรรม
ในพระพุทธศาสนา ก็
คือ อัปปมาทธรรม
หรือความไม่ประมาท
๒๑
ปิ ยวาท
การที่ท่านเน้นย้าพระ
บาลีอันเป็ นปัจฉิมวาจา
ที่ มี ม า ใ น ม ห า
ปรินิพพานสูตร โดย
แสดงถึงความสาคัญ
ของธรรมหมวดนี้ใน
ฐานะธรรมที่ครอบคลุม
ธรรมอื่นๆ
ปฎิพากษ์
การที่ท่านไม่อธิบาย
หลักธรรมที่เนื่องด้วย
ความไม่ประมาทหรือ
สติสัมปชัญญะ หรือ
สติปั ฏฐาน อันเป็ น
หลักธรรมที่เนื่องด้วย
ความไม่ประมาทใน
๑๘) เห็นทุกข์แต่เป็ นสุข หรือ ทุกข์เพื่อ
เห็น แต่สุขเพื่อเป็ น ปรากฏในหนังสือหน้า
๖๐ – ๖๒ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
ห ลั ก ก า ร ข อ ง
พระพุทธศาสนานั้น
สอนให้รู ้จักโลกและ
ชีวิตตามความเป็ น
จริงตามกฎแห่งไตร
ลักษณ์ คือ อนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา
๒๒
ปิ ยวาท
ก า ร ที่ท่ า น อ ธิบ า ย ว่ า
ห ลั ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ใ น
พระพุทธศาสนา กลับ
มองเห็นแต่การดาเนิน
ก้าวหน้าไปด้วยความสุข
สู่จุดหมายที่เป็ นบรมสุข
ใ น ป ร ะ เ ด็ น นี้ เ ห็ น ว่ า
มนุษย์ส่วนใหญ่เป็ นบุคคล
ผู้มีกิเลส ซึ่งกิเลสเป็ นสิ่งที่
ปฎิพากษ์
การที่ท่านไม่อธิบาย
ถึงโอวาท ๓ คือ ละ
ความชั่ว ประพฤติดี
มี ใ จ ส ะ อ า ด ห รือ
ไ ต ร สิก ข า อัน เ ป็ น
ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง
ความสุขที่แท้จริง
๑๙) มุ่งประโยชน์สุขเพื่อ
มวลชน ปรากฏในหนังสือ
หน้า ๖๓ (ดูรายละเอียดในเล่ม)
พระพุทธศาสนา
ถือ เ ป็ น ศ า ส น า
แห่งประชาธิปไตย
คือความมุ่งหมาย
เพื่อประโยชน์สุข
๒๓
ปิ ยวาท
การที่ท่านยกเหตุการณ์การ
ประกาศพระพุทธศาสนาของ
พระพุทธเจ้า ทาให้พหูชน
สามารถนาหลักพุทธธรรมไป
บูรณาการในการประพฤติ
ปฏิบัติตนให้ถูกต้องมาจนถึง
ยุคปัจจุบัน จึงเห็นได้ว่า
พระพุทธศาสนาเน้นย้ามาก
ในเรื่องการปฏิบัติเพื่อ
ประโยชน์สุขของพหูชน
ปฎิพากษ์
ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ก ล่ า ว ถึง
ประโยชน์ ๓ ประการ ใน
พระพุทธศาสนา คือ ๑)
ประโยชน์ตน ๒) ประโยชน์
ท่าน และ ๓) ประโยชน์ทั้ง
สอง เพื่อเป็ นอุปกรณ์ใน
การอธิบายให้ชัดเจนมาก
ขึ้น
ข้อสังเกต
ห นั ง สื อ เ รื่ อ ง “ ลั ก ษ ณ ะ แ ห่ ง
พระพุทธศาสนา (Characteristics of
Buddhism)”รจนาโดย พระพรหมคุณา
ภ ร ณ์ ( ป . อ . ป ยุ ต โ ต ) Phra
Brahmagunahorn (P
.A. Payutto) เป็ น
หนังสือที่กล่าวถึงลักษณะการวิเคราะห์
ด้วยโยนิโสมนสิการจากการรับฟั งองค์
ความรู ้ที่ได้รับมาจากปรโตโฆสะทั้งที่เป็ น
บุคคลและมิใช่บุคคล โดยอาศัยตัวชี้วัด
(Indicator) หรือเกณฑ์การตัดสินได้ว่า
หลักการหรือหลักธรรมคาสั่งสอนนั้น
จุดแข็ง
จุดแข็งของหนังสือเล่มนี้คือ ความ
เป็ นนักปราชญ์ของผู้รจนา เพราะ
ท่านสามารถอธิบายได้ในหลาย
รูปแบบ ทั้งบรรยายโวหาร พรรณนา
โวหาร การใช้ภาษาบาลี การยก
พุ ท ธ ป ร ะ วัติ ก า ร เ ชื่ อ มโ ย ง
เปรียบเทียบระหว่างสังคมในระดับ
หนึ่ งกับสังค มอีกระดับซึ่งท่าน
สามารถอธิบายให้เชื่อมโยงกันได้
อ ย่ า ง ชัด เ จ น ก อ ป ร กับ ก า รใ ช้
อุปมาอุปไมยในการอธิบาย โดยมี
การเชื่อมโยงกับพุทธวจนะอีกด้วย
่
จุดอ่อน
จุดอ่อนของหนังสือเล่มนี้คือ บุคคลผู้ศึกษา
จ ะ ต้อ ง มีค ว า ม รู ้ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ กี่ย ว กับ
พระพุทธศาสนาอยู่บ้างจึงจะสามารถทา
ความเข้าใจในประเด็นที่ท่านอธิบายได้ แต่
หากไม่มีความรู ้ความเข้าใจเลยก็จะไม่
สามารถเข้าใจในสิ่งที่ท่านอธิบายได้ เพราะ
ท่านใช้ภาษาวิชาการกอปรกับภาษาทาง
พระพุทธศาสนา รวมทั้งมิได้อธิบายเพียงจุด
ใดจุดหนึ่งแต่เชื่อมโยงหลายจุดเข้าหากัน จึง
เป็ นจุดอ่อนสาหรับบุคคลผู้ไม่มีความรู ้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา รวมทั้งการ
ทา ๒ ภาษานั้น อาจเป็ นปัญหาสาหรับผู้
ศึกษา ที่ไม่ มีควา มเข้าใจในศัพ ท์ของ
พระพุทธศาสนาแม้จะเป็ นชาวต่างชาติ
บรรณานุกรม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. พระไตรปิ ฎก ภาษาไทย.
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา
จุฬาลงกรณราช วิทยาลัย,
๒๕๓๙.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต),
ลักษณะแห่ง
พระพุทธศาสนา,
กรุงเทพมหานคร : บริษัท พิมพ์
ปุ.วิ.
เอวํ โหมิ นมัสสกาเรมิ

More Related Content

What's hot

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kanghanlom
 
นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์Prasit Koeiklang
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่PakChee
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 

What's hot (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์ชื่อสัมพันธ์
ชื่อสัมพันธ์
 
นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 

Similar to บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา

Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Similar to บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา (20)

Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 

More from solarcell2

โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร solarcell2
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม solarcell2
 
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...solarcell2
 
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571solarcell2
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561solarcell2
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 

More from solarcell2 (7)

โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
 
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม   การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเสาหลักสังคมและวัฒนธรรม
 
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
สถิตินิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา-256-1ฉบับปรับปรุ...
 
Sathiti 2560
Sathiti 2560Sathiti 2560
Sathiti 2560
 
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 

บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา

  • 1.
  • 2. บทวิจารณ์หนังสือ ชื่อหนังสือ ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา Characteristics of Buddhism ผู้รจนา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) PhraBrahmagunahorn (P.A. Payutto) ผู้วิจารณ์ นายชนะยุทธ เกตุอยู่ Mr. Chanayut Ketyoo
  • 4. ศ. ดร.พงษ์ศรี เลขะ วัฒนะ แปลเป็ น ภาษาอังกฤษ ศ. ดร.สมศีล ฌานวังศะ ช่วยตรวจและเรียบเรียงบันทึกท้าย รศ. ดร.วิภา ฌาน วังศะ ทวนทาน และพิสูจน์อักษร สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) / Somdet Phra Buddhaghosacharya (P . A. Payutto)
  • 7. ๑ การเรียงลาดับเนื้อหา หนังสือเรื่อง “ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา (Characteristics of Buddhism)”รจนาโดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) Phra Brahmagunahorn(P .A. Payutto) ท่าน จาแนกออกเป็นประเด็นต่างๆ รวมทันงสินน ๑๙ ประเด็น เรียงลาดับตามสารบัญดังต่อไปนีน ๑) ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา ๒) ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘ ๓) ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัย ๗ ๔) มองกว้างๆ กับวิเคราะห์เนืนอใน ๕) ลักษณะที่ ๑: คาสอนเป็นกลาง ปฏิบัติสายกลาง ๖) มีหลักการเป็นสากล ๗) ถือ สาคัญทันงสาระและรูปแบบ ๘) เป็นกรรมวาท กิริยวาท วิริยวาท ๙) เป็นวิภัชชวาท ๑๐) มุ่ง อิสรภาพ ๑๑) เป็นศาสนาแห่งปัญญา ๑๒) สอนหลักอนัตตา ๑๓) มองตามเหตุปัจจัย ๑๔) เชื่อว่า มนุษย์ประเสริฐ ด้วยการฝึกฝนพัฒนา ๑๕) เป็นศาสนาแห่งการศึกษา ๑๖) ให้ความสาคัญทันงปัจจัย ภายในและปัจจัยภายนอก ๑๗) ให้ตื่นตัวด้วยความไม่ประมาท ๑๘) เห็นทุกข์ แต่เป็นสุข หรือ ทุกข์ เพื่อเห็น แต่สุขเพื่อเป็น ๑๙) มุ่งประโยชน์สุขเพื่อมวลชน
  • 8. ๑ ปิ ยวาท ผู้วิจารณ์เห็นด้วยกับการ นาเสนอประเด็นต่างๆ ที่ นามาสู่การศึกษาหาความรู ้ ในความลึกซึ้งของลักษณะ แห่งพระพุทธศาสนา เนื่องจากเป็ นการนาเสนอ วาทศาสตร ์ที่มีความเชื่อมโยง กันระหว่างประเด็นต่างๆ ทั้ง ๑๙ ประเด็น โดยลาดับดังที่ ท่านนาเสนอไว้ ปฎิพากษ์ การใช้ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ในสารบัญถึงแม้ว่าผู้รจนาจะเป็ น นักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา แต่การใช้ศัพท์พระพุทธศาสนาใน การตั้งหัวข้อนั้นอาจทาให้ผู้ศึกษา ที่ปราศจากพื้นฐานความรู ้ทาง พระพุทธศาสนาไม่มีความเข้าใจ หรือทาให้ประเด็นดังกล่าวขาด ความน่าสนใจ
  • 9. ๒. ด้านการเรียงลาดับการ นาเสนอ หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนาใช้วิธี เรียงลาดับการนาเสนอลักษณะเดียวกับ หนังสือทั่วไป แต่มีความแตกต่างกันตรงมี คาอนุโมทนาต่อบุคคลผู้จัดทา และใช้ อารัมภพจน์ (หน้า ๖) แล้วจึงกล่าวถึง เนื้อหาในเรื่อง ลงท้ายด้วยสรุปและบันทึก ท้ายเล่ม เป็ นลักษณะเอกสารกึ่งวิจัย ซึ่งจะ มีอยู่ไม่กี่ท่านที่ใช้การนาเสนอในลักษณะ นี้
  • 10. ๒ ปิ ยวาท ผู้วิจารณ์เห็นด้วยกับ การ เรียงลาดับการนาเสนอใน ลักษณะนี้ เพราะเป็ นการ จัดระบบการนาเสนอใน ลักษณะของผู้รจนา ซึ่งมี อีกหลายเล่มที่นาเสนอใน ลักษณะนี้ ปฎิพากษ์ การเรียงลาดับเนื้อหาของ อารัมภ พจน์ เพราะ ควรเรียงจากผู้จัดทา คือ ดร.พงษ์ศรี เลขะวัฒนะ และ ดร.สมศีล ฌานวังศะ ก่อน ในย่อ ห น้ า ที่ ๓ ต่ อ ม า จึ ง จ ะ เ ป็ น ศาสตราจารย์ ดร.สมศีล ฌาน วังศะ ผู้ตรวจเรียบเรียงและบันทึก ท้ายเล่ม ในย่อหน้าที่ ๒ และจึง เป็ น ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ศรี เลขะวัฒนะ ผู้เผยแผ่และแปลเป็ น ภาษาอังกฤษ ในย่อหน้าที่ ๑ ส่วน ย่อหน้าที่ ๔ คงไว้
  • 11. ๓. การใช้ภาษา หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนาใช้ ภาษาในลักษณะเทศนาโวหาร คือ เป็ น ภาษาที่ใช้ในการแสดงปาฐกถาธรรม กอปรกับ บรรยายโวหาร คือการเล่า เหตุการณ์ต่างๆ จากพุทธกาลจนถึง ปัจจุบัน สาธกโวหาร คือ การยกตัวอย่าง เรื่องราวในพระพุทธศาสนา กอปรกับ อุปมาโวหาร โดยการเปรียบเทียบกับ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม ต่ า ง ๆ ร ว ม ถึ ง ก า รใ ช้ สัญลักษณ์ในเชิงเปรียบเทียบ เช่น การยิง ลูกศรให้กลางเป้ ากับทางสายกลาง การใช้ ปฏิพากย์ คือ การแสดงสะท้อนกลับของ ้
  • 12. ๓ ปิ ยวาท ความหลากหลายของการ ใช้ภาษาเพื่อให้เกิดอรรถรส ในการศึกษา นาไปสู่การ วิเคราะห์ให้เกิดองค์ความรู ้ ร่วมกับ การแฝงแง่คิดให้ เห็นความสุขุมลุ่มลึกแห่ง ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง พระพุทธศาสนาในประเด็น ต่างๆ มีความครอบคลุมทั้ง หลักธรรม พุทธประวัติ ลีลา ก า ร ส อ น แ ล ะ โ ว ห า ร ลักษณะต่างๆ ทาให้มีความ ปฎิพากษ์ การนาเสนอทางด้านภาษาที่ปราศจาก อรรถาธิบายท้ายเรื่อง เพราะการใช้ภาษาที่ หลากหลายนั้นอาจทาให้ผู้ศึกษาเกิดความ สงสัย หรืออาจเข้าใจผิดได้ เช่น “ดังที่ได้ บอกแต่ต้นแล้วว่า ลักษณะของ พระพุทธศาสนา นั้น เป็ นลักษณะของสิ่งที่ ถือว่าเรารู ้กันดีอยู่แล้ว เพราะฉะนั้น เรื่องที่ อาตมาภาพจะยกขึ้นมาพูดก็เป็ นเรื่อง ธรรมดา ที่ท่านรู ้อยู่แล้ว เท่ากับว่า เอาเรื่อง ที่รู ้กันอยู่แล้วนั้นเอง” (หน้า ๕) ซึ่งบุคคลที่ มีความรู ้ต้องผ่านระบบการศึกษา พระพุทธศาสนาจึงจะรู ้และเข้าใจเรื่อง เหล่านี้ แต่สาหรับบุคคลธรรมดาที่ไม่ได้มี ความรู ้จะเป็ นเรื่องยากที่จะบอกว่ารู ้อยู่แล้ว ผู้วิจารณ์จึงไม่เห็นด้วยกับข้อความ
  • 13. ๔. การจัดรูปแบบข้อความ หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนาใช้วิธีการจัดรูปแบบ ข้อความหลายประเภท คือ ๑) ใช้ตัวอักษรปกติในการนาเสนอเรื่องราว ๒) ใช้ตัวอักษรเอนเมื่อต้องการแสดงจุดสนใจ ๓) ใช้ตัวอักษรเข้มเมื่อแสดงหัวข้อหรือศัพท์ที่สาคัญ ๔) ใช้เครื่องหมายสัญประกาศ “_____” เมื่อเป็ นความหมาย ของศัพท์หรือ พุทธวจนะ ๕) ใช้เครื่องหมายวงเล็บ (_____) ในการอธิบายเพิ่มเติม ๖) ใช้เครื่องหมายยัติภาค_____ในการเชื่อมเนื้อหา ๗) ข้อความแบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ ข้อความที่เป็ น ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยแสดงเครื่องหมายให้เห็น อย่างชัดเจน
  • 14. ๔ ปิ ยวาท ความหลากหลายของสัญลักษณ์ทาง ภาษา เพราะเป็ นการสร้างจุดสนใจ เป็ น การจัดกลุ่มของเนื้อหาให้เกิดความ ชัดเจนนาไปสู่การเชื่อมโยงกับการ นาเสนอในแต่ละประเด็นเพราะผู้ศึกษาจะ สามารถเลือกเฟ ้ นเนื้อหาตามสัญลักษณ์ ให้สามารถเชื่อมโยงกันได้ในแต่ละ ประเด็นแม้มีทั้งหมด ๑๙ ประเด็น แต่ สามารถเชื่อมโยงในแต่ละประเด็นได้ เช่น ตัวเข้ม เป็ นการแสดงถึงศัพท์ที่สาคัญใน แต่ละซึ่งเป็ นการเชื่อมโยงกันระหว่างศัพท์ ในแต่ละประเด็นที่มีความคล้ายเคียงกัน สามารถเชื่อมโยงกันได้ในแต่ละประเด็น ปฎิพากษ์ การให้บันทึกท้ายเล่ม แม้เป็ น การอธิบายแต่เป็ นการสร้าง ปัญหาให้เกิดขึ้นแก่นักอ่าน ห นั ง สือ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า มือใหม่ที่อาจจะไม่คุ้นเคยกับ การอ่านหนังสือในลักษณะนี้ที่ จะอาศัยเชิงอรรถเพื่อสร้าง ความเข้าใจได้ทันที หรือ ควร อธิบายท้ายประเด็นจะสะดวก กว่า
  • 15. ๑) ลักษณะแห่ง พระพุทธศาสนา ปรากฏใน หนังสือหน้า ๑ (ดูรายละเอียด ในเล่ม) เป็ นการอารัมภบท หรือการเกริ่นนาใน การประชุมองค์การ พุทธศาสนิกสัมพันธ ์ แห่งโลก โดยกล่าว มุทิตาพจน์ต่อผู้เข้า ประชุม
  • 17. ๒) ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘ ปรากฏในหนังสือหน้า ๒ – ๓ (ดู รายละเอียดในเล่ม) ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘ เป็ น ประเด็นแรกที่ท่านยกมาเป็ นปฐม บทในการปาฐกกถาธรรม ซึ่งถือ ว่ามีความเหมาะสม เพราะ การศึกษาพระพุทธศาสนามีการ เรียงลาดับตามหลักไตรสิกขา ท่านได้ยกองค์ความรู ้ที่ปรากฏใน หนังสือนวโกวาทของสมเด็จพระ มหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิร ญาณวโรรสเป็ นการรับรองบท ปาฐกกถาซึ่งมิได้กล่าวถึงเองโดย
  • 18. ๖ ปิ ยวาท ท่านยกองค์ความรู ้ที่ ป ร า ก ฎใ น ห นั ง สื อ นวโกวาทชองสมเด็จ พระมหาสมณเจ้ากรม พระยาวชิรญาณวโร รสเป็ นการรับรองบท ป า ฐ ก ก ถ า ซึ่ง มิ ไ ด้ กล่า วถึง เอ งโด ยห า ปฎิพากษ์ การที่ท่านไม่ได้บอก ที่มาของลักษณะการ ตัดสินพระธรรมวินัย ๘ ประการในสังขิตต สู ต ร เ พื่ อใ ห้ เ ห็ น ชัดเจนมากขึ้น
  • 19. ๓) ลักษณะตัดสินพระธรรม วินัย ๗ ปรากฏในหนังสือหน้า ๓ – ๔ (ดูรายละเอียดในเล่ม) ลักษณะตัดสินพระธรรมวินัย ๗ เป็ นการแสดงถึงความเป็ น พหูสูตของท่าน ซึ่งท่านได้ยก พุ ท ธ ป ร ะ วั ติ ต อ น ที่ พระพุทธเจ้าตรัสไว้แก่พระอุ บาลีเป็ นการรับรอง เพื่อให้ เห็นความมั่นคงของพระ สัทธรรมแห่งองค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าที่ได้ตรัสไว้ ใกล้เคียงกันในหลายแห่ง
  • 20. ๗ ปิ ยวาท ท่านนาลักษณะการ ตัดสินพระธรรมวินัย ๗ ป ร ะ ก า ร ม า ใ ช้ รับรองการนาเสนอ ลัก ษ ณ ะ ตัด สิน พ ร ะ ธรรมวินัย ๘ ประการ เพื่อให้เห็นความมั่นคง ของพระสัทธรรม ปฎิพากษ์ ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ไ ด้ บ อ ก ที่ ม า ข อ ง ลักษณะการตัดสิน พระธรรมวินัย ๗ ประการในปฐมวินย ธรสูตรเพื่อให้เห็น ชัดเจนมากขึ้น
  • 21. ๔) มองกว้างๆ กับวิเคราะห์ เนื้อใน ปรากฏในหนังสือหน้า ๔ – ๕ (ดูรายละเอียดในเล่ม) มองกว้างๆ กับวิเคราะห์เนื้อใน เป็ นการนาเสนอแนวคิดการ ตี ค ว า ม ลั ก ษ ณ ะ แ ห่ ง พระพุทธศาสนา ๒ ประการ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ได้ว่า เป็ นหลักคาสอนที่ควรจะ นาไปใช้หรือไม่ ซึ่งเป็ นการ แสดงหัวข้อหลักของการ วิเคราะห์ว่าลักษณะทั่วไปแห่ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า จ า แ น ก
  • 22. ๘ ปิ ยวาท ท่ า น อ า รั ม ภ บ ท เกี่ยวกับลักษณะทั่วไป แห่งพระพุทธศาสนาที่ จาแนกออกเป็ น ๑๕ ลักษณะก่อนเพื่อให้ เห็นโครงสร้างของการ นาเสนอ ปฎิพากษ์ การนาเสนอใน ลักษณะดังกล่าว เพราะ เป็ น กา ร นาเสนอประเด็น ซ้อนประเด็น
  • 23. ๕) ลักษณะที่ ๑ คาสอนเป็ นกลาง ปฏิบัติสายกลาง ปรากฏในหนังสือ หน้า ๖ – ๑๒ (ดูรายละเอียดในเล่ม) ค า ส อ น เ ป็ น ก ล า ง ปฏิบัติสายกลาง ท่าน นาเสนอหลักธรรมที่ ปรากฏในธรรมจัก กัปปวัตนสูตร ซึ่งท่าน ได้เพิ่มความสุดโต่ง ทางด้านความคิด
  • 24. ๙ ปิ ยวาท ท่านได้เสนอการเชื่อมโยง ระหว่าง วัตถุ กับจิต หรือ ตีความเป็ นนามรูป ซึ่งเป็ น เรื่องจริง พระพุทธศาสนาจึง สอนในสิ่งที่เป็ นความจริงโดย ไม่เอียงเข้าไปในทางสุดโต่ง 2 ท า ง ซึ่ ง ท่ า น เ รี ย ก ว่ า มัชฌิมาปฏิปทา ซึ่งเป็ นกลาง ทั้งหมด ไม่เข้าข้างฝ ่ ายใด อันหมายถึง มรรคมีองค์ ๘ นั่นเอง ปฎิพากษ์ ก า ร ที่ ท่ า นไ ม่ กล่าวถึงพระพุทธ พจน์เกี่ยวกับทาง สุดโต่ง ๒ ประการ เลย
  • 25. ๖) มีหลักการเป็ นสากล ปรากฏในหนังสือหน้า ๑๓ – ๑๕ (ดูรายละเอียดในเล่ม) มีหลักการเป็ นสากลเป็ นสิ่งที่เป็ น ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ พ ร า ะ พระพุทธศาสนานั้นสามารถ นามาใช้ได้กับทุกสรรพสิ่งทั้งที่มี ชีวิตและไม่มีชีวิต เห็นด้วยกับที่ ท่านกล่าวว่าพระพุทธศาสนา เป็ นสากลทั้งความคิดและการ ปฏิบัติ ความว่าสากลทั้งความคิด และการปฏิบัติ คือ เป็ นสิ่งที่คอย ควบคุมกายและจิตให้มีความ
  • 26. ๑๐ ปิ ยวาท ท่ า น น า เ ส น อ ว่ า แ ง่ ความคิดคือสัจจธรรม หรือคาสอนเกี่ยวกับสัจ จธรรม ซึ่งถือว่าเป็ นสิ่งที่ มีความเป็ นธรรมชาติ จุด แข็งก็คือ เมื่อความคิด เป็ นกลาง การปฏิบัติก็จะ เป็ นกลางด้วย ซึ่งความ เป็ นกลางนั้นคือความ ปฎิพากษ์ ท่านไม่อธิบาย ห ลัก ก ฎ แ ห่ ง กรรมที่มีความ ส า ก ล ใ น พระพุทธศาสน
  • 27. ๗) ถือสาคัญทั้งสาระและรูปแบบ ปรากฏในหนังสือหน้า ๑๖ – ๒๒ (ดูรายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนาไม่เอียง สุดไปข้างไหน เพราะ ย อ ม รับ ข อ ง แ ต่ ล ะ ประเด็น ทั้งในด้านสาระ แ ล ะ รู ป แ บ บ ซึ่ง ท่ า น กล่าวว่าต้องเป็ นไปด้วย ความสมัครใจ แต่ไม่เอน
  • 28. ๑๑ ปิ ยวาท ท่านให้ความเห็นว่าลักษณะของ พระพุทธศาสนานี้คือ ธรรม กับ วินัย ธ ร ร ม นั้น เ ป็ น เ รื่อ ง ข อ ง สติปัญญา ของบุคคล ส่วนวินัย เป็ นแบบแผนทางสังคม เป็ นเครื่อง สร้างสภาพแวดล้อมแก่ทุกคน เสมอกัน อีกทั้งเอื้อต่อการนาธรรม มาใช้ประโยชน์ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้ ควรมีความสมดุลกัน อิงอาศัยกัน สิ่งที่ให้ความหมายแก่วินัยก็คือ ธรรม และสิ่งที่จะรักษาธรรมไว้คือ วินัยนั่นเอง ปฎิพากษ์ การไม่ยกตัวอย่าง คาจากัดความของ พระธรรมวินัยอัน ถือเป็ นแบบแผน ของพุทธบริษัทใน พระพุทธศาสนา
  • 29. ๘) เป็ นกรรมวาท กิริยาวาท วิริ ยวาท ปรากฏในหนังสือหน้า ๒๓ – ๒๗ (ดูรายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนาถือว่า กรรมเป็ นหลักความจริงที่ กระทาแล้ว มีความเพียร พยายามให้ผลจริง หลัก กรรมถือว่าเป็ นหลักใหญ่ ในพระพุทธศาสนา เพราะ พระพุทธศาสนายึดการ กระทาหรือความประพฤติ
  • 30. ๑๒ ปิ ยวาท ท่านจาแนกกรรมออกไป อีก ๓ ประเภท ตามหลัก เหตุผล คือ กรรมในอดีต กรรมในปัจจุบัน และกรรม ในอนาคต ซึ่งเกิดขึ้น เพราะกริยาทางกาย อัน สืบเนื่องจากความเพียร พยายามทางจิตใจ ปฎิพากษ์ ก า ร ที่ ท่ า นไ ม่ อ ธิ บ า ย ค ว า ม เชื่อมโยงของกรรม ๓ ป ร ะ เ ภ ท กับ กรรมวาท กิริยา วาท วิริยาวาท ให้ ชัดเจน
  • 31. ๙) เป็ นวิภัชชวาท ปรากฏใน หนังสือหน้า ๒๘ – ๓๑ (ดูรายละเอียดใน เล่ม) พระพุทธศาสนา นั้ นไ ม่ ไ ด้จ า กัด กระบวนการทาง ค ว า ม คิ ดโ ด ย เอกเทศ สามารถ
  • 32. ๑๓ ปิ ยวาท ท่านได้อธิบายเกี่ยวกับ ความเป็ นวิภัชชวาทีของ พระพุทธเจ้า ในการตรัส ต่อพุทธบริษัท เพื่อให้เกิด ประโยชน์ โดยอาศัยการ เป็ นนักวิเคราะห์ จาแนก แจกธรรม หรือแยกแยะ ให้เห็นครบแง่ด้านของ ความจริง ปฎิพากษ์ ท่านไม่กล่าวถึง เกสปุตติสูตรอัน เป็ นการวิพากษ์ ชาวกาลามะของ พระพุทธเจ้าแบบ วิภัชชวาที
  • 33. ๑๐) มุ่งอิสรภาพ ปรากฏใน หนังสือหน้า ๓๒ – ๓๔ (ดู รายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนา มี วิมุตติ หรือ ความมี อิ ส ร ภ า พ เ ป็ น จุดหมายสาคัญ และ ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น เ พี ย ง จุดหมายเท่านั้น แต่มี อิ ส ร ภ า พ เ ป็ น
  • 34. ๑๔ ปิ ยวาท ท่านจาแนกศัพท์ของ อิสรภาพออกเป็ น หลาย ศั พ ท์ คื อ Freedom อิส ร ภ า พ Sovereignty ความเป็ นใหญ่ หรือแม้แต่ Domination หรือ Dominion คือความมี อานาจหรือเหนือความ เป็ นใหญ่ ปฎิพากษ์ ก า ร ที่ ท่ า นไ ม่ อ ธิ บ า ย ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง อิ ส ร ภ า พ ทั้ง ๓ ศัพ ท์ว่ า ต่ า ง กัน อ ย่ า งไ รใ น แ ง่ พฤติกรรม
  • 35. ๑๑) เป็ นศาสนาแห่งปัญญา ปรากฏในหนังสือหน้า ๓๕ – ๔๑ (ดูรายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนาเป็ น ศ า ส น า แ ห่ ง ปั ญ ญ า พระพุทธศาสนาถือว่า ปัญญาเป็ นธรรมสูงสุด เ ป็ น ตั ว ตั ด สิ น ขั้ น สุ ด ท้า ยใ น ก า ร ที่ จ ะ เข้าถึงจุดหมายของ พระพุทธศาสนา
  • 36. ๑๕ ปิ ยวาท ก า ร ที่ ท่ า น ย ก ประเด็นการปฏิบัติ ของชาวพุทธใน ยุคปั จจุบัน ว่า มี ปัญญาเป็ นเครื่อง กาหนดความเป็ น ชาวพุทธหรือไม่ ปฎิพากษ์ การที่ท่านไม่ได้ อธิบายการสร้าง ปัญญาตามหลัก พระพุทธศาสนา หรือ ปัญญา ๓
  • 37. ๑๒) สอนหลักอนัตตา ปรากฏ ในหนังสือหน้า ๔๒ – ๔๔ (ดู รายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนามอง ความจริงของสรรพสิ่ง เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ แห่งไตรลักษณ์ คือ ความไม่เที่ยง ทนอยู่ ในสภาพเดิมไม่ได้ เ พ ร า ะ ส ร ร พ สิ่ ง
  • 38. ๑๖ ปิ ยวาท ท่านกล่าวว่า ได้อธิบาย ถึง ขันธ ์๕ ว่า ไม่มีตัวคงที่ เพราะประกอบขึ้นจาก ปัจจัยย่อยๆ ไม่มีสิ่งโดย ลาพังไม่มีใครหรืออะไรจะ เป็ นเจ้าของครอบครอง หรือบังคับบัญชาได้ นี้คือ หลักความจริงที่เรียกว่า อนัตตา ปฎิพากษ์ การที่ท่านกล่าวถึง อ นั ต ต า เ พี ย ง ประเด็นเดียวโดยไม่ กล่าวถึงไตรลักษณ์ อีก ๒ ประการที่มี ความสอดคล้องกัน
  • 39. ๑๓) มองตามเหตุปัจจัย ปรากฏในหนังสือหน้า ๔๕ – ๔๖ (ดูรายละเอียดในเล่ม) หลักความเป็ นไปตาม เหตุปัจจัย บ่งชี้ว่า สิ่ง ทั้งหลายไม่มีอยู่โดย ลาพัง แต่อิงอาศัยกัน เป็ นไปตามเหตุปัจจัย ค ล้ า ย ๆ กั บ ห ลัก สัม พัท ธ ภ า พ
  • 40. ๑๗ ปิ ยวาท ก า ร ที่ ท่ า น น า หลักสัมพัทธภาพมาใช้ อธิบายเพื่อให้บุคคลทา ความเข้าใจได้ง่ ายขึ้น โดยท่านอธิบายถึงหลักอิ ทั ป ปั จ จ ย ต า ห รื อ ปฏิจจสมุปบาทที่เนื่อง ด้วยหลักอิทัปปั จจยตา และ หลักไตรลักษณ์ อัน ปฎิพากษ์ การที่ท่านไม่ได้ จาแนกองค์ธรรม ของปฏิจจสมุป บาทเพื่อให้เห็น เป็ นรูปธรรมเลย
  • 41. ๑๔) เชื่อว่ามนุษย์ประเสริฐด้วยการ ฝึ กฝนพัฒนา ปรากฏในหนังสือหน้า ๔๗ – ๕๑ (ดูรายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนายืนยันใน ศักยภาพสูงสุดของมนุษย์ โดยยอมรับความสาคัญ ของมนุษย์ว่ามีภาวะเป็ น สัตว์ที่ฝึ กได้ และฝึ กได้ จนถึงขั้นเป็ นสัตว์ประเสริฐ ถ้ามนุ ษย์ไม่พัฒนาตน หรือไม่ฝึ กตนแล้ว ก็จะเป็ น ่ ่ ่
  • 42. ๑๘ ปิ ยวาท การที่ท่านยก พระพุทธ พจน์ ว่า ผู้ที่ฝึ กแล้ว เป็ น ผู้ประเสริฐในหมู่มนุษย์ เป็ นต้น การที่ถือว่ามนุษย์ เป็ นสัตว์ที่จะต้องฝึ กฝน พัฒนา จะทาให้เป็ นคน อ่อนน้อมถ่อมตน เพื่อ ฝึ กฝนพัฒนาให้มากขึ้น เรื่อยๆ ปฎิพากษ์ การที่ท่านไม่ได้ ก ล่ า ว ถึ ง ห ลั ก ธ ร ร ม ที่ น า ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ ช่ น
  • 43. ๑๕) เป็ นศาสนาแห่งการศึกษา ปรากฏในหนังสือหน้า ๕๒ – ๕๕ (ดูรายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนานา หลักการศึกษาเข้ามา เป็ นสาระสาคัญ เป็ น เนื้อแท้ของการดาเนิน ชีวิต และทาให้การ ดาเนินชีวิตของมนุษย์
  • 44. ๑๙ ปิ ยวาท ก า ร ที่ท่ า นไ ด้จ า แ น ก พรหมจรรย์ให้เชื่อมโยง กับมรรคโดยอาศัยการ อธิบายหลักอริยมรรคมี องค์ ๘ โดยสรุปความเป็ น หลักไตรสิกขา อันเป็ น ห ลั ก ป ฏิ บั ติ ใ น พระพุทธศาสนา หรือ ภาพรวมของการศึกษา ปฎิพากษ์ ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ไ ด้ อธิบายองค์ธรรม แ ห่ง อ ริย ม ร ร ค มี องค์ ๘ เพื่อให้เห็น กระบวนการตาม ห ลักไ ต ร สิ ก ข า ชัดเจน
  • 45. ๑๖) ให้ความสาคัญทั้งแก่ปัจจัยภายในและ ปัจจัยภายนอก ปรากฏในหนังสือหน้า ๕๖ – ๕๘ (ดูรายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนาถือเป็ น ศ า ส น า ที่ ใ ห้ ค ว า ม ส า คัญ ทั้ง แ ก่ ปัจจัยภายในและปัจจัย ภ า ย น อ ก ซึ่ ง ท่ า น ก ล่ า ว ถึ ง ค ว า ม เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา
  • 46. ๒๐ ปิ ยวาท การที่ท่านให้ความสาคัญ ระหว่างปัจจัยภายนอกอัน ได้แก่ ปรโตโฆสะ หรือ บุคคล ผู้ให้การศึกษา และ ปัจจัย ภ า ยใ น ไ ด้ แ ก่ โ ย นิ โ ส มนสิการ คือการใช้สติปัญญา พิจารณาโดยแยบคาย หนึ่ง ใ น ลั ก ษ ณ ะ แ ห่ ง พระพุทธศาสนา และเพราะ ปัจจัยทั้งสองประการนี้ถือเป็ น บุรพภาคแห่งการศึกษา ปฎิพากษ์ ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง ห ลั ก กัลยาณมิตร ๗ อัน เ ป็ น คุ ณ ส ม บั ติ ของปรโตโฆสะที่ เ ป็ น กัล ย า ณ ช น เลย
  • 47. ๑๗) ให้ตื่นตัวด้วยความไม่ ประมาท ปรากฏในหนังสือหน้า ๕๙ (ดูรายละเอียดในเล่ม) ธรรมที่ให้ชีวิตชีวาแก่ การปฏิบัติทั้งหมด ถือ เป็ นตัวกระตุ้นให้มีการ ปฏิบัติตามหลักธรรม ในพระพุทธศาสนา ก็ คือ อัปปมาทธรรม หรือความไม่ประมาท
  • 48. ๒๑ ปิ ยวาท การที่ท่านเน้นย้าพระ บาลีอันเป็ นปัจฉิมวาจา ที่ มี ม า ใ น ม ห า ปรินิพพานสูตร โดย แสดงถึงความสาคัญ ของธรรมหมวดนี้ใน ฐานะธรรมที่ครอบคลุม ธรรมอื่นๆ ปฎิพากษ์ การที่ท่านไม่อธิบาย หลักธรรมที่เนื่องด้วย ความไม่ประมาทหรือ สติสัมปชัญญะ หรือ สติปั ฏฐาน อันเป็ น หลักธรรมที่เนื่องด้วย ความไม่ประมาทใน
  • 49. ๑๘) เห็นทุกข์แต่เป็ นสุข หรือ ทุกข์เพื่อ เห็น แต่สุขเพื่อเป็ น ปรากฏในหนังสือหน้า ๖๐ – ๖๒ (ดูรายละเอียดในเล่ม) ห ลั ก ก า ร ข อ ง พระพุทธศาสนานั้น สอนให้รู ้จักโลกและ ชีวิตตามความเป็ น จริงตามกฎแห่งไตร ลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
  • 50. ๒๒ ปิ ยวาท ก า ร ที่ท่ า น อ ธิบ า ย ว่ า ห ลั ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ใ น พระพุทธศาสนา กลับ มองเห็นแต่การดาเนิน ก้าวหน้าไปด้วยความสุข สู่จุดหมายที่เป็ นบรมสุข ใ น ป ร ะ เ ด็ น นี้ เ ห็ น ว่ า มนุษย์ส่วนใหญ่เป็ นบุคคล ผู้มีกิเลส ซึ่งกิเลสเป็ นสิ่งที่ ปฎิพากษ์ การที่ท่านไม่อธิบาย ถึงโอวาท ๓ คือ ละ ความชั่ว ประพฤติดี มี ใ จ ส ะ อ า ด ห รือ ไ ต ร สิก ข า อัน เ ป็ น ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง ความสุขที่แท้จริง
  • 51. ๑๙) มุ่งประโยชน์สุขเพื่อ มวลชน ปรากฏในหนังสือ หน้า ๖๓ (ดูรายละเอียดในเล่ม) พระพุทธศาสนา ถือ เ ป็ น ศ า ส น า แห่งประชาธิปไตย คือความมุ่งหมาย เพื่อประโยชน์สุข
  • 52. ๒๓ ปิ ยวาท การที่ท่านยกเหตุการณ์การ ประกาศพระพุทธศาสนาของ พระพุทธเจ้า ทาให้พหูชน สามารถนาหลักพุทธธรรมไป บูรณาการในการประพฤติ ปฏิบัติตนให้ถูกต้องมาจนถึง ยุคปัจจุบัน จึงเห็นได้ว่า พระพุทธศาสนาเน้นย้ามาก ในเรื่องการปฏิบัติเพื่อ ประโยชน์สุขของพหูชน ปฎิพากษ์ ก า ร ที่ท่ า นไ ม่ ก ล่ า ว ถึง ประโยชน์ ๓ ประการ ใน พระพุทธศาสนา คือ ๑) ประโยชน์ตน ๒) ประโยชน์ ท่าน และ ๓) ประโยชน์ทั้ง สอง เพื่อเป็ นอุปกรณ์ใน การอธิบายให้ชัดเจนมาก ขึ้น
  • 53. ข้อสังเกต ห นั ง สื อ เ รื่ อ ง “ ลั ก ษ ณ ะ แ ห่ ง พระพุทธศาสนา (Characteristics of Buddhism)”รจนาโดย พระพรหมคุณา ภ ร ณ์ ( ป . อ . ป ยุ ต โ ต ) Phra Brahmagunahorn (P .A. Payutto) เป็ น หนังสือที่กล่าวถึงลักษณะการวิเคราะห์ ด้วยโยนิโสมนสิการจากการรับฟั งองค์ ความรู ้ที่ได้รับมาจากปรโตโฆสะทั้งที่เป็ น บุคคลและมิใช่บุคคล โดยอาศัยตัวชี้วัด (Indicator) หรือเกณฑ์การตัดสินได้ว่า หลักการหรือหลักธรรมคาสั่งสอนนั้น
  • 54. จุดแข็ง จุดแข็งของหนังสือเล่มนี้คือ ความ เป็ นนักปราชญ์ของผู้รจนา เพราะ ท่านสามารถอธิบายได้ในหลาย รูปแบบ ทั้งบรรยายโวหาร พรรณนา โวหาร การใช้ภาษาบาลี การยก พุ ท ธ ป ร ะ วัติ ก า ร เ ชื่ อ มโ ย ง เปรียบเทียบระหว่างสังคมในระดับ หนึ่ งกับสังค มอีกระดับซึ่งท่าน สามารถอธิบายให้เชื่อมโยงกันได้ อ ย่ า ง ชัด เ จ น ก อ ป ร กับ ก า รใ ช้ อุปมาอุปไมยในการอธิบาย โดยมี การเชื่อมโยงกับพุทธวจนะอีกด้วย ่
  • 55. จุดอ่อน จุดอ่อนของหนังสือเล่มนี้คือ บุคคลผู้ศึกษา จ ะ ต้อ ง มีค ว า ม รู ้ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ กี่ย ว กับ พระพุทธศาสนาอยู่บ้างจึงจะสามารถทา ความเข้าใจในประเด็นที่ท่านอธิบายได้ แต่ หากไม่มีความรู ้ความเข้าใจเลยก็จะไม่ สามารถเข้าใจในสิ่งที่ท่านอธิบายได้ เพราะ ท่านใช้ภาษาวิชาการกอปรกับภาษาทาง พระพุทธศาสนา รวมทั้งมิได้อธิบายเพียงจุด ใดจุดหนึ่งแต่เชื่อมโยงหลายจุดเข้าหากัน จึง เป็ นจุดอ่อนสาหรับบุคคลผู้ไม่มีความรู ้ความ เข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา รวมทั้งการ ทา ๒ ภาษานั้น อาจเป็ นปัญหาสาหรับผู้ ศึกษา ที่ไม่ มีควา มเข้าใจในศัพ ท์ของ พระพุทธศาสนาแม้จะเป็ นชาวต่างชาติ
  • 56. บรรณานุกรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. พระไตรปิ ฎก ภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหา จุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๙. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต), ลักษณะแห่ง พระพุทธศาสนา, กรุงเทพมหานคร : บริษัท พิมพ์