SlideShare a Scribd company logo
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งก็คือ การลอบปลงพระชนม์อาร์คดุยค ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ รัชทายาทของบัลลังก์จักรวรรดิ
ออสเตรีย-ฮังการี โดยกัฟรีโล ปรินซีป ชาวเซิร์บบอสเนีย ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือมืดและการแก้แค้นของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
ต่อราชอาณาจักรเซอร์เบียก็ทาให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ก่อให้เกิดสงครามครั้งใหญ่ปะทุขึ้นในทวีปยุโรป ภายในหนึ่งเดือน ทวีปยุโรป
ส่วนมากก็อยู่ในสภาวะสงคราม แต่ความขัดแย้งที่มีมาตั้งแต่การรวมชาติเยอรมนี ตั้งแต่ ค.ศ. 1871 นั้นทาให้ยุโรปต้องอยู่ในสมดุลแห่ง
อานาจซึ่งยากแก่การรักษา การแข่งขันทางทหาร อุตสาหกรรมและการแย่งชิงดินแดนก็ทาให้วิกฤตสุกงอมจนกระทั่งปะทุออกมาเป็น
สงคราม สงครามครั้งนี้ได้แบ่งออกเป็นสองฝ่าย คือ มหาอานาจไตรภาคี (อังกฤษ: Triple Entente) ซึ่งเดิมประกอบด้วย ฝรั่งเศส สหราช
อาณาจักร จักรวรรดิรัสเซีย รวมไปถึงประเทศอาณานิคมด้วย โดยส่วนใหญ่รัฐที่เข้าร่วมสงครามในภายหลังจะเข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตร
โดยชาติมหาอานาจที่เข้าสู่สงครามด้วย ได้แก่จักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อเดือนสิงหาคม 1914 อิตาลี เมื่อเดือนเมษายน 1915 และสหรัฐอเมริกา
เมื่อเดือนเมษายน 1917 และฝ่ายมหาอานาจกลาง (อังกฤษ: Central Powers) ซึ่งเดิมประกอบด้วย จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิ
ออสเตรีย-ฮังการี และดินแดนอาณานิคม จักรวรรดิออตโตมานได้เข้าร่วมกับฝ่ายมหาอานาจกลางเมื่อเดือนตุลาคม 1914 และบัลแกเรีย
ในอีกปีให้หลัง ระหว่างช่วงสงครามประเทศที่วางตัวเป็นกลางในทวีปยุโรป ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ สเปนและประเทศ
ตามคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แม้ว่าประเทศเหล่านี้อาจจะเคยส่งเสบียงและยุทโธปกรณ์ไปช่วยเหลือบางประเทศที่รบอยู่ก็ตาม
การสู้รบที่เกิดขึ้นตามแนวรบด้านตะวันตกเกิดขึ้นไปตามระบบสนามเพลาะ และป้อมปราการซึ่งถูกแยกออกจากกันด้วยดินแดนรกร้าง
แนวปราการเหล่านี้ตรึงขนานออกไปเป็นระยะมากกว่า 600 กิโลเมตรและเป็นส่วนสาคัญของสงครามสาหรับคนจานวนมากส่วนใน
แนวรบด้านตะวันออก ที่ราบฝั่งตะวันออกที่กว้างขวางและเครือข่ายทางรถไฟที่จากัด ทาให้การรบในสนามเพลาะไม่สามารถทาได้
แม้ว่าความรุนแรงของความขัดแย้งในด้านตะวันออกนั้น จะพอ ๆ กับด้านตะวันตกก็ตาม แนวรบตะวันออกกลางและแนวรบอิตาลีก็มี
การสู้รบกันอย่างดุเดือดเช่นกัน และการสู้รบก็ยังลุกลามไปยังน่านน้า และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ คือการรบกลางอากาศ
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลงด้วยชัยชนะของฝ่ายพันธมิตร และความปราชัยของฝ่ายมหาอานาจกลางภายหลังสงคราม ได้มี
การเซ็นสนธิสัญญาจานวนมาก แต่ที่สาคัญคือ สนธิสัญญาแวร์ซายส์ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1919 แม้ว่าฝ่ายเยอรมนีจะยอมสงบศึกไปก่อน
แล้วในปี 1918 ผลที่สาคัญอย่างหนึ่งของสงครามก็คือการวาดรูปแผนที่ยุโรปใหม่ ประเทศฝ่ายมหาอานาจกลางสูญเสียดินแดนของตน
เป็นจานวนมาก และทาให้เกิดประเทศใหม่ขึ้นมาในยุโรปตะวันออก เยอรมนีสูญเสียอาณานิคมโพ้นทะเลทั้งหมด รวมไปถึงการต้อง
ชดใช้ค่าปฏิกรสงครามจานวนมหาศาล และการต้องทนการถูกตราหน้าว่าเป็นผู้เริ่มสงคราม จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้แตกออกเป็น
ประเทศเอกราชใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวีย จักรวรรดิออตโตมานล่มสลาย แผ่นดินเดิมของจักรวรรดิ
นอกจากที่ราบสูงอนาโตเลียได้ถูกแบ่งให้กลายเป็นอาณานิคมของผู้ชนะสงครามทั้งหลาย ส่วนชาวอาหรับเดิมได้กลายเป็นประเทศตุรกี
จักรวรรดิรัสเซียซึ่งได้ถอนตัวจากสงครามในปี 1917 ได้สูญเสียดินแดนของตนเป็นจานวนมากทางชายแดนด้านตะวันตกกลายเป็น
ประเทศใหม่ ได้แก่ เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย และ โปแลนด์ และได้มีการก่อตั้ง สันนิบาตชาติ เพื่อเป็นองค์การระหว่าง
ประเทศที่มีจุดประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศด้วยวิธีการทางการทูต สงครามโลกครั้งที่หนึ่งถือเป็นจุดสิ้นสุดของยุค
ระเบียบโลกที่เกิดขึ้นหลังจากสงครามนโปเลียน และยังเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้สงครามโลกครั้งที่สองเกิดขึ้น
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945)
เป็นผลจากความขัดแย้งของประชาชาติต่างๆที่เกิดขึ้นสะสมมาก่อนเดือนสิงหาคมค.ศ. 1939 อันเนื่องมาจากความตกต่า
ทางเศรษฐกิจเงื่อนไขหรือข้อบังคับบทลงโทษตามสนธิสัญญาสันติภาพและความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ สาเหตุของ
สงคราม
1. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม ข้อบกพร่องของสนธิสัญญาสันติภาพหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสาเหตุมาจากประเทศ
ชนะสงครามและประเทศที่แพ้สงครามต่างก็ไม่พอใจในข้อตกลงเพราะสูญเสียผลประโยชน์โดยเฉพาะสนธิ สัญญาแวร์ซายส์ที่
เยอรมันไม่พอใจในสภาพที่ตนต้องถูกผูกมัดด้วยสัญญา
2. ลัทธิชาตินิยม ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซาย ทาให้ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) ผู้นาเยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซี
เพื่อสร้างประเทศให้ยิ่งใหญ่เช่นเดียวกับ เบนีโต มุสโสลีนี (BenitoMussolini)ผู้นาอิตาลีหันไปใช้ลัทธิฟาสซิสต์
ส่วนญี่ปุ่นต้องการสร้างวงศ์ไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเชียบูรพา เพื่อเป็นผู้นาในเอเชียนอกจากนี้ยังเกิดทฤษฎีชาตินิยมในเยอรมนีว่า
ด้วยความเหนือกว่าในทางเผ่าพันธุ์ ที่ทาให้ฮิตเลอร์ใช้นโยบายกวาดล้างชาวยิวในดินแดนยึดครองต่าง ๆ
3. ลัทธินิยมทางทหาร ได้แก่ การสะสมอาวุธเพื่อประสิทธิภาพของกองทัพ ทาให้เกิดความตึงเครียดระหว่างประเทศมากขึ้น และ
เกิดความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
4. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษการใช้นโยบายออมชอมของอังกฤษเมื่อเยอรมนีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย โดย
การเพิ่ม กาลังทหารและการรุกรานดินแดนต่าง ๆ
5. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ ปัญหาทางการเมือง และ
เศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้หลายประเทศหันไปใช้ระบอบเผด็จการเพื่อแก้ปัญหาภายใน เช่น เยอรมนีและอิตาลี นาไปสู่
การแบ่งกลุ่มประเทศ
6. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เนื่องจากไม่มีกองทัพขององค์การ ทาให้ขาดอานาจในการปฏิบัติการและการที่อเมริกา
ไม่ได้เป็นสมาชิกจึงทาให้องค์การสันนิบาตชาติเป็นเครื่องมือของประเทศที่ชนะใช้ลงโทษประเทศที่แพ้สงคราม
ชนวนที่นาไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2
กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้าแลบ (Blitzkrieg) เมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.1939 เนื่องจากโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า
ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ให้เยอรมนี อังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งทาสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนีถอน
ทหารออกจากโปแลนด์แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ ดังนั้น ในวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1939 อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามกับเยอรมนีการ
แบ่งกลุ่มของประเทศคู่สงคราม ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น ฝ่ายพันธมิตรได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก
เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 1941 สหรัฐอเมริกาจึงเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่ 2 กับอังกฤษและฝรั่งเศสฝ่ายพันธมิตรมีชัยชนะในที่สุด
น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา
5831311538304
เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 1945 การรบในแปซิฟิก ญี่ปุ่นเป็นคู่สงครามกับสหรัฐอเมริกาฝ่ายพันธมิตรยุติสงครามโดย
การทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกชื่อลิตเติลบอยที่เมืองฮิโรชิมา เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 1945 และลูกที่ 2 ชื่อแฟตแมนที่เมืองนางาซากิ เมื่อ
วันที่ 9 สิงหาคม1945 และวันที่ 14 สิงหาคม1945 ประเทศญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้การที่ชาวไทยส่วนหนึ่งได้จัดตั้งขบวนการเสรีไทย
(Free Thai Movement)ดาเนินการร่วมมือและช่วยเหลือฝ่ายพันธมิตรไทยจึงรอดพ้นจากการเป็นฝ่ายผู้แพ้สงคราม

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
Kasidet Srifah
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
nidthawann
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
fsarawanee
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
Taraya Srivilas
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2280125399
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2social602
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
Waciraya Junjamsri
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2May Sirinan
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
Panda Jing
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
knwframe1
 

What's hot (19)

สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
อ31101
อ31101อ31101
อ31101
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจสงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
สงครามโลกครั้งที่2 ครูเตือนใจ
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 

Viewers also liked

World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
Peeranat Lar
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
Kittayaporn Changpan
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
mintra_duangsamorn
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
Kittayaporn Changpan
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
Kittayaporn Changpan
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
Kittayaporn Changpan
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Viewers also liked (10)

World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
World War I สงครามโลกครั้งที่ 1
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 

More from ธนาภรณ์ กองวาจา

Is หรือ isis
Is หรือ isisIs หรือ isis
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38 งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขางานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรมสรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
คลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรมคลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรม
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
ธนาภรณ์ กองวาจา
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
ธนาภรณ์ กองวาจา
 

More from ธนาภรณ์ กองวาจา (16)

Is หรือ isis
Is หรือ isisIs หรือ isis
Is หรือ isis
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
สาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสดสาเหตุของสงครามครูเสด
สาเหตุของสงครามครูเสด
 
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายของชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
เป้าหมายของชีวิตตามหลักวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38 งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
งานชิ้นที่ 12 เรื่อง มงคลชีวิต 38
 
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขางานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
งานชิ้นที่ 10 ไตรสิกขา
 
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรมสรุปคลิปกฎแห่งกรรม
สรุปคลิปกฎแห่งกรรม
 
คลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรมคลิปกฎแห่งกรรม
คลิปกฎแห่งกรรม
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 

Recently uploaded

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (8)

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 

สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2

  • 1.
  • 2. สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่1 สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งก็คือ การลอบปลงพระชนม์อาร์คดุยค ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ รัชทายาทของบัลลังก์จักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการี โดยกัฟรีโล ปรินซีป ชาวเซิร์บบอสเนีย ซึ่งเป็นสมาชิกของแก๊งมือมืดและการแก้แค้นของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ต่อราชอาณาจักรเซอร์เบียก็ทาให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ก่อให้เกิดสงครามครั้งใหญ่ปะทุขึ้นในทวีปยุโรป ภายในหนึ่งเดือน ทวีปยุโรป ส่วนมากก็อยู่ในสภาวะสงคราม แต่ความขัดแย้งที่มีมาตั้งแต่การรวมชาติเยอรมนี ตั้งแต่ ค.ศ. 1871 นั้นทาให้ยุโรปต้องอยู่ในสมดุลแห่ง อานาจซึ่งยากแก่การรักษา การแข่งขันทางทหาร อุตสาหกรรมและการแย่งชิงดินแดนก็ทาให้วิกฤตสุกงอมจนกระทั่งปะทุออกมาเป็น สงคราม สงครามครั้งนี้ได้แบ่งออกเป็นสองฝ่าย คือ มหาอานาจไตรภาคี (อังกฤษ: Triple Entente) ซึ่งเดิมประกอบด้วย ฝรั่งเศส สหราช อาณาจักร จักรวรรดิรัสเซีย รวมไปถึงประเทศอาณานิคมด้วย โดยส่วนใหญ่รัฐที่เข้าร่วมสงครามในภายหลังจะเข้าร่วมกับฝ่ายพันธมิตร โดยชาติมหาอานาจที่เข้าสู่สงครามด้วย ได้แก่จักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อเดือนสิงหาคม 1914 อิตาลี เมื่อเดือนเมษายน 1915 และสหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนเมษายน 1917 และฝ่ายมหาอานาจกลาง (อังกฤษ: Central Powers) ซึ่งเดิมประกอบด้วย จักรวรรดิเยอรมนี จักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการี และดินแดนอาณานิคม จักรวรรดิออตโตมานได้เข้าร่วมกับฝ่ายมหาอานาจกลางเมื่อเดือนตุลาคม 1914 และบัลแกเรีย ในอีกปีให้หลัง ระหว่างช่วงสงครามประเทศที่วางตัวเป็นกลางในทวีปยุโรป ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ สเปนและประเทศ ตามคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย แม้ว่าประเทศเหล่านี้อาจจะเคยส่งเสบียงและยุทโธปกรณ์ไปช่วยเหลือบางประเทศที่รบอยู่ก็ตาม การสู้รบที่เกิดขึ้นตามแนวรบด้านตะวันตกเกิดขึ้นไปตามระบบสนามเพลาะ และป้อมปราการซึ่งถูกแยกออกจากกันด้วยดินแดนรกร้าง แนวปราการเหล่านี้ตรึงขนานออกไปเป็นระยะมากกว่า 600 กิโลเมตรและเป็นส่วนสาคัญของสงครามสาหรับคนจานวนมากส่วนใน แนวรบด้านตะวันออก ที่ราบฝั่งตะวันออกที่กว้างขวางและเครือข่ายทางรถไฟที่จากัด ทาให้การรบในสนามเพลาะไม่สามารถทาได้ แม้ว่าความรุนแรงของความขัดแย้งในด้านตะวันออกนั้น จะพอ ๆ กับด้านตะวันตกก็ตาม แนวรบตะวันออกกลางและแนวรบอิตาลีก็มี การสู้รบกันอย่างดุเดือดเช่นกัน และการสู้รบก็ยังลุกลามไปยังน่านน้า และเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ คือการรบกลางอากาศ น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304
  • 3. น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304 สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลงด้วยชัยชนะของฝ่ายพันธมิตร และความปราชัยของฝ่ายมหาอานาจกลางภายหลังสงคราม ได้มี การเซ็นสนธิสัญญาจานวนมาก แต่ที่สาคัญคือ สนธิสัญญาแวร์ซายส์ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1919 แม้ว่าฝ่ายเยอรมนีจะยอมสงบศึกไปก่อน แล้วในปี 1918 ผลที่สาคัญอย่างหนึ่งของสงครามก็คือการวาดรูปแผนที่ยุโรปใหม่ ประเทศฝ่ายมหาอานาจกลางสูญเสียดินแดนของตน เป็นจานวนมาก และทาให้เกิดประเทศใหม่ขึ้นมาในยุโรปตะวันออก เยอรมนีสูญเสียอาณานิคมโพ้นทะเลทั้งหมด รวมไปถึงการต้อง ชดใช้ค่าปฏิกรสงครามจานวนมหาศาล และการต้องทนการถูกตราหน้าว่าเป็นผู้เริ่มสงคราม จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้แตกออกเป็น ประเทศเอกราชใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวีย จักรวรรดิออตโตมานล่มสลาย แผ่นดินเดิมของจักรวรรดิ นอกจากที่ราบสูงอนาโตเลียได้ถูกแบ่งให้กลายเป็นอาณานิคมของผู้ชนะสงครามทั้งหลาย ส่วนชาวอาหรับเดิมได้กลายเป็นประเทศตุรกี จักรวรรดิรัสเซียซึ่งได้ถอนตัวจากสงครามในปี 1917 ได้สูญเสียดินแดนของตนเป็นจานวนมากทางชายแดนด้านตะวันตกกลายเป็น ประเทศใหม่ ได้แก่ เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนีย และ โปแลนด์ และได้มีการก่อตั้ง สันนิบาตชาติ เพื่อเป็นองค์การระหว่าง ประเทศที่มีจุดประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศด้วยวิธีการทางการทูต สงครามโลกครั้งที่หนึ่งถือเป็นจุดสิ้นสุดของยุค ระเบียบโลกที่เกิดขึ้นหลังจากสงครามนโปเลียน และยังเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้สงครามโลกครั้งที่สองเกิดขึ้น
  • 4.
  • 5. น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304 สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) เป็นผลจากความขัดแย้งของประชาชาติต่างๆที่เกิดขึ้นสะสมมาก่อนเดือนสิงหาคมค.ศ. 1939 อันเนื่องมาจากความตกต่า ทางเศรษฐกิจเงื่อนไขหรือข้อบังคับบทลงโทษตามสนธิสัญญาสันติภาพและความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ สาเหตุของ สงคราม 1. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม ข้อบกพร่องของสนธิสัญญาสันติภาพหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีสาเหตุมาจากประเทศ ชนะสงครามและประเทศที่แพ้สงครามต่างก็ไม่พอใจในข้อตกลงเพราะสูญเสียผลประโยชน์โดยเฉพาะสนธิ สัญญาแวร์ซายส์ที่ เยอรมันไม่พอใจในสภาพที่ตนต้องถูกผูกมัดด้วยสัญญา 2. ลัทธิชาตินิยม ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซาย ทาให้ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) ผู้นาเยอรมนีหันไปใช้ลัทธินาซี เพื่อสร้างประเทศให้ยิ่งใหญ่เช่นเดียวกับ เบนีโต มุสโสลีนี (BenitoMussolini)ผู้นาอิตาลีหันไปใช้ลัทธิฟาสซิสต์ ส่วนญี่ปุ่นต้องการสร้างวงศ์ไพบูลย์ร่วมกันแห่งมหาเอเชียบูรพา เพื่อเป็นผู้นาในเอเชียนอกจากนี้ยังเกิดทฤษฎีชาตินิยมในเยอรมนีว่า ด้วยความเหนือกว่าในทางเผ่าพันธุ์ ที่ทาให้ฮิตเลอร์ใช้นโยบายกวาดล้างชาวยิวในดินแดนยึดครองต่าง ๆ 3. ลัทธินิยมทางทหาร ได้แก่ การสะสมอาวุธเพื่อประสิทธิภาพของกองทัพ ทาให้เกิดความตึงเครียดระหว่างประเทศมากขึ้น และ เกิดความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน
  • 6. น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304 4. นโยบายต่างประเทศที่ไม่แน่นอนของอังกฤษการใช้นโยบายออมชอมของอังกฤษเมื่อเยอรมนีละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซาย โดย การเพิ่ม กาลังทหารและการรุกรานดินแดนต่าง ๆ 5. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ ปัญหาทางการเมือง และ เศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้หลายประเทศหันไปใช้ระบอบเผด็จการเพื่อแก้ปัญหาภายใน เช่น เยอรมนีและอิตาลี นาไปสู่ การแบ่งกลุ่มประเทศ 6. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เนื่องจากไม่มีกองทัพขององค์การ ทาให้ขาดอานาจในการปฏิบัติการและการที่อเมริกา ไม่ได้เป็นสมาชิกจึงทาให้องค์การสันนิบาตชาติเป็นเครื่องมือของประเทศที่ชนะใช้ลงโทษประเทศที่แพ้สงคราม ชนวนที่นาไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้าแลบ (Blitzkrieg) เมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.1939 เนื่องจากโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ให้เยอรมนี อังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งทาสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนีถอน ทหารออกจากโปแลนด์แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ ดังนั้น ในวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1939 อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศสงครามกับเยอรมนีการ แบ่งกลุ่มของประเทศคู่สงคราม ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น ฝ่ายพันธมิตรได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 1941 สหรัฐอเมริกาจึงเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่ 2 กับอังกฤษและฝรั่งเศสฝ่ายพันธมิตรมีชัยชนะในที่สุด
  • 7.
  • 8. น.ส.ธนาภรณ์ กองวาจา 5831311538304 เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 1945 การรบในแปซิฟิก ญี่ปุ่นเป็นคู่สงครามกับสหรัฐอเมริกาฝ่ายพันธมิตรยุติสงครามโดย การทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกชื่อลิตเติลบอยที่เมืองฮิโรชิมา เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 1945 และลูกที่ 2 ชื่อแฟตแมนที่เมืองนางาซากิ เมื่อ วันที่ 9 สิงหาคม1945 และวันที่ 14 สิงหาคม1945 ประเทศญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้การที่ชาวไทยส่วนหนึ่งได้จัดตั้งขบวนการเสรีไทย (Free Thai Movement)ดาเนินการร่วมมือและช่วยเหลือฝ่ายพันธมิตรไทยจึงรอดพ้นจากการเป็นฝ่ายผู้แพ้สงคราม