SlideShare a Scribd company logo
นายชาติชัย พันทะสี กศ.พบ.รุ่น40
รหัส 5831311538331
ขันธ์ 5 (ความหมาย)
• ขันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายของมนุษย์คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้5 ส่วน หรือ 5
ขันธ์ คือ
• 1. รูป ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้า ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก โลหิต
• 2. เวทนา ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
• 3. สัญญา ได้แก่ จาสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
• 4. สังขาร ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจาได้นั้นๆ
• 5. วิญญาณ ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
• ขันธ์นี้ รูป จัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม
• เมื่อจัดขันธ์เข้าใน ปรมัตถธรรม ปรมัตถธรรม คือ สภาพธรรมที่มีจริง เป็นอภิธรรม (อภิธรรม คือ ธรรมที่ยิ่งใหญ่ เพราะเป็นอนัตตา ไม่อยู่ใน
อานาจบังคับบัญชาของผู้ใด) เป็นสภาพธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะไม่ประสูติและตรัสรู้ สภาพธรรมทั้งหลายก็ย่อม
เป็นไปตามเหตุปัจจัยอยู่แล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดา เพราะพระองค์ทรงตรัสรู้ธรรมทั้งปวงด้วยพระองค์เองว่า ธรรมทั้งปวง
ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่บุคคล และธรรมทั้งปวงไม่อยู่ในอานาจบังคับบัญชาของผู้ใดทั้งสิ้น ปรมัตถธรรมหรืออภิธรรมนั้น มิใช่ธรรมที่
เหลือวิสัยที่จะเข้าใจได้เพราะปรมัตถธรรมเป็นธรรมที่มีจริง ฉะนั้น ความเห็นถูก ความเข้าใจถูก จึงเป็นการรู้ความจริงของปรมัตถธรรม ตาม
ลักษณะของปรมัตถธรรมนั้นๆ
• วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต
• เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก เจตสิก (อ่านว่า เจตะสิก) (บาลี: cetasika; สันสกฤต: caitasika) แปลว่า ธรรมที่ประกอบกับ
จิต, สิ่งที่เกิดในใจ, ทางใจ
• รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป
• การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน
• อ้างอิง[แก้] พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คาวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ
พ.ศ. 2548
รูป
• รูปในทางพุทธศาสนา มีหลายความหมายดังนี้
• 1 เป็นธรรมะคาหนึ่งอย่างเช่นในคาว่ารูปธรรมนามธรรม แปลว่า สิ่งชารุดทรุดโทรม, สิ่งที่แตกสลาย, สิ่งที่ผันแปรได้
• 2 หมายถึงรูปร่างที่มองเห็นด้วยตา คือร่างกายหรือตัวตนของคน สัตว์สิ่งของ อันเกิดขึ้นจากการรวมตัวของธาตุ 4 คือ ดิน น้า ไฟ
ลม จัดเป็นขันธ์ 5คือ เกิดแก่เจ็บ และ ตาย
• 3 ใช้เป็นคาแสดงลักษณะหรือลักษณะนามของภิกษุสามเณร เช่นภิกษุ 3 รูป สามเณร 5 รูป
• 4 ในสมัยก่อนใช้เป็นคาแทนตัวเองของภิกษุสามเณรที่พูดกับคฤหัสถ์เช่นเดียวกับคาว่า อาตมา, ฉัน
• เช่น "วันนี้รูปไปไม่ได้หรอกโยม รูปไม่ว่าง" หมายความว่า"อาตมาไปไม่ได้ ไม่ว่าง" นั่นเอง
• ศาสนา หมายถึง ความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือหลักการ สถาบัน หรือประเพณี ที่เป็นที่เคารพ โดยทั่วไปแล้ว
อาจกล่าวได้ว่า ศาสนาเป็นสิ่งที่ควบคุม และประสานความสัมพันธ์ของมนุษย์ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข หรือคือ หลักการ
และวิถีทางที่มนุษย์เลือกใช้ในการดารงชีวิต.
เวทนา
เวทนา สามารถจัดออกเป็นประเภทต่างๆ ได้หลายแบบ เช่น
• 1 เวทนา ๒
• 2 เวทนา ๓
• 3 เวทนา ๕
• 4 เวทนา ๖
• 5 เวทนาเจตสิก
• 6 เวทนาตามหลักปฏิจจสมุปบาท
เวทนา ๒ แบ่งการเสวยอารมณ์ ออกเป็นสองอย่าง คือ
๑. กายิกเวทนา หมายถึง เวทนาทางกาย การเสวยอารมณ์ทางกาย ความรู้สึกทางกาย
๒. เจตสิกเวทนา หมายถึง เวทนาทางใจ การเสวยอารมณ์ทางใจ ความรู้สึกทางใจ
เวทนา ๓[แก้]
เวทนา ๓ แบ่งการเสวยอารมณ์ ความรู้สึก รสของอารมณ์ ออกเป็นสามอย่าง คือ
๑. สุขเวทนา หมายถึง ความรู้สึกสุข สบาย ทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม
๒. ทุกขเวทนา หมายถึง ความรู้สึกทุกข์ ไม่สบาย ทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม
๓. อทุกขมเวทนา หมายถึง ความรู้สึกเฉยๆ จะสุขก็ไม่ใช่ ทุกข์ก็ไม่ใช่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อุเบกขาเวทนา
เวทนา ๕[แก้]
เวทนา ๕ แบ่ง การเสวยอารมณ์ ออกเป็นห้าอย่าง คือ
• สุข หมายถึง ความสุข ความสบายทางกาย
• ทุกข์ หมายถึง ความทุกข์ ความไม่สบาย ความเจ็บปวดทางกาย
• โสมนัส หมายถึง ความแช่มชื่น ปลื้มใจ สุขใจ (อันเกิดจากสุขจึงเกิดโสมนัส)
• โทมนัส หมายถึง ความเสียใจ ความเศร้าโศก เศร้าหมอง ทุกข์ใจ (อันเกิดจากทุกข์จึงเกิดโทรมนัส)
• อุเบกขา หมายถึง ความรู้สึกเฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์
เวทนา ๖[แก้]
เวทนา ๖ แบ่ง การเสวยอารมณ์ ออกเป็นหกอย่าง คือ
• จักษุสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางตา
• โสตสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางหู
• ฆานสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางจมูก
• ชิวหาสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางลิ้น
• กายสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางกาย
• มโนสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางใจ
เวทนาเจตสิก
• ในคัมภีร์พระอภิธรรม มีการกล่าวถึงเวทนา ในลักษณะที่เป็นเจตสิก(คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า เวทนาเจตสิก เป็น
ธรรมชาติที่เสวยอารมณ์ จาแนกเป็น เวทนา๓ และ เวทนา๕ (ดังบรรยายไปแล้วข้างต้น)
เวทนาตามหลักปฏิจจสมุปบาท
• เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา...
• เพราะผัสสะดับเวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ...
• เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง
• ผู้ที่รู้สึกสุขเวทนา ย่อมเพลิดเพลิน พูดถึง ดารงอยู่ด้วยความติดใจ จึงมีราคานุสัยนอนเนื่องอยู่
• ผู้ที่รู้สึกทุกขเวทนา ย่อมเศร้าโศก ลาบาก ร่าไห้ คร่าครวญทุ่มอก โกรธ หลง จึงมีปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่
• ผู้ที่รู้สึก อทุกขมสุขเวทนา ย่อมไม่ทราบชัดความตั้งขึ้น ความดับไป คุณ โทษ และที่สลัดออกแห่งเวทนานั้น ตามความเป็นจริง
จึงมีอวิชชานุสัยนอนเนื่องอยู่
สังขาร
สังขารขันธ์ หมายถึง การกระทาต่างๆทั้งทางกาย(กายสังขาร) วาจา(วจีสังขาร) ใจ(จิตสังขารหรือมโนสังขาร)
• ดังนั้นถ้าเรารวบรวมกระบวนธรรมต่างๆ อันเกิดขึ้นแต่อายตนะ(ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ)มาทั้งหมด ก็จะได้รูปแบบของขันธ์ ๕
ตามกระบวนธรรมดังนี้
• ตา รูป จักขุวิญญาณ(ตา) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์
• หู เสียง โสตวิญญาณ(หู) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์
• จมูก กลิ่น ฆนะวิญญาณ(จมูก) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์
• ลิ้น ร ส ชิวหาวิญญาณ(ลิ้น) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์
• กาย โผฏฐัพพะ(สัมผัส) กายวิญญาณ(กาย) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์
• ใจ ธรรมารมณ์เช่นนึก มโนวิญญาณ(ใจ) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์
• ข้อสังเกตุ สฬายตนะทั้ง ๖ นั้น ต่างทางานเหมือนกัน ขอให้จาและพิจารณาโดยแยบคายในกระบวนธรรม
ของจิตข้างต้น อันจะขยายความเพื่อความเข้าใจในธรรมหรือสภาวธรรมต่างๆได้กระจ่างถูกต้องตามจริงใน
การโยนิโสมนสิการต่อไปภายหน้า
วิญญาณ
ในศาสนาพุทธ คาว่าวิญญาณ (บาลี: viññāṇa; สันสกฤต: विज्ञान) ใช้หมายถึงพิชาน(consciousness) คือความรู้แจ้งอารมณ์[1] พระไตรปิฎกระบุ
ว่าพระพุทธเจ้าทรงจาแนกวิญญาณออกเป็น 6 ประเภท[2] ได้แก่
1 จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา คือรู้รูปด้วยตา หรือการเห็น
2 โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู คือรู้เสียงด้วยหู หรือการได้ยิน
3 ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือรู้กลิ่นด้วยจมูก หรือการได้กลิ่น
4 ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น คือรู้รสด้วยลิ้น หรือการรู้รส
5 กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย คือรู้โผฏฐัพพะด้วยกาย หรือการรู้สึกกายสัมผัส
6 มโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ คือรู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ หรือการนึกคิด
นอกจากนี้วิญญาณยังปรากฏในหลักธรรมอื่น ๆ ด้วย เช่น วิญญาณขันธ์ในขันธ์ 5 วิญญาณในปฏิจจสมุปบาท
คาว่าวิญญาณยังถือเป็นคาไวพจน์ของคาว่าจิต มีความหมายเหมือนกัน ใช้แทนกันได้[3]
หน้าที่ของวิญญาณ (วิญญาณกิจ)
คัมภีร์วิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆสะและคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธาจารย์ กล่าวว่าวิญญาณมีหน้าที่ 14 อย่าง[4][5] คือ
1. ปฏิสนธิ สืบต่อภพใหม่ 2. ภวังค์คะ เป็นองค์ประกอบของภพ 3. อาวัชชนะ คานึงถึงอารมณ์ใหม่
4. ทัสสนะ เห็นรูป (ตรงกับจักขุวิญญาณ) 5. สวนะ ได้ยินเสียง (ตรงกับโสตวิญญาณ) 6. ฆายนะ ได้กลิ่น (ตรงกับฆานวิญญาณ)
7. สายนะ รู้รส (ตรงกับชิวหาวิญญาณ) 8. ผุสนะ ถูกต้องโผฏฐัพพะ (ตรงกับกายวิญญาณ)
9. สัมปฏิจฉนะ รับอารมณ์ 10.ตีรณะ พิสันจารณาอารมณ์
11. โวฏฐัพพนะ ตัดสินอารมณ์
12. ชวนะ เสพอารมณ์
13. ตทาลัมพณะ รับอารมณ์ต่อจากชวนะก่อนจะกลับสู่ภวังค์
14. จุติ เคลื่อนจากภพปัจจุบันเพื่อจะไปสู่ภพหน้า
• คัมภีร์วิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆสะและคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธาจารย์กล่าวว่าวิญญาณมีหน้าที่
14 อย่าง[4][5] คือ
• ปฏิสนธิ สืบต่อภพใหม่
• ภวังคะ เป็นองค์ประกอบของภพ
• อาวัชชนะ คานึงถึงอารมณ์ใหม่
• ทัสสนะ เห็นรูป (ตรงกับจักขุวิญญาณ)
• สวนะ ได้ยินเสียง (ตรงกับโสตวิญญาณ)
• ฆายนะ ได้กลิ่น (ตรงกับฆานวิญญาณ)
• สายนะ รู้รส (ตรงกับชิวหาวิญญาณ)
• ผุสนะ ถูกต้องโผฏฐัพพะ(ตรงกับกายวิญญาณ)
• สัมปฏิจฉนะ รับอารมณ์
• ตีรณะ พิสันจารณาอารมณ์
• โวฏฐัพพนะ ตัดสินอารมณ์
• ชวนะ เสพอารมณ์
• ตทาลัมพณะรับอารมณ์ต่อจากชวนะก่อนจะกลับสู่ภวังค์
• จุติ เคลื่อนจากภพปัจจุบันเพื่อจะไปสู่ภพหน้า
อ้างอิง[แก้]
กระโดดขึ้น↑ วิญญาณ 6. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พระพรหมคุณาภรณ์
(ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
กระโดดขึ้น↑ ที.ปา.11/306/255
กระโดดขึ้น↑ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2546
กระโดดขึ้น↑ วิสุทธิ 3/29
กระโดดขึ้น↑ สงฺคห15
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คา
วัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548

More Related Content

What's hot

อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
Padvee Academy
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
Rath Saadying
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
Padvee Academy
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
ต้นไม้ เดียวกัน
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
สาวกปิศาจ Kudo
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
Teacher Sophonnawit
 

What's hot (20)

อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวางอริยสัจ4และการปล่อยวาง
อริยสัจ4และการปล่อยวาง
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 

Similar to ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdfอภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
PavitDhammabhalo
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
Songsarid Ruecha
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒Rose Banioki
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdf
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdfภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdf
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
Prachyanun Nilsook
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
thanaetch
 
เป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคม
เป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคมเป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคม
เป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคม
niralai
 
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6   intrinsic nature of a personCarita 6 จริต 6   intrinsic nature of a person
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
Pusadee Dang
 

Similar to ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ (20)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ขันธ์52
ขันธ์52ขันธ์52
ขันธ์52
 
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdfอภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
อภิธรรมศึกษา ๓ 01-2566.pdf
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๑
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๔๑
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๓๒
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdf
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdfภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdf
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำวิปัสสนากรรมฐานในพระพุทธศาสนา.pdf
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
เป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคม
เป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคมเป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคม
เป้าหมายการศึกษาชีวิตและสังคม
 
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6   intrinsic nature of a personCarita 6 จริต 6   intrinsic nature of a person
Carita 6 จริต 6 intrinsic nature of a person
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ

  • 2. • ขันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึงร่างกายของมนุษย์คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้5 ส่วน หรือ 5 ขันธ์ คือ • 1. รูป ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้า ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก โลหิต • 2. เวทนา ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ • 3. สัญญา ได้แก่ จาสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ • 4. สังขาร ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจาได้นั้นๆ • 5. วิญญาณ ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ • ขันธ์นี้ รูป จัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม • เมื่อจัดขันธ์เข้าใน ปรมัตถธรรม ปรมัตถธรรม คือ สภาพธรรมที่มีจริง เป็นอภิธรรม (อภิธรรม คือ ธรรมที่ยิ่งใหญ่ เพราะเป็นอนัตตา ไม่อยู่ใน อานาจบังคับบัญชาของผู้ใด) เป็นสภาพธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะไม่ประสูติและตรัสรู้ สภาพธรรมทั้งหลายก็ย่อม เป็นไปตามเหตุปัจจัยอยู่แล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดา เพราะพระองค์ทรงตรัสรู้ธรรมทั้งปวงด้วยพระองค์เองว่า ธรรมทั้งปวง ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่บุคคล และธรรมทั้งปวงไม่อยู่ในอานาจบังคับบัญชาของผู้ใดทั้งสิ้น ปรมัตถธรรมหรืออภิธรรมนั้น มิใช่ธรรมที่ เหลือวิสัยที่จะเข้าใจได้เพราะปรมัตถธรรมเป็นธรรมที่มีจริง ฉะนั้น ความเห็นถูก ความเข้าใจถูก จึงเป็นการรู้ความจริงของปรมัตถธรรม ตาม ลักษณะของปรมัตถธรรมนั้นๆ • วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต • เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก เจตสิก (อ่านว่า เจตะสิก) (บาลี: cetasika; สันสกฤต: caitasika) แปลว่า ธรรมที่ประกอบกับ จิต, สิ่งที่เกิดในใจ, ทางใจ • รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป • การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน • อ้างอิง[แก้] พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คาวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
  • 3. รูป • รูปในทางพุทธศาสนา มีหลายความหมายดังนี้ • 1 เป็นธรรมะคาหนึ่งอย่างเช่นในคาว่ารูปธรรมนามธรรม แปลว่า สิ่งชารุดทรุดโทรม, สิ่งที่แตกสลาย, สิ่งที่ผันแปรได้ • 2 หมายถึงรูปร่างที่มองเห็นด้วยตา คือร่างกายหรือตัวตนของคน สัตว์สิ่งของ อันเกิดขึ้นจากการรวมตัวของธาตุ 4 คือ ดิน น้า ไฟ ลม จัดเป็นขันธ์ 5คือ เกิดแก่เจ็บ และ ตาย • 3 ใช้เป็นคาแสดงลักษณะหรือลักษณะนามของภิกษุสามเณร เช่นภิกษุ 3 รูป สามเณร 5 รูป • 4 ในสมัยก่อนใช้เป็นคาแทนตัวเองของภิกษุสามเณรที่พูดกับคฤหัสถ์เช่นเดียวกับคาว่า อาตมา, ฉัน • เช่น "วันนี้รูปไปไม่ได้หรอกโยม รูปไม่ว่าง" หมายความว่า"อาตมาไปไม่ได้ ไม่ว่าง" นั่นเอง • ศาสนา หมายถึง ความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สิ่งเหนือธรรมชาติ หรือหลักการ สถาบัน หรือประเพณี ที่เป็นที่เคารพ โดยทั่วไปแล้ว อาจกล่าวได้ว่า ศาสนาเป็นสิ่งที่ควบคุม และประสานความสัมพันธ์ของมนุษย์ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข หรือคือ หลักการ และวิถีทางที่มนุษย์เลือกใช้ในการดารงชีวิต.
  • 4. เวทนา เวทนา สามารถจัดออกเป็นประเภทต่างๆ ได้หลายแบบ เช่น • 1 เวทนา ๒ • 2 เวทนา ๓ • 3 เวทนา ๕ • 4 เวทนา ๖ • 5 เวทนาเจตสิก • 6 เวทนาตามหลักปฏิจจสมุปบาท เวทนา ๒ แบ่งการเสวยอารมณ์ ออกเป็นสองอย่าง คือ ๑. กายิกเวทนา หมายถึง เวทนาทางกาย การเสวยอารมณ์ทางกาย ความรู้สึกทางกาย ๒. เจตสิกเวทนา หมายถึง เวทนาทางใจ การเสวยอารมณ์ทางใจ ความรู้สึกทางใจ เวทนา ๓[แก้] เวทนา ๓ แบ่งการเสวยอารมณ์ ความรู้สึก รสของอารมณ์ ออกเป็นสามอย่าง คือ ๑. สุขเวทนา หมายถึง ความรู้สึกสุข สบาย ทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม ๒. ทุกขเวทนา หมายถึง ความรู้สึกทุกข์ ไม่สบาย ทางกายก็ตาม ทางใจก็ตาม ๓. อทุกขมเวทนา หมายถึง ความรู้สึกเฉยๆ จะสุขก็ไม่ใช่ ทุกข์ก็ไม่ใช่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อุเบกขาเวทนา
  • 5. เวทนา ๕[แก้] เวทนา ๕ แบ่ง การเสวยอารมณ์ ออกเป็นห้าอย่าง คือ • สุข หมายถึง ความสุข ความสบายทางกาย • ทุกข์ หมายถึง ความทุกข์ ความไม่สบาย ความเจ็บปวดทางกาย • โสมนัส หมายถึง ความแช่มชื่น ปลื้มใจ สุขใจ (อันเกิดจากสุขจึงเกิดโสมนัส) • โทมนัส หมายถึง ความเสียใจ ความเศร้าโศก เศร้าหมอง ทุกข์ใจ (อันเกิดจากทุกข์จึงเกิดโทรมนัส) • อุเบกขา หมายถึง ความรู้สึกเฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์ เวทนา ๖[แก้] เวทนา ๖ แบ่ง การเสวยอารมณ์ ออกเป็นหกอย่าง คือ • จักษุสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางตา • โสตสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางหู • ฆานสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางจมูก • ชิวหาสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางลิ้น • กายสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางกาย • มโนสัมผัสชา เวทนา หมายถึง เวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางใจ
  • 6. เวทนาเจตสิก • ในคัมภีร์พระอภิธรรม มีการกล่าวถึงเวทนา ในลักษณะที่เป็นเจตสิก(คือ ธรรมชาติที่อาศัยจิตเกิด) เรียกว่า เวทนาเจตสิก เป็น ธรรมชาติที่เสวยอารมณ์ จาแนกเป็น เวทนา๓ และ เวทนา๕ (ดังบรรยายไปแล้วข้างต้น) เวทนาตามหลักปฏิจจสมุปบาท • เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา... • เพราะผัสสะดับเวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ... • เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ย่อมเกิดความเสวยอารมณ์ เป็นสุขบ้าง เป็นทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง • ผู้ที่รู้สึกสุขเวทนา ย่อมเพลิดเพลิน พูดถึง ดารงอยู่ด้วยความติดใจ จึงมีราคานุสัยนอนเนื่องอยู่ • ผู้ที่รู้สึกทุกขเวทนา ย่อมเศร้าโศก ลาบาก ร่าไห้ คร่าครวญทุ่มอก โกรธ หลง จึงมีปฏิฆานุสัยนอนเนื่องอยู่ • ผู้ที่รู้สึก อทุกขมสุขเวทนา ย่อมไม่ทราบชัดความตั้งขึ้น ความดับไป คุณ โทษ และที่สลัดออกแห่งเวทนานั้น ตามความเป็นจริง จึงมีอวิชชานุสัยนอนเนื่องอยู่
  • 7. สังขาร สังขารขันธ์ หมายถึง การกระทาต่างๆทั้งทางกาย(กายสังขาร) วาจา(วจีสังขาร) ใจ(จิตสังขารหรือมโนสังขาร) • ดังนั้นถ้าเรารวบรวมกระบวนธรรมต่างๆ อันเกิดขึ้นแต่อายตนะ(ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ)มาทั้งหมด ก็จะได้รูปแบบของขันธ์ ๕ ตามกระบวนธรรมดังนี้ • ตา รูป จักขุวิญญาณ(ตา) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์ • หู เสียง โสตวิญญาณ(หู) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์ • จมูก กลิ่น ฆนะวิญญาณ(จมูก) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์ • ลิ้น ร ส ชิวหาวิญญาณ(ลิ้น) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์ • กาย โผฏฐัพพะ(สัมผัส) กายวิญญาณ(กาย) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์ • ใจ ธรรมารมณ์เช่นนึก มโนวิญญาณ(ใจ) ผัสสะ สัญญา(จา) เวทนา สัญญาหมายรู้ สังขารขันธ์ • ข้อสังเกตุ สฬายตนะทั้ง ๖ นั้น ต่างทางานเหมือนกัน ขอให้จาและพิจารณาโดยแยบคายในกระบวนธรรม ของจิตข้างต้น อันจะขยายความเพื่อความเข้าใจในธรรมหรือสภาวธรรมต่างๆได้กระจ่างถูกต้องตามจริงใน การโยนิโสมนสิการต่อไปภายหน้า
  • 8. วิญญาณ ในศาสนาพุทธ คาว่าวิญญาณ (บาลี: viññāṇa; สันสกฤต: विज्ञान) ใช้หมายถึงพิชาน(consciousness) คือความรู้แจ้งอารมณ์[1] พระไตรปิฎกระบุ ว่าพระพุทธเจ้าทรงจาแนกวิญญาณออกเป็น 6 ประเภท[2] ได้แก่ 1 จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา คือรู้รูปด้วยตา หรือการเห็น 2 โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู คือรู้เสียงด้วยหู หรือการได้ยิน 3 ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก คือรู้กลิ่นด้วยจมูก หรือการได้กลิ่น 4 ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น คือรู้รสด้วยลิ้น หรือการรู้รส 5 กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย คือรู้โผฏฐัพพะด้วยกาย หรือการรู้สึกกายสัมผัส 6 มโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ คือรู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ หรือการนึกคิด นอกจากนี้วิญญาณยังปรากฏในหลักธรรมอื่น ๆ ด้วย เช่น วิญญาณขันธ์ในขันธ์ 5 วิญญาณในปฏิจจสมุปบาท คาว่าวิญญาณยังถือเป็นคาไวพจน์ของคาว่าจิต มีความหมายเหมือนกัน ใช้แทนกันได้[3] หน้าที่ของวิญญาณ (วิญญาณกิจ) คัมภีร์วิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆสะและคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธาจารย์ กล่าวว่าวิญญาณมีหน้าที่ 14 อย่าง[4][5] คือ 1. ปฏิสนธิ สืบต่อภพใหม่ 2. ภวังค์คะ เป็นองค์ประกอบของภพ 3. อาวัชชนะ คานึงถึงอารมณ์ใหม่ 4. ทัสสนะ เห็นรูป (ตรงกับจักขุวิญญาณ) 5. สวนะ ได้ยินเสียง (ตรงกับโสตวิญญาณ) 6. ฆายนะ ได้กลิ่น (ตรงกับฆานวิญญาณ) 7. สายนะ รู้รส (ตรงกับชิวหาวิญญาณ) 8. ผุสนะ ถูกต้องโผฏฐัพพะ (ตรงกับกายวิญญาณ) 9. สัมปฏิจฉนะ รับอารมณ์ 10.ตีรณะ พิสันจารณาอารมณ์ 11. โวฏฐัพพนะ ตัดสินอารมณ์ 12. ชวนะ เสพอารมณ์ 13. ตทาลัมพณะ รับอารมณ์ต่อจากชวนะก่อนจะกลับสู่ภวังค์ 14. จุติ เคลื่อนจากภพปัจจุบันเพื่อจะไปสู่ภพหน้า
  • 9. • คัมภีร์วิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆสะและคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธาจารย์กล่าวว่าวิญญาณมีหน้าที่ 14 อย่าง[4][5] คือ • ปฏิสนธิ สืบต่อภพใหม่ • ภวังคะ เป็นองค์ประกอบของภพ • อาวัชชนะ คานึงถึงอารมณ์ใหม่ • ทัสสนะ เห็นรูป (ตรงกับจักขุวิญญาณ) • สวนะ ได้ยินเสียง (ตรงกับโสตวิญญาณ) • ฆายนะ ได้กลิ่น (ตรงกับฆานวิญญาณ) • สายนะ รู้รส (ตรงกับชิวหาวิญญาณ) • ผุสนะ ถูกต้องโผฏฐัพพะ(ตรงกับกายวิญญาณ) • สัมปฏิจฉนะ รับอารมณ์ • ตีรณะ พิสันจารณาอารมณ์ • โวฏฐัพพนะ ตัดสินอารมณ์ • ชวนะ เสพอารมณ์ • ตทาลัมพณะรับอารมณ์ต่อจากชวนะก่อนจะกลับสู่ภวังค์ • จุติ เคลื่อนจากภพปัจจุบันเพื่อจะไปสู่ภพหน้า
  • 10. อ้างอิง[แก้] กระโดดขึ้น↑ วิญญาณ 6. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) กระโดดขึ้น↑ ที.ปา.11/306/255 กระโดดขึ้น↑ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 2546 กระโดดขึ้น↑ วิสุทธิ 3/29 กระโดดขึ้น↑ สงฺคห15 พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คา วัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548