SlideShare a Scribd company logo
1
ชยัททิสชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๓. ชยัททิสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๑๓)
ว่าด้วยพระเจ้าปัญจาละพระนามว่าชัยทิศ
(ยักษ์จับพระหัตถ์ของพระราชาแล้วกราบทูลว่า)
[๖๔] นานจริงหนอ วันนี้ภักษาเป็ นอันมากได้เกิดขึ้นแก่เรา
ในเวลาอาหารในวัน ๗ ค่า ท่านเป็ นใคร มาจากไหน
ขอเชิญท่านบอกเนื้อความนั้นและชาติสกุลตามที่ท่านทราบเถิด
(พระราชาทรงเห็นยักษ์แล้ว ตกพระทัย
ต่อมาทรงรวบรวมสติได้แล้วจึงตรัสว่า)
[๖๕] ข้าพเจ้าคือพระเจ้าปัญจาละนามว่าชัยทิศ เข้ามาล่าสัตว์
บางทีท่านจะได้ยินมาแล้วบ้าง เราเที่ยวไปตามเชิงเขาแนวป่า
วันนี้ท่านจงกินเนื้อฟานนี้ ปล่อยข้าพเจ้าไปเถิด
(ยักษ์กราบทูลว่า)
[๖๖] พระองค์เมื่อถูกข้าพระองค์เบียดเบียน
กลับทรงแลกพระองค์กับของที่ข้าพระองค์มีอยู่
เนื้อฟานที่พระองค์กล่าวถึงเป็ นภักษาของข้าพระองค์
ข้าพระองค์เคี้ยวกินพระองค์แล้วอยากกินเนื้อฟาน ก็จักเคี้ยวกินในภายหลัง
เวลานี้ไม่ใช่เวลาพร่าเพ้อราพัน
(พระราชาทรงหวนระลึกถึงนันทพราหมณ์ จึงตรัสว่า)
[๖๗] ถ้าว่า ข้าพเจ้ารอดพ้นไปไม่ได้ด้วยการแลกเปลี่ยน
เพื่อไปแล้วจะกลับมาในวันพรุ่งนี้
กติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้นข้าพเจ้าทาไว้แล้ว
ข้าพเจ้าผู้รักษาความสัตย์จักกลับมาอีก
(ยักษ์กราบทูลว่า)
[๖๘] พระมหาราช กรรมอะไรเล่า
ที่ทาให้พระองค์ผู้ใกล้ถึงการสวรรคตต้องทรงเดือดร้อน
ขอพระองค์ตรัสบอกกรรมนั้นแก่ข้าพระองค์
บางทีข้าพระองค์อาจจะอนุญาตให้พระองค์ไป เพื่อจะกลับมาในวันพรุ่งนี้ได้บ้าง
(พระราชาตรัสว่า)
[๖๙] ข้าพเจ้าได้ให้ความหวังเกี่ยวกับทรัพย์ไว้แก่พราหมณ์
กติกานั้นข้าพเจ้าได้รับรองไว้แล้ว
ยังมิได้ปลดเปลื้องกติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้น
ข้าพเจ้าผู้รักษาความสัตย์จักกลับมาอีก
2
(ยักษ์กราบทูลว่า)
[๗๐] ความหวังเกี่ยวกับทรัพย์อันใดพระองค์ได้สร้างไว้ให้แก่พราหมณ์
กติกานั้นพระองค์ทรงรับรองไว้แล้ว
ยังมิได้ปลดเปลื้องกติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์เลย
ขอพระองค์จงทรงรักษาความสัตย์เสด็จกลับมาอีก
(พระศาสดาเมื่อทรงแสดงความนั้น จึงได้ตรัสว่า)
[๗๑] ก็พระเจ้าชัยทิศนั้นรอดพ้นจากเงื้อมมือของยักษ์โปริสารทแล้ว
ทรงรีบเสด็จไปยังพระราชมณเฑียรของพระองค์
ทรงหวังจะปลดเปลื้องกติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์
รับสั่งเรียกหาอลีนสัตตุราชบุตรเข้ามาเฝ้ า ตรัสว่า
[๗๒] ลูกจงอภิเษกราชสมบัติในวันนี้
จงประพฤติธรรมในบริวารของตนและแม้ในบุคคลเหล่าอื่น อนึ่ง
การประพฤติอธรรมขออย่าได้มีในแคว้นของลูก
ส่วนพ่อจะไปสานักของยักษ์โปริสาท
(พระราชกุมารกราบทูลว่า)
[๗๓] ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท หม่อมฉันทากรรมอะไร
จึงทาให้พระราชบิดาไม่พอพระทัย
และวันนี้พระราชบิดาจะให้หม่อมฉันดารงราชสมบัติ
เพราะการงานที่ทาให้พระราชบิดาไม่พอพระทัยอันใด
หม่อมฉันปรารถนาจะสดับข้อนั้นๆ
แม้ราชสมบัติเว้นพระราชบิดาหม่อมฉันก็ไม่พึงปรารถนา
(พระราชาตรัสว่า)
[๗๔] ลูกรัก พ่อมิได้ระลึกถึงความผิดของลูก
เพราะการกระทาหรือเพราะคาพูดของลูกนี้เลย เพราะให้สัจจะไว้กับยักษ์โปริสาท
พ่อต้องรักษาความสัตย์ จักต้องกลับไปอีก
(พระราชกุมารกราบทูลว่า)
[๗๕] หม่อมฉันจักไปแทน ขอพระองค์ประทับอยู่ที่นี้
การที่จะรอดชีวิตพ้นมาจากสานักยักษ์โปริสาทย่อมไม่มี ขอเดชะ
ถ้าพระราชบิดาจะเสด็จไปจริงๆ หม่อมฉันก็จะตามเสด็จด้วย แม้เราทั้ง ๒
จะไม่รอดชีวิต
(พระราชาตรัสว่า)
[๗๖] ลูกรัก นั่นเป็นธรรมของสัตบุรุษอย่างแท้จริง
แต่เมื่อใดยักษ์โปริสาทเท้าด่าง ข่มขี่ทาลายลูกแล้วย่างกินที่โคนต้นไม้
ข้อนั้นพึงเป็นทุกข์ยิ่งกว่าการตายของพ่อเสียอีก
(พระราชกุมารกราบทูลว่า)
3
[๗๗] หม่อมฉันจักเอาชีวิตแลกเปลี่ยนชีวิตของเสด็จพ่อ
เสด็จพ่ออย่าได้เสด็จไปสานักยักษ์โปริสาทเลย
ก็หม่อมฉันจักแลกเปลี่ยนเอาชีวิตของเสด็จพ่อนั้นไว้ เพราะเหตุนั้น
จึงขอยอมตายเพื่อชีวิตของเสด็จพ่อ
(พระศาสดาเมื่อจะประกาศความนั้น จึงตรัสว่า)
[๗๘] ลาดับนั้นแล พระราชบุตรผู้ทรงมีพระปรีชา
ถวายบังคมพระยุคลบาทพระมารดาพระบิดาแล้วเสด็จไป
พระมารดาของท้าวเธอทรงระทมทุกข์ ล้มลงที่พื้นปฐพี
ส่วนพระบิดานั้นเล่าทรงประคองพระพาหาทั้ง ๒ แล้วทรงกันแสง
(และเมื่อจะประกาศสัจจะ จึงได้ตรัสต่อไปอีกว่า)
[๗๙] พระบิดาทรงทราบชัดว่าพระโอรสกาลังมุ่งหน้าเสด็จไป
จึงบ่ายพระพักตร์ต่อเบื้องพระปฤษฎางค์ ประคองอัญชลี นมัสการว่า ลูกรัก
ขอลูกจงมีเทพเหล่านี้ คือ ท้าวโสมะ ท้าววรุณ ท้าวปชาบดี พระจันทร์
และสุริยเทพคุ้มครอง
ขอลูกจงได้รับอนุญาตกลับมาจากสานักยักษ์โปริสาทด้วยความสวัสดี
(พระชนนีทรงทาสัจจกิริยาว่า)
[๘๐] ลูกรัก มารดาของพ่อรามได้รับการคุ้มครองอย่างดี
ได้กระทาความสวัสดีอันใดให้แก่พ่อรามผู้ไปยังแคว้นของพระเจ้าทัณฑกี
แม่ขอกระทาความสวัสดีอันนั้นให้แก่ลูก ด้วยความสัตย์นี้
ขอทวยเทพเจ้าโปรดระลึกถึงลูก
ขอลูกจงได้รับอนุญาตกลับมาด้วยความสวัสดีเถิด
(พระภคินีทรงทาสัจจกิริยาว่า)
[๘๑] น้องนึกไม่ออกเลย
ถึงการคิดประทุษร้ายเจ้าพี่อลีนสัตตุในที่แจ้งหรือที่ลับ ด้วยความสัตย์นี้
ขอทวยเทพโปรดระลึกถึงเจ้าพี่
ขอเจ้าพี่ทรงได้รับอนุญาตกลับมาด้วยความสวัสดีเถิด
(พระชายาทรงทากิริยาว่า)
[๘๒] ขอเดชะพระสวามี
ก็เพราะพระองค์มิได้ประพฤตินอกใจหม่อมฉันเลย ฉะนั้น
พระองค์มิได้เป็ นที่รักจากใจหม่อมฉันก็หาไม่ ด้วยความสัตย์นี้
ขอทวยเทพโปรดระลึกถึงพระองค์
ขอพระองค์ทรงได้รับอนุญาตกลับมาด้วยความสวัสดีเถิด
(ลาดับนั้น ยักษ์กล่าวว่า)
4
[๘๓] เจ้ามีร่างกายสูงใหญ่ ใบหน้างาม มาจากไหน
เจ้าไม่รู้หรือว่าเราอยู่ในป่า ใครๆ เขาก็รู้จักเราผู้ชั่วร้ายว่า เป็นยักษ์กินคน
มีใครเล่าเมื่อรู้ถึงความปลอดภัยพึงมาที่นี้
(พระราชกุมารตรัสว่า)
[๘๔] นายพราน เรารู้ว่าท่านกินคน เราจะไม่รู้ว่าท่านอยู่ในป่าก็หาไม่
เราเป็นพระโอรสของพระเจ้าชัยทิศ เพราะต้องการจะปลดเปลื้องพระบิดา
วันนี้ท่านจงปล่อยพระบิดา จงกินเราเถิด
(ยักษ์กราบทูลว่า)
[๘๕] เรารู้ว่าท่านเป็นพระโอรสของพระเจ้าชัยทิศ
เพราะใบหน้าและผิวพรรณของท่านทั้ง ๒ คล้ายคลึงกัน
การที่บุคคลยอมตายเพื่อปลดเปลื้องบิดาของตน นี้เป็ นกรรมที่กระทาได้ยาก
แต่ท่านได้กระทาแล้ว
(พระราชกุมารตรัสว่า)
[๘๖] ในเรื่องนี้เรามิได้สาคัญว่าทาได้ยากอะไรนัก
บุคคลใดยอมตายเพื่อปลดเปลื้องบิดาของตน หรือเพราะเหตุแห่งมารดา
บุคคลนั้นไปสู่ปรโลกแล้ว เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยความสุขและอารมณ์อันเลิศ
(พระราชกุมารถูกยักษ์ถามถึงความไม่กลัวตาย จึงตรัสว่า)
[๘๗] ก็เราระลึกไม่ได้สักนิดเดียว
ถึงการกระทาความชั่วของตนทั้งในที่แจ้งหรือที่ลับ
เราเป็นผู้มีการเกิดและการตายตามกาหนด
การพ้นจากความตายย่อมไม่มีในโลกนี้ฉันใด ในโลกหน้าก็ฉันนั้น
[๘๘] ท่านผู้มีอานุภาพมาก วันนี้ท่านจงกินเราบัดนี้เถิด
จงทากิจที่ควรทากับสรีระนี้ หรือว่าเพื่อท่านเราจะตกจากยอดไม้
ท่านพอใจจงกินเนื้อของเราส่วนที่ท่านพอใจเถิด
(ยักษ์ฟังพระดารัสแล้วตกใจกลัว จึงกราบทูลว่า)
[๘๙] ท่านราชบุตร ถ้าท่านพอใจอย่างนี้
ท่านจะสละชีวิตเพื่อปลดเปลื้องพระบิดา ฉะนั้น ท่านจงรีบหักฟืน
ก่อไฟให้โพลงขึ้นในที่นี้
(พระศาสดาเมื่อทรงประกาศเหตุนั้น จึงตรัสว่า)
[๙๐] ลาดับนั้นแล พระราชบุตรผู้ทรงปรีชาได้รวบรวมฟืน
ก่อไฟกองใหญ่ขึ้นแล้ว จึงตรัสบอกให้ยักษ์ทราบว่า
บัดนี้ไฟกองใหญ่เราได้ก่อแล้ว
(พระราชกุมารทรงเห็นกิริยาของยักษ์นั้น จึงตรัสว่า)
5
[๙๑] บัดนี้ท่านจงข่มขี่กินเราในวันนี้เถิด
ทาไมท่านจึงขนพองเพ่งดูเราบ่อยๆ เรากระทาตามคาของท่าน
ตามที่ท่านพอใจจะกินเรา
(ยักษ์กราบทูลว่า)
[๙๒] ใครเล่าควรที่จะกินคนผู้ดารงอยู่ในธรรม มีปกติกล่าวคาสัตย์
รู้ถ้อยคาของผู้ขอเช่นท่าน บุคคลใดพึงกินคนผู้มีปกติกล่าวคาสัตย์เช่นนั้น
แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็พึงแตกออก ๗ เสี่ยง
(พระราชกุมารตรัสว่า)
[๙๓] เพราะสสบัณฑิตนั้นสาคัญท้าวสักกเทวราชนี้ว่าเป็นพราหมณ์
จึงได้ให้สิงอยู่ในสรีระของตน ยักษ์ เพราะเหตุนั้นแล
จันทิมเทพบุตรนั้นจึงมีรูปกระต่ายปรากฏอยู่
ซึ่งให้ความพอใจแก่ชาวโลกตราบจนทุกวันนี้
(ยักษ์เมื่อจะปล่อยพระราชกุมาร จึงกราบทูลว่า)
[๙๔] ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์พ้นจากปากราหูแล้วย่อมไพโรจน์
ในดิถีเพ็ญ ๑๕ ค่าฉันใด ท่านผู้มีอานุภาพมาก แม้ท่านก็ฉันนั้น
พ้นแล้วจากยักษ์โปริสาท ยังพระบิดาและพระมารดาให้ปลื้มพระทัย
จงไพโรจน์ในกบิลรัฐเถิด อนึ่ง
ขอพระประยูรญาติของพระองค์ทุกฝ่ายจงร่าเริงยินดีทั่วหน้า
(พระศาสดาทรงประกาศความนั้นว่า)
[๙๕] ลาดับนั้น พระราชบุตรทรงพระนามอลีนสัตตุผู้ทรงพระปรีชา
ทรงประคองอัญชลี ถวายบังคมโปริสาทดาบส
ทรงได้รับอนุญาตเสด็จกลับกบิลรัฐอย่างสุขสวัสดีและปลอดภัย
(พระศาสดาเมื่อจะทรงแสดงกิริยาที่ชาวมคธถวายการต้อนรับพระราชกุมาร
จึงตรัสว่า)
[๙๖] ชาวนิคม ชาวชนบท พลช้าง พลรถ
และพลเดินเท้าล้วนประคองอัญชลี เข้าเฝ้ าถวายบังคม กราบทูลท้าวเธอว่า
ขอถวายบังคมแด่พระองค์ พระองค์ทรงเป็ นผู้กระทากิจที่ทาได้ยาก
ชยัททิสชาดกที่ ๓ จบ
---------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ชัยทิศชาดก
ว่าด้วย โปริสาทกับพระเจ้าชัยทิศ
6
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภภิกษุผู้เลี้ยงมารดารูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้.
ก็ในครั้งนั้น พระศาสดาตรัสว่า
โปราณกบัณฑิตทั้งหลายละเศวตฉัตรอันประดับด้วยกาญจนมาลา
แล้วเลี้ยงดูมารดาบิดาดังนี้.
อันภิกษุนั้นทูลอาราธนา จึงทรงนาอดีตนิทานมาตรัสดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล
มีพระราชาทรงพระนามว่าอุตตรปัญจาลราช เสวยราชสมบัติอยู่ในกปิลรัฐ
พระอัครมเหสีของท้าวเธอทรงตั้งพระครรภ์ แล้วประสูติพระราชโอรส.
ในภพก่อน หญิงคนหนึ่งร่วมสามีกับพระนาง
โกรธเคืองกันแล้วตั้งความปรารถนาว่า
ขอให้เราสามารถเคี้ยวกินบุตรของท่านที่คลอดแล้วดังนี้
แล้วได้มาเกิดเป็นนางยักษิณี.
คราวนั้น นางยักษิณีนั้นได้โอกาส ทั้งๆ
ที่พระนางเทวีทอดพระเนตรเห็นอยู่
คว้าเอาพระกุมารผู้มีวรรณะดุจชิ้นเนื้อสดไปเคี้ยวกิน เสียงกร้วมๆ
แล้วหลบหลีกไป แม้ในวาระที่ ๒ ก็ได้ทาอย่างนั้น.
แต่ในวาระที่ ๓ ในเวลาที่พระนางเทวีเสด็จเข้าไปสู่เรือนประสูติแล้ว
พวกราชบุรุษพากันแวดล้อมตาหนัก จัดการถวายอารักขามั่นคง
ในวันที่พระเทวีประสูติ นางยักษิณีก็มาจับเอาทารกไปอีก
พระนางเทวีจึงส่งพระสุรเสียงร้องขึ้นว่านางยักษ์ๆ
ราชบุรุษทั้งหลายมีอาวุธครบมือ พากันวิ่งติดตามนางยักษิณี
ตามสัญญาที่พระนางบอกให้ นางยักษิณีไม่ได้โอกาสเพื่อจะเคี้ยวกิน
หนีไปจากที่นั้น เข้าไปยังท่อน้า. ส่วนทารกอ้าปากดูดนมนางยักษิณี
โดยเข้าใจว่าเป็นมารดา นางยักษิณีก็เกิดความรักเหมือนบุตรของตน
หนีออกจากท่อน้าได้แล้วไปยังสุสานสถาน
ทาการประคบประหงมทารกนั้นอยู่ในถ้าศิลา.
ต่อมา เมื่อทารกนั้นเจริญเติบโตขึ้นโดยลาดับ
นางยักษิณีก็นาเนื้อมนุษย์มาให้กินเป็ นอาหาร ทั้งสองก็กินเนื้อมนุษย์อยู่ในที่นั้น
ทารกไม่รู้ตัวว่าเป็นมนุษย์ สาคัญว่าเป็นบุตรนางยักษิณี
แต่ก็ไม่อาจที่จะจาแลงกายหายตัวได้.
ต่อมา นางยักษิณีจึงให้รากไม้อย่างหนึ่งแก่พระราชกุมาร
เพื่อต้องการให้หายตัวได้ ด้วยอานุภาพแห่งรากไม้ พระราชกุมารหายตัวได้
ก็เที่ยวไปกินเนื้อมนุษย์.
นางยักษิณีไปปรนนิบัติท้าวเวสสวัณมหาราช เลยทากาลกิริยาเสีย ณ
7
ที่นั้นเอง.
ฝ่ายพระนางเทวีประสูติพระโอรสองค์หนึ่งในวาระที่ ๔.
พระราชโอรสจึงปลอดภัยเพราะพ้นจากนางยักษิณี
พระชนกชนนีและพระประยูรญาติได้ขนานพระนามให้พระโอรสนั้นว่า ชัยทิสกุม
าร เพราะเกิดมาชนะนางยักษิณีผู้เป็นปัจจามิตร
พระชัยทิสกุมารทรงเจริญวัยแล้วได้ทรงศึกษาศิลปวิทยาสาเร็จ
แล้วให้ยกเศวตฉัตร ครองราชสมบัติสืบสันตติวงศ์.
คราวนั้น
พระโพธิสัตว์บังเกิดในพระครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระเจ้าชัยทิสนั้น
พระชนกชนนีและพระประยูรญาติขนานพระนามว่า "อลีนสัตตุกุมาร" พออลีนสัต
ตุกุมารเจริญวัยแล้ว ทรงเล่าเรียนศิลปศาสตร์จนสาเร็จ ได้เป็ นอุปราช.
ในเวลาต่อมา
กุมารผู้เป็นบุตรนางยักษิณีทารากไม้หายเพราะความประมาท
ไม่สามารถเพื่อจะหายตัวได้ จึงมีรูปร่างปรากฏเคี้ยวกินเนื้อมนุษย์อยู่ที่สุสาน.
คนทั้งหลายเห็นเข้าก็พากันสะดุ้งตกใจกลัว
แล้วเข้ามาร้องทุกข์พระราชาว่า ขอเดชะพระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ
มียักษ์ตนหนึ่งปรากฏตนเคี้ยวกินเนื้อมนุษย์อยู่ที่สุสาน
มันคงเข้ามาพระนครโดยลาดับๆ จักฆ่ามนุษย์เคี้ยวกินเป็นอาหาร
ควรตรัสสั่งให้จับเสีย พระเจ้าข้า.
พระราชาทรงรับทราบแล้วมีพระราชโองการสั่งพลนิกายว่า
ท่านทั้งหลายจงจับยักษ์ตนนั้น. พลนิกายเหล่านั้นไปยืนรายล้อมสุสานประเทศ
กุมารบุตรนางยักษิณีมีรูปร่างเปล่าเปลือยน่าสะพรึงกลัว หวาดต่อมรณภัย
ร้องขึ้นด้วยเสียงอันดัง วิ่งฝ่าฝูงคนไป ผู้คนทั้งหลายหวาดหวั่นต่อมรณภัย
ร้องบอกกันว่ายักษ์ๆ ดังนี้ แตกกลุ่มออกเป็นสองฝ่าย.
ฝ่ายกุมารบุตรนางยักษิณีหนีจากที่นั้นได้แล้วก็เข้าไปสู่ป่า
ไม่กลับมายังถิ่นมนุษย์อีก ได้ไปอาศัยดงใกล้ทางใหญ่แห่งหนึ่ง
คอยจับผู้คนที่เดินทางผ่านมาได้ทีละคน แล้วเข้าไปสู่ป่าฆ่าเคี้ยวกิน
พานักอาศัยอยู่ที่โคนต้นไม้นิโครธต้นหนึ่ง.
ลาดับนั้น
พราหมณ์พ่อค้าเกวียนคนหนึ่งจ้างคนรักษาดงเป็ นราคาหนึ่งพันเพื่อพาข้ามดง
พร้อมด้วยเกวียน ๕๐๐ เล่ม มนุษย์ยักษ์เห็นแล้วจึงส่งเสียงดังลั่นวิ่งมา
ผู้คนทั้งหลายต่างตกใจกลัว พากันนอนราบหมด.
มนุษย์ยักษ์จับพราหมณ์พ่อค้าได้แล้วหนีไป ถูกตอไม้ตาเอาที่เท้า
และเมื่อพวกมนุษย์รักษาดงวิ่งติดตามมา จึงทิ้งพราหมณ์วิ่งหนี.
เมื่อมนุษย์ยักษ์นั้นนอนอยู่ในที่นั้น ๗ วัน
8
พระเจ้าชัยทิสเสด็จออกจากพระนครล่าเนื้อ.
พราหมณ์ผู้เลี้ยงดูมารดาคนหนึ่งชื่อ นันทะ เป็นชาวเมืองตักกสิลา
ได้เรียนสตารหคาถา ๔ บาทมาเฝ้ าพระเจ้าชัยทิส
ซึ่งกาลังจะเสด็จออกจากพระนคร. พระเจ้าชัยทิสตรัสสั่งว่าเรากลับมาแล้วจักฟัง
พระราชทานบ้านพักแก่พราหมณ์นั้นแล้วเสด็จไปล่าเนื้อ ตรัสสั่งว่า
เนื้อหนีไปทางด้านผู้ใด ผู้นั้นจักต้องมีโทษ.
ลาดับนั้น กวางตัวหนึ่งลุกขึ้นแล้ววิ่งหนีผ่านหน้าพระราชาไป
อามาตย์ทั้งหลายต่างพากันหัวเราะ
พระราชาทรงถือพระขรรค์ติดตามกวางไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์จึงตามทัน
แล้วเอาพระขรรค์ฟันกวางนั้นขาดออกเป็นสองท่อน ทรงใส่หาบๆ
เสด็จมาถึงสถานที่มนุษย์ยักษ์นอนอยู่ ประทับนั่งพักหน่อยหนึ่งที่ลานหญ้าแพรก
แล้วเตรียมจะเสด็จต่อไป.
ลาดับนั้น มนุษย์ยักษ์ลุกขึ้นกล่าวว่า หยุดนะ! ท่านจะไปไหน
ท่านตกเป็นอาหารของเราแล้ว ยึดพระหัตถ์ไว้ กล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า
เป็นเวลานานนักหนา นับแต่เวลาที่เราอดอาหารมาครบ ๗ วัน
อาหารมากมายพึ่งเกิดขึ้นแก่เราวันนี้ ท่านเป็ นใคร มาจากไหน
ขอเชิญท่านบอกชาติสกุลตามที่รู้กันมาเถิด.
พระราชาทอดพระเนตรเห็นยักษ์ แล้วตกใจกลัว
ถึงกับอุรประเทศแข็งทื่อ-ดังเสา ไม่ทรงสามารถจะวิ่งหนีไปได้ จึงตั้งพระสติ
ตรัสพระคาถาที่ ๒ ความว่า
เราเป็นพระเจ้าปัญจาลราชมีนามว่าชัยทิส ถ้าท่านได้ยินชื่อก็คงรู้จัก
เราออกมาล่าเนื้อเที่ยวมาตามข้างภูเขาและป่า ท่านจงกินเนื้อกวางนี้เถิด
วันนี้จงปล่อยเราไป.
ยักษ์ได้ยินดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า
พระองค์ถูกข้าพเจ้าเบียดเบียน
กลับเอาของที่ตกเป็นของข้าพเจ้านั่นเองมาแลกเปลี่ยน
กวางที่พระองค์ตรัสถึงนั้นเป็นอาหารของข้าพระองค์ ข้าพระองค์กินพระองค์แล้ว
อยากจะกินเนื้อกวาง ก็จักกินได้ภายหลัง เวลานี้มิใช่เวลาขอร้อง.
พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้วทรงระลึกถึงนันทพราหมณ์ได้
จึงตรัสพระคาถาที่ ๔ ความว่า
ถ้าความรอดพ้นของเราไม่มีด้วยการแลกเปลี่ยน
ขอให้เราได้กลับไปยังพระนครเสียก่อนเราผลัดพราหมณ์ไว้ว่าจะให้ทรัพย์
เราจักรักษาคาสัตย์ ย้อนกลับมาหาท่านอีก.
ยักษ์ได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวคาถาที่ ๕ ความว่า
ดูก่อนพระราชา พระองค์ใกล้จะถึงสวรรคตอยู่แล้ว
9
ยังทรงเดือดร้อนถึงกรรมอะไรอยู่ ขอจงตรัสบอกกรรมนั้นแก่ข้าพระองค์
ข้าพระองค์จะอนุญาตให้กลับไปก่อนได้.
พระราชา เมื่อจะตรัสบอกเหตุนั้น จึงตรัสพระคาถาที่ ๖ ความว่า
ความหวังในทรัพย์ เราได้ทาไว้แก่พราหมณ์
ความผัดเพี้ยนเป็นข้อผูกมัดตัว ยังพ้นไปไม่ได้เพราะเราผลัดไว้ว่า
จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์ เราจักรักษาคาสัตย์ กลับมาหาท่านอีก.
ยักษ์ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๗ ความว่า
ความหวังในทรัพย์พระองค์ได้ทาไว้แก่พราหมณ์
ความผัดเพี้ยนเป็นข้อผูกมัดตัว ยังพ้นไปไม่ได้
เพราะได้ผัดเพี้ยนไว้แก่พราหมณ์ว่าจะพระราชทานทรัพย์
พระองค์จงรักษาคาสัตย์ไว้เสด็จกลับมาเถิด.
ก็แลครั้นยักษ์กล่าวอย่างนี้แล้ว ก็ปล่อยพระราชาไป.
พระราชาอันยักษ์ปล่อยแล้วจึงตรัสว่า ท่านอย่าวิตกเลย
ข้าพเจ้าจักมาแต่เช้าตรู่ทีเดียว แล้วทรงสังเกตเครื่องหมายตามทาง
เสด็จเข้าไปหาพลนิกายของพระองค์แวดล้อมด้วยพลนิกาย เสด็จเข้าสู่พระนคร
ตรัสสั่งให้หานันทพราหมณ์มาเฝ้ า เชิญให้นั่งบนอาสนะอันมีค่ามาก
ทรงสดับคาถาเสร็จแล้วพระราชทานทรัพย์ ๕ พัน
เชิญพราหมณ์ให้ขึ้นยานพาหนะแล้วตรัสสั่งว่า
ท่านจงนาทรัพย์นี้ไปยังเมืองตักกสิลาเถิด ทรงมอบคนให้แล้วก็ส่งพราหมณ์ไป
ทรงพระประสงค์จะเสด็จกลับคืนไปหายักษ์ในวันรุ่งขึ้น
จึงตรัสสั่งให้หาพระโอรสมาทรงสั่งสอน.
พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงได้ตรัสพระคาถา
๒ คาถาความว่า
พระเจ้าชัยทิสทรงพ้นเงื้อมมือยักษ์แล้ว รีบเสด็จกลับไปยังพระราชมณ
เฑียรของพระองค์ เพราะได้ทรงผัดเพี้ยนไว้แก่พราหมณ์ว่า
จะพระราชทานทรัพย์ได้ ตรัสสั่งให้หาพระราชโอรสพระนามว่า อลีนสัตตุ.
ตรัสว่า เจ้าจงอภิเษกปกครองรัฐสีมาในวันนี้
จงประพฤติธรรมในรัฐสีมาและในประชาชนทั้งหลาย บุคคลไม่ประพฤติธรรม
อย่าได้มีในแว่นแคว้นของเจ้า เราจะไปในสานักแห่งยักษ์.
พระราชกุมารทรงสดับดังนั้น ตรัสคาถาที่ ๑๐ ความว่า
ขอเดชะข้าแต่พระราชบิดาผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ
ข้าพระองค์ได้ทาความไม่พอพระทัยอะไรไว้ในใต้ฝ่าพระบาท
ข้าพระองค์ปรารถนาจะได้สดับความที่พระองค์จะให้ขึ้นครองราชสมบัติในวันนี้
เพราะข้าพระพุทธเจ้าขาดพระราชบิดาเสียแล้ว หาปรารถนาแม้ราชสมบัติไม่.
พระราชาทรงสดับดังนั้น จึงตรัสพระคาถาต่อไปว่า
10
ลูกรัก พ่อไม่ได้เพ่งถึงความผิดทางกายกรรม และวจีกรรมของเธอเลย
แต่พ่อได้ทาความตกลงไว้กับยักษ์ พ่อต้องรักษาคาสัตย์ จึงต้องกลับไปอีก.
อลีนสัตตุราชกุมารทรงฟังพระราชดารัสของพระราชบิดาแล้ว
ตรัสคาถาความว่า
ข้าพระพุทธเจ้าจักไปแทน ขอพระราชบิดาจงประทับอยู่ ณ ที่นี้
เมื่อทางที่จะรอดชีวิตจากสานักแห่งยักษ์ไม่มี ข้าแต่สมเด็จพระราชบิดา
ถ้าพระองค์มีพระประสงค์จะเสด็จให้ได้ ข้าพระพุทธเจ้าก็จักตามเสด็จด้วย
เราทั้งสองจะไม่ยอมอยู่.
พระราชาทรงสดับดังนั้น จึงตรัสพระคาถาความว่า
ลูกรัก นั่นเป็นธรรมของสัตบุรุษ โดยแท้จริง
แต่เมื่อไรยักษ์ข่มขี่ทาลายเผาเธอกินเสียที่โคนไม้ นั่นเป็นความด่างพร้อยของพ่อ
ข้อนี้แหละ เป็ นทุกข์ยิ่งกว่าความตายของพ่อเสียอีก.
พระราชกุมารทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาความว่า
ข้าพระพุทธเจ้าขอเอาชีวิตของข้าพระพุทธเจ้าแลกพระชนมชีพของพร
ะราชบิดาไว้ พระราชบิดาอย่าเสด็จไปในสานักของยักษ์เลย
ข้าพระพุทธเจ้าจะขอเอาชีวิตของข้าพระพุทธเจ้า
แลกพระชนมชีพของพระราชบิดานี้แหละไว้ เพราะฉะนั้น
ข้าพระพุทธเจ้าขอยอมตายแทนพระราชบิดา พระเจ้าข้า.
พระเจ้าชัยทิสได้ทรงสดับดังนั้นก็ทรงทราบกาลังของพระโอรส
จึงตรัสสั่งว่า ดีละลูกรัก เจ้าจงไปเถิด.
อลีนสัตตุราชกุมารถวายบังคมลาพระราชมารดาและพระราชบิดาแล้ว
ก็เสด็จออกจากพระนคร.
เมื่อพระบรมศาสดาจะทรงประกาศเนื้อความนั้น
จึงตรัสพระคาถากึ่งคาถาความว่า
ลาดับนั้นแล พระราชโอรสผู้ทรงพระปรีชาถวายบังคมพระยุคลบาท
พระชนกชนนีแล้วเสด็จไป.
ลาดับนั้น พระชนกชนนีก็ดี พระภคินีก็ดี
พระชายาก็ดีของพระราชกุมารนั้น
พร้อมด้วยหมู่อามาตย์และบริวารชนก็เสด็จออกไปด้วย.
ครั้นพระราชกุมารนั้นออกจากพระนครแล้วก็ทูลถามหนทางกะพระราชบิดา
กาหนดไว้ด้วยดีแล้วถวายบังคมพระชนกชนนี ประทานโอวาทแก่ชนที่เหลือ
แล้วมิได้สะดุ้งตกพระทัย แล้วเสด็จขึ้นสู่ทางดาเนินไปสู่ที่อยู่ของยักษ์
ประหนึ่งว่าไกรสรสีหราชฉะนั้น.
พระมารดาทอดพระเนตรเห็นพระกุมารกาลังทรงดาเนินไป
ไม่สามารถจะดารงพระองค์อยู่ได้ก็ล้มลง ณ พื้นปฐพี.
11
พระราชบิดาก็ทรงประคองพระพาหา คร่าครวญด้วยเสียงอันดัง.
เมื่อพระบรมศาสดาจะทรงประกาศเนื้อความนั้น
จึงทรงตรัสพระคาถากึ่งคาถาความว่า
พระชนนีของพระราชกุมารนั้น ทรงมีทุกข์โทมนัสล้มลงเหนือพื้นปฐพี
พระชนกนาถเล่าก็ทรงประคองสองพระพาหา คร่าครวญด้วยเสียงอันดัง.
ครั้นตรัสกึ่งพระคาถาดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงประกาศสัจจกิริยา
อันพระราชบิดาของพระกุมารนั้นทรงประกอบ
และอันพระราชมารดาพระภคินีและพระชายาทรงกระทาแล้ว
จึงได้ตรัสพระคาถาต่อไปอีก ๔ คาถา ความว่า
พระราชบิดาทรงทราบชัดว่า พระโอรสกาลังมุ่งหน้าเสด็จไป
ทรงเบือนพระพักตร์ประคองอัญชลี กราบไหว้เทวดาทั้งหลาย คือพระโสมราชา
พระวรุณราช พระปชาบดี พระจันทร์และพระอาทิตย์ ขอเทพยเจ้าเหล่านี้
ช่วยคุ้มครองโอรสของเราจากอานาจแห่งยักษ์ อลีนสัตตุลูกรัก
ขอยักษ์นั้นจงอนุญาตให้เจ้ากลับมาโดยสวัสดี.
มารดาของรามบุรุษผู้ไปสู่แคว้นของพระเจ้าทัณฑกิราช
ได้คุ้มครองทาความสวัสดีแก่รามะผู้เป็นบุตรอย่างใด
แม่ขอทาความสวัสดีอย่างนั้นแก่เจ้าด้วยคาสัตย์นั้น ขอทวยเทพจงช่วยคุ้มครอง
ขอให้เจ้าได้รับอนุญาตกลับมาโดยสวัสดีเถิด ลูกรัก.
น้องนึกไม่ออกเลย ถึงความคิดประทุษร้ายในอลีนสัตตุผู้พระเชษฐา
ทั้งในที่แจ้งหรือที่ลับ ด้วยความสัตย์นี้
ขอเทพยเจ้าโปรดระลึกถึงพระเชษฐาที่เคารพ
ขอพระเชษฐาจงได้รับอนุญาตให้กลับมาโดยสวัสดี.
ข้าแต่พระสวามี พระองค์ไม่เคยประพฤตินอกใจหม่อมฉันเลย
ฉะนั้นจึงเป็นที่รักของหม่อมฉันด้วยใจจริง ด้วยความสัตย์นี้
ขอเทพยเจ้าโปรดระลึกถึงพระสวามีที่เคารพ ข้าแต่พระสวามี
ขอพระองค์จงได้รับอนุญาตให้กลับมาโดยสวัสดี.
เล่ากันมาว่า
มีบุรุษคนหนึ่งเป็ นชาวเมืองพาราณสี ชื่อรามะ เป็นผู้เลี้ยงดูมารดา
ปฏิบัติมารดาบิดา
คราวหนึ่งไปค้าขายถึงเมืองกุมภวดีในแว่นแคว้นของพระเจ้าทัณฑกิราช
เมื่อแคว้นทั้งสิ้นต้องพินาศลงด้วยฝนเก้าประการ
เขาได้ระลึกถึงคุณของมารดาบิดา ครั้งนั้นด้วยผลแห่งมาตาปิตุปัฏฐานธรรม
เทพยเจ้าทั้งหลายได้นาเขามามอบให้แก่มารดาด้วยความสวัสดี.
พระชนนีของอลีนสัตตุราชกุมารทรงนาเหตุการณ์นั้นมาตรัสอย่างนี้
ก็โดยที่ได้ยินได้ฟังมา.
12
พระราชกุมารเสด็จดาเนินไปสู่ทางที่อยู่ของยักษ์
ตามคาแนะนาที่พระราชบิดาตรัสบอก.
ฝ่ายยักษ์คิดว่า ธรรมดากษัตริย์มีมายามาก ใครจะรู้ว่าจักเกิดอะไรขึ้น
จึงขึ้นต้นไม้นั่งแลดูทางที่พระเจ้าชัยทิสจะเสด็จมา
เหลือบเห็นพระกุมารกาลังดาเนินมา
คิดว่าชะรอยพระโอรสจักให้พระราชบิดากลับแล้ว ตัวมาแทน ภัยคงไม่มีแก่เรา
จึงลงจากต้นไม้นั่งผินหลังให้. พระราชกุมารเสด็จมาถึงแล้ว
เข้าไปยืนอยู่ตรงหน้ายักษ์.
ลาดับนั้น ยักษ์กล่าวคาถาความว่า
ท่านผู้มีร่างกายอันสูงใหญ่ มีหน้าอันงดงามมาจากไหน
ท่านไม่รู้หรือว่า เราอยู่ในป่านี้ ชะรอยจะไม่รู้ว่า เราเป็นคนดุร้าย
กินเนื้อมนุษย์กระมังจึงได้มา ผู้ที่ไม่รู้ความสวัสดีของตนดอกจึงได้มาในที่นี้.
พระราชกุมารทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาความว่า
เรารู้ว่าท่านเป็นคนหยาบช้ากินมนุษย์ แต่หารู้ว่าท่านอยู่ในป่านี้ไม่
เราคือโอรสของพระเจ้าชัยทิส วันนี้ท่านจงกินเราแทนพระชนก
เพื่อปลดเปลื้องให้พระองค์พ้นไป.
ลาดับนั้น ยักษ์กล่าวคาถาความว่า
เรารู้ว่าท่านเป็นโอรสของพระเจ้าชัยทิส
ดูพระพักตร์และผิวพรรณของท่านทั้งสองคล้ายคลึงกัน การที่บุคคลยอมตายแทน
เพื่อเปลื้องบิดาให้พ้นไปนี้เป็ นกรรมที่ทาได้ยากทีเดียว แต่ท่านก็ทาได้.
ลาดับนั้น พระราชกุมารตรัสคาถาความว่า
มิใช่ของทายากเลยในเรื่องนี้ เราไม่เห็นสาคัญอะไร
ผู้ใดยอมตายแทนเพื่อเปลื้องบิดา หรือเพราะเหตุแห่งมารดา ผู้นั้นไปสู่ปรโลกแล้ว
ย่อมเป็นผู้เพรียบพร้อมด้วยสุข และอารมณ์อันงามเลิศ.
ยักษ์ฟังดังนั้นแล้วจึงถามว่า พ่อกุมาร
ธรรมดาว่าสัตว์บุคคลที่จะไม่กลัวตายไม่มีเลย เหตุไฉนท่านจึงไม่กลัวเล่า?
เมื่อพระราชกุมารจะบอกความแก่ยักษ์ ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาความว่า
เราระลึกไม่ได้เลยว่า เราจะกระทาความชั่วเพื่อตนเอง
ทั้งในที่แจ้งและในที่ลับ เพราะว่าเราเป็ นผู้มีชาติและมรณะ อันกาหนดไว้แล้วว่า
ในโลกนี้ของเราฉันใด โลกหน้าก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
เชิญท่านกินเนื้อเราในวันนี้ เสียบัดนี้เถิด เชิญท่านทากิจเถิด
สรีระนี้เราสละแล้ว เราจะทาเป็นพลัดตกมาจากยอดไม้ ท่านชอบใจเนื้อส่วนใดๆ
ก็เชิญท่านกินเนื้อส่วนนั้นๆ ของเราเถิด.
ยักษ์ฟังถ้อยคาของพระกุมารแล้วตกใจกลัว
คิดว่าเราไม่อาจที่จะกินเนื้อพระกุมารนี้ได้ จักต้องหาอุบายไล่ให้เธอหนีไปเสีย
13
จึงกล่าวคาถานี้ความว่า
ดูก่อนพระราชโอรส เรื่องนี้ท่านเต็มใจจริง
จึงสละชีวิตเพื่อปลดเปลื้องพระชนกได้ เพราะเหตุนั้นแหละ
ท่านจงรีบไปหักไม้มาก่อไฟเถิด.
อลีนสัตตุราชกุมารได้กระทาตามที่ยักษ์บอกทุกประการ
เสร็จแล้วไปยังสานักของยักษ์.
พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเหตุนั้น
จึงตรัสพระคาถานอกนี้ความว่า
ลาดับนั้นแล พระราชโอรสผู้มีปัญญา
ได้นาเอาฟื นมาก่อไฟกองใหญ่ขึ้นแล้ว แจ้งให้ยักษ์ทราบว่า
บัดนี้ได้ก่อไฟเสร็จแล้ว.
ยักษ์มองดูพระราชกุมาร ซึ่งก่อไฟเสร็จแล้วเดินมาหา
เกิดขนพองสยองเกล้าว่า บุรุษนี้เป็นดุจราชสีห์
ไม่กลัวความตายเลยตลอดกาลมีประมาณเท่านี้
เราไม่เคยพบเห็นคนที่ไม่กลัวตายอย่างนี้เลย จึงนั่งชาเลืองดูพระกุมารบ่อยๆ
พระราชกุมารเห็นกิริยาของยักษ์แล้ว จึงตรัสคาถาความว่า
เมื่อครู่นี้ ท่านทาการขู่เข็ญว่าจะกินเราในวันนี้
ทาไมจึงหวาดระแวงเกรงเรา มองดูอยู่บ่อยๆ เราได้ทาตามคาของท่านเสร็จแล้ว
เมื่อพอใจจะกินก็เชิญกินได้.
ยักษ์ฟังคาของพระกุมารแล้ว กล่าวคาถาความว่า
ผู้ที่ตั้งอยู่ในธรรม มีวาจาสัตย์ รู้ความประสงค์ของผู้ขอเช่นท่าน
ใครจะนามากินเป็ นภักษาหารได้ ผู้ใดกินผู้มีวาจาสัตย์เช่นท่าน ศีรษะของผู้นั้น
ก็จะพึงแตกออกเป็นเจ็ดเสี่ยง.
พระราชกุมารได้สดับดังนั้น จึงตรัสว่า ถ้าท่านไม่ประสงค์จะกินเรา
เหตุไรจึงบอกให้เราหักฟืนมาก่อไฟ เมื่อยักษ์บอกว่าเพื่อต้องการลองดูว่า
ท่านจะหนีหรือไม่
จึงตรัสว่า ท่านจักเข้าใจเราในบัดนี้ได้อย่างไร
ครั้งเราบังเกิดในกาเนิดสัตว์เดียรัจฉาน
ยังไม่ยอมให้ท้าวสักกเทวราชดูหมิ่นตนได้
จึงตรัสคาถา ความว่า
แท้จริง สสบัณฑิตนั้นสาคัญท้าวสักกเทวราชนี้ว่าเป็ นพราหมณ์
จึงได้ให้อยู่ เพื่อให้สรีระของตนเป็ นทาน ด้วยเหตุนั้นแล
จันทิมเทพบุตรจึงมีรูปกระต่ายปรากฏ สมประสงค์ของโลกอยู่จนทุกวันนี้.
คาถานั้นมีอธิบายว่า
สสบัณฑิตนั้นสาคัญสักกพราหมณ์แม้นี้ว่าผู้นี้เป็ นพราหมณ์ จึงพูดว่า
14
วันนี้เชิญท่านเคี้ยวกินสรีระของเราในที่นี้แห่งเดียวเถิด แล้วให้อาศัย
คือให้อยู่พักเพื่อให้สรีระของตนเป็ นทานอย่างนี้
และแล้วได้ให้สรีระเพื่อเป็นอาหารแก่สักกพราหมณ์นั้น
ท้าวสักกเทวราชจึงบีบเอารสอันเกิดแต่บรรพตมาเขียนเป็นภาพกระต่ายไว้ในมณ
ฑลพระจันทร์
นับแต่นั้นมา เพราะภาพกระต่ายนั้นเอง
จันทิมเทพบุตรนั้นชาวโลกจึงรู้กันทั่วว่ากระต่ายกระต่ายดังนี้
จันทิมเทพบุตรมีรูปกระต่ายปรากฏแจ่มกระจ่างอย่างนี้
สมประสงค์คือยังความพอใจของโลกให้เจริญ รุ่งโรจน์อยู่จนทุกวันนี้
และเรื่องนี้ก็เป็ นเรื่องอัศจรรย์อยู่ตลอดกัป.
ยักษ์ได้ฟังดังนั้น เมื่อจะปล่อยพระราชกุมาร จึงกล่าวคาถาความว่า
พระจันทร์ พระอาทิตย์ พ้นจากปากแห่งราหูแล้ว
ย่อมไพโรจน์ในวันเพ็ญฉันใด ดูก่อนท่านผู้มีอานุภาพมาก
ท่านก็ฉันนั้นหลุดพ้นจากเราผู้กินเนื้อมนุษย์เป็นอาหารแล้ว
ยังพระชนกชนนีให้ปลื้มพระทัย จงรุ่งโรจน์ในกบิลรัฐ อนึ่ง
พระประยูรญาติของท่านจงยินดีกันทั่วหน้า.
ยักษ์กล่าวว่า ดูก่อนท่านมหาวีรเจ้า เชิญท่านไปเถิด
แล้วส่งเสด็จพระมหาสัตว์เจ้า.
ฝ่ายพระมหาสัตว์เจ้า ครั้นทรงทาให้ยักษ์สิ้นพยศแล้วให้ศีล ๕
กาหนดดูว่าผู้นี้จะมิใช่ยักษ์กระมัง จึงทรงพระดาริว่า
ธรรมดายักษ์ย่อมมีนัยน์ตาแดงและไม่กระพริบ เขาก็ไม่ปรากฏเป็นผู้ดุร้าย
อาจหาญ ผู้นี้ชะรอยจะมิใช่ยักษ์ คงเป็นมนุษย์แน่.
เขาเล่ากันว่า พระเชษฐาแห่งพระราชบิดาของเรา
ถูกนางยักษิณีจับไปถึงสามองค์ ในจานวนนั้นนางยักษิณีกินเสียสององค์
แต่ประคบประหงมเลี้ยงดูด้วยรักใคร่เหมือนบุตรองค์เดียว
ชะรอยจะเป็นองค์นี้แน่ เราจักนาไปทูลชี้แจงแก่พระราชบิดาของเรา
ให้ท่านผู้นี้ครองราชสมบัติ
แล้วจึงตรัสชักชวนว่า มาเถิดท่านผู้เจริญ ท่านไม่ใช่ยักษ์
ท่านเป็นพระเชษฐาแห่งพระราชบิดาของเรา เชิญท่านมาไปกับเรา
แล้วให้ยกเศวตฉัตรเสวยราชสมบัติ สืบสันตติวงศ์เถิด
เมื่อยักษ์ค้านว่าเราไม่ใช่มนุษย์ จึงตรัสว่าท่านไม่เชื่อเรา
แต่มีผู้ที่ท่านพอจะเชื่อถืออยู่บ้างหรือ? เมื่อยักษ์ตอบว่ามีอยู่
คือพระดาบสผู้มีจักษุเป็นทิพย์ ณ ที่โน้น จึงทรงพายักษ์นั้นไปสานักพระดาบสนั้น
พระดาบสเห็นคนทั้งสองแล้ว ทักขึ้นว่า ท่านทั้งสองคือลุงกับหลาน
เที่ยวทาอะไรอยู่ในป่า แล้วชี้แจงความที่ชนเหล่านั้นเป็นญาติกันให้ทราบ.
15
ยักษ์เชื่อถ้อยคาของพระดาบส จึงกล่าวว่า พ่อหลานชาย
เจ้าจงกลับไปเถิด ลุงเกิดมาชาติเดียวเป็นถึงสองอย่าง
ลุงไม่ต้องการราชสมบัติดอก ลุงจักบวช
แล้วบวชเป็ นฤาษีอยู่ในสานักของพระดาบส. ลาดับนั้น
พระอลีนสัตตุราชกุมารถวายบังคมลาพระเจ้าลุงแล้ว ได้เสด็จกลับไปยังพระนคร.
พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น
จึงตรัสพระคาถาความว่า
ลาดับนั้นแล พระราชโอรสอลีนสัตตุผู้มีพระปัญญา
ทรงประคองอัญชลีไหว้ยักษ์โปริสาท ได้รับอนุญาตแล้ว มีความสุขสวัสดี
หาโรคมิได้เสด็จกลับมายังกบิลรัฐ.
พระบรมศาสดา ครั้นตรัสพระคาถานี้แล้ว
เมื่อจะทรงแสดงกรณียกิจอันชาวพระนครและชาวนิคมเป็ นต้นกระทา
จึงตรัสโอกาสคาถาความว่า
ชาวนิคม ชาวชนบท ถ้วนหน้าทั้งพลช้าง พลรถและพลเดินเท้า
ต่างพากันมาถวายบังคมพระราชโอรสนั้น พร้อมกับกราบทูลขึ้นว่า
ข้าพระองค์ทั้งหลายถวายบังคมพระองค์
พระองค์ทรงกระทากิจซึ่งยากที่จะกระทาได้.
พระเจ้าชัยทิสทรงสดับข่าวว่า
พระราชกุมารกลับมาได้ทรงจัดการสมโภชต้อนรับ.
พระราชกุมารแวดล้อมด้วยมหาชน ไปถวายบังคมพระราชบิดา. ลาดับนั้น
พระราชาตรัสถามว่า ลูกรัก เจ้าพ้นมาจากยักษ์เช่นนั้นได้อย่างไร.
พระราชกุมารทูลว่า ขอเดชะพระราชบิดาเจ้า ผู้นี้มิใช่ยักษ์
แต่เป็นพระเชษฐาธิราชของพระราชบิดา ผู้นี้เป็นพระปิตุลาของข้าพระพุทธเจ้า
แล้วกราบทูลเรื่องราวทั้งปวงให้ทรงทราบ แล้วทูลว่า
ควรที่พระราชบิดาจะเสด็จเยี่ยมพระปิตุลาของข้าพระพุทธเจ้าบ้าง.
ทันใดนั้น
พระเจ้าชัยทิสจึงตรัสสั่งให้พนักงานเภรีตีกลองประกาศให้ทราบทั่วกัน
แล้วเสด็จไปยังสานักแห่งดาบสทั้งหลาย ด้วยราชบริพารเป็นอันมาก.
พระมหาดาบสจึงทรงเล่าเรื่องนางยักษิณีนาพระองค์ไปเลี้ยงดูไว้ไม่กิน
เสีย เรื่องที่พระองค์มิใช่ยักษ์
และเรื่องที่พระองค์เป็นพระประยูรญาติของราชสกุลเหล่านั้นแด่พระเจ้าชัยทิสหม
ดทุกอย่างโดยพิสดาร.
พระเจ้าชัยทิสทรงเชื้อเชิญว่า ข้าแต่พระเชษฐาธิราชเจ้า
ขอเชิญพระองค์เสด็จเสวยราชสมบัติเถิด พระมหาดาบสถวายพระพรห้ามว่า
อย่าเลยมหาราชเจ้า. พระเจ้าชัยทิสตรัสเชิญชวนว่า ถ้ากระนั้น
16
ขอเชิญพระเชษฐาธิราชเจ้าไปอยู่ในพระอุทยานเถิด
กระหม่อมฉันจักบารุงด้วยปัจจัย ๔. พระมหาดาบสถวายพระพรว่า
อาตมภาพจะยังไม่ไปก่อน มหาบพิตร.
พระเจ้าชัยทิสตรัสสั่งให้ขุดคลองใหญ่
เหยียดยาวไประหว่างภูเขาลูกหนึ่ง ไม่ห่างจากอาศรมบทของเหล่าพระดาบส
แล้วให้หักล้างถางพงทาไร่นา
โปรดให้มหาชนพันตระกูลอพยพมาตั้งครอบครัวเป็ นตาบลใหญ่
ตั้งไว้เป็นภิกขาจารของพระดาบสทั้งหลาย.
บ้านตาบลนั้น ปรากฏชื่อว่า "จุลลกัมมาสทัมมนิคม"
ส่วนประเทศที่พระมหาสัตว์เจ้า สุตตโสมบัณฑิตทรมานพระยาโปริสา
ท พึงทราบว่าชื่อมหากัมมาสทัมมนิคม.
พระบรมศาสดา
ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงจบแล้ว ทรงประกาศอริยสัจจธรรม ในเวล
าจบอริยสัจจกถา พระเถระผู้เลี้ยงดูมารดาได้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล
แล้วทรงประชุมชาดกว่า
พระราชมารดาบิดาได้มาเป็น ตระกูลแห่งพระมหาราชเจ้า
พระดาบสได้มาเป็น พระสารีบุตร
ยักษ์ได้มาเป็น พระองคุลิมาล
พระกนิษฐภคินีได้มาเป็น นางอุบลวรรณาเถรี
พระอัครมเหสีได้มาเป็ น พระมารดาพระราหุล
ส่วนอลีนสัตตุราชกุมารได้มาเป็น เราผู้ตถาคต ฉะนี้แล.
จบอรรถกถาชัยทิสชาดกที่ ๓
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
maruay songtanin
 
499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
347 อยกูฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
469 มหากัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
 
499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
499 สีวิราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
118 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๕ วินัยปิฎกที่ ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒
 
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
371 ทีฆีติโกสลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
181 อสทิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
308 ชวสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
285 มณิสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
361 วัณณาโรหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
219 ครหิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
445 นิโครธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
510 อโยฆรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
117 ติตติรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
273 กัจฉปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 

513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๓. ชยัททิสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๑๓) ว่าด้วยพระเจ้าปัญจาละพระนามว่าชัยทิศ (ยักษ์จับพระหัตถ์ของพระราชาแล้วกราบทูลว่า) [๖๔] นานจริงหนอ วันนี้ภักษาเป็ นอันมากได้เกิดขึ้นแก่เรา ในเวลาอาหารในวัน ๗ ค่า ท่านเป็ นใคร มาจากไหน ขอเชิญท่านบอกเนื้อความนั้นและชาติสกุลตามที่ท่านทราบเถิด (พระราชาทรงเห็นยักษ์แล้ว ตกพระทัย ต่อมาทรงรวบรวมสติได้แล้วจึงตรัสว่า) [๖๕] ข้าพเจ้าคือพระเจ้าปัญจาละนามว่าชัยทิศ เข้ามาล่าสัตว์ บางทีท่านจะได้ยินมาแล้วบ้าง เราเที่ยวไปตามเชิงเขาแนวป่า วันนี้ท่านจงกินเนื้อฟานนี้ ปล่อยข้าพเจ้าไปเถิด (ยักษ์กราบทูลว่า) [๖๖] พระองค์เมื่อถูกข้าพระองค์เบียดเบียน กลับทรงแลกพระองค์กับของที่ข้าพระองค์มีอยู่ เนื้อฟานที่พระองค์กล่าวถึงเป็ นภักษาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์เคี้ยวกินพระองค์แล้วอยากกินเนื้อฟาน ก็จักเคี้ยวกินในภายหลัง เวลานี้ไม่ใช่เวลาพร่าเพ้อราพัน (พระราชาทรงหวนระลึกถึงนันทพราหมณ์ จึงตรัสว่า) [๖๗] ถ้าว่า ข้าพเจ้ารอดพ้นไปไม่ได้ด้วยการแลกเปลี่ยน เพื่อไปแล้วจะกลับมาในวันพรุ่งนี้ กติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้นข้าพเจ้าทาไว้แล้ว ข้าพเจ้าผู้รักษาความสัตย์จักกลับมาอีก (ยักษ์กราบทูลว่า) [๖๘] พระมหาราช กรรมอะไรเล่า ที่ทาให้พระองค์ผู้ใกล้ถึงการสวรรคตต้องทรงเดือดร้อน ขอพระองค์ตรัสบอกกรรมนั้นแก่ข้าพระองค์ บางทีข้าพระองค์อาจจะอนุญาตให้พระองค์ไป เพื่อจะกลับมาในวันพรุ่งนี้ได้บ้าง (พระราชาตรัสว่า) [๖๙] ข้าพเจ้าได้ให้ความหวังเกี่ยวกับทรัพย์ไว้แก่พราหมณ์ กติกานั้นข้าพเจ้าได้รับรองไว้แล้ว ยังมิได้ปลดเปลื้องกติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์นั้น ข้าพเจ้าผู้รักษาความสัตย์จักกลับมาอีก
  • 2. 2 (ยักษ์กราบทูลว่า) [๗๐] ความหวังเกี่ยวกับทรัพย์อันใดพระองค์ได้สร้างไว้ให้แก่พราหมณ์ กติกานั้นพระองค์ทรงรับรองไว้แล้ว ยังมิได้ปลดเปลื้องกติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์เลย ขอพระองค์จงทรงรักษาความสัตย์เสด็จกลับมาอีก (พระศาสดาเมื่อทรงแสดงความนั้น จึงได้ตรัสว่า) [๗๑] ก็พระเจ้าชัยทิศนั้นรอดพ้นจากเงื้อมมือของยักษ์โปริสารทแล้ว ทรงรีบเสด็จไปยังพระราชมณเฑียรของพระองค์ ทรงหวังจะปลดเปลื้องกติกาในการที่จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์ รับสั่งเรียกหาอลีนสัตตุราชบุตรเข้ามาเฝ้ า ตรัสว่า [๗๒] ลูกจงอภิเษกราชสมบัติในวันนี้ จงประพฤติธรรมในบริวารของตนและแม้ในบุคคลเหล่าอื่น อนึ่ง การประพฤติอธรรมขออย่าได้มีในแคว้นของลูก ส่วนพ่อจะไปสานักของยักษ์โปริสาท (พระราชกุมารกราบทูลว่า) [๗๓] ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาท หม่อมฉันทากรรมอะไร จึงทาให้พระราชบิดาไม่พอพระทัย และวันนี้พระราชบิดาจะให้หม่อมฉันดารงราชสมบัติ เพราะการงานที่ทาให้พระราชบิดาไม่พอพระทัยอันใด หม่อมฉันปรารถนาจะสดับข้อนั้นๆ แม้ราชสมบัติเว้นพระราชบิดาหม่อมฉันก็ไม่พึงปรารถนา (พระราชาตรัสว่า) [๗๔] ลูกรัก พ่อมิได้ระลึกถึงความผิดของลูก เพราะการกระทาหรือเพราะคาพูดของลูกนี้เลย เพราะให้สัจจะไว้กับยักษ์โปริสาท พ่อต้องรักษาความสัตย์ จักต้องกลับไปอีก (พระราชกุมารกราบทูลว่า) [๗๕] หม่อมฉันจักไปแทน ขอพระองค์ประทับอยู่ที่นี้ การที่จะรอดชีวิตพ้นมาจากสานักยักษ์โปริสาทย่อมไม่มี ขอเดชะ ถ้าพระราชบิดาจะเสด็จไปจริงๆ หม่อมฉันก็จะตามเสด็จด้วย แม้เราทั้ง ๒ จะไม่รอดชีวิต (พระราชาตรัสว่า) [๗๖] ลูกรัก นั่นเป็นธรรมของสัตบุรุษอย่างแท้จริง แต่เมื่อใดยักษ์โปริสาทเท้าด่าง ข่มขี่ทาลายลูกแล้วย่างกินที่โคนต้นไม้ ข้อนั้นพึงเป็นทุกข์ยิ่งกว่าการตายของพ่อเสียอีก (พระราชกุมารกราบทูลว่า)
  • 3. 3 [๗๗] หม่อมฉันจักเอาชีวิตแลกเปลี่ยนชีวิตของเสด็จพ่อ เสด็จพ่ออย่าได้เสด็จไปสานักยักษ์โปริสาทเลย ก็หม่อมฉันจักแลกเปลี่ยนเอาชีวิตของเสด็จพ่อนั้นไว้ เพราะเหตุนั้น จึงขอยอมตายเพื่อชีวิตของเสด็จพ่อ (พระศาสดาเมื่อจะประกาศความนั้น จึงตรัสว่า) [๗๘] ลาดับนั้นแล พระราชบุตรผู้ทรงมีพระปรีชา ถวายบังคมพระยุคลบาทพระมารดาพระบิดาแล้วเสด็จไป พระมารดาของท้าวเธอทรงระทมทุกข์ ล้มลงที่พื้นปฐพี ส่วนพระบิดานั้นเล่าทรงประคองพระพาหาทั้ง ๒ แล้วทรงกันแสง (และเมื่อจะประกาศสัจจะ จึงได้ตรัสต่อไปอีกว่า) [๗๙] พระบิดาทรงทราบชัดว่าพระโอรสกาลังมุ่งหน้าเสด็จไป จึงบ่ายพระพักตร์ต่อเบื้องพระปฤษฎางค์ ประคองอัญชลี นมัสการว่า ลูกรัก ขอลูกจงมีเทพเหล่านี้ คือ ท้าวโสมะ ท้าววรุณ ท้าวปชาบดี พระจันทร์ และสุริยเทพคุ้มครอง ขอลูกจงได้รับอนุญาตกลับมาจากสานักยักษ์โปริสาทด้วยความสวัสดี (พระชนนีทรงทาสัจจกิริยาว่า) [๘๐] ลูกรัก มารดาของพ่อรามได้รับการคุ้มครองอย่างดี ได้กระทาความสวัสดีอันใดให้แก่พ่อรามผู้ไปยังแคว้นของพระเจ้าทัณฑกี แม่ขอกระทาความสวัสดีอันนั้นให้แก่ลูก ด้วยความสัตย์นี้ ขอทวยเทพเจ้าโปรดระลึกถึงลูก ขอลูกจงได้รับอนุญาตกลับมาด้วยความสวัสดีเถิด (พระภคินีทรงทาสัจจกิริยาว่า) [๘๑] น้องนึกไม่ออกเลย ถึงการคิดประทุษร้ายเจ้าพี่อลีนสัตตุในที่แจ้งหรือที่ลับ ด้วยความสัตย์นี้ ขอทวยเทพโปรดระลึกถึงเจ้าพี่ ขอเจ้าพี่ทรงได้รับอนุญาตกลับมาด้วยความสวัสดีเถิด (พระชายาทรงทากิริยาว่า) [๘๒] ขอเดชะพระสวามี ก็เพราะพระองค์มิได้ประพฤตินอกใจหม่อมฉันเลย ฉะนั้น พระองค์มิได้เป็ นที่รักจากใจหม่อมฉันก็หาไม่ ด้วยความสัตย์นี้ ขอทวยเทพโปรดระลึกถึงพระองค์ ขอพระองค์ทรงได้รับอนุญาตกลับมาด้วยความสวัสดีเถิด (ลาดับนั้น ยักษ์กล่าวว่า)
  • 4. 4 [๘๓] เจ้ามีร่างกายสูงใหญ่ ใบหน้างาม มาจากไหน เจ้าไม่รู้หรือว่าเราอยู่ในป่า ใครๆ เขาก็รู้จักเราผู้ชั่วร้ายว่า เป็นยักษ์กินคน มีใครเล่าเมื่อรู้ถึงความปลอดภัยพึงมาที่นี้ (พระราชกุมารตรัสว่า) [๘๔] นายพราน เรารู้ว่าท่านกินคน เราจะไม่รู้ว่าท่านอยู่ในป่าก็หาไม่ เราเป็นพระโอรสของพระเจ้าชัยทิศ เพราะต้องการจะปลดเปลื้องพระบิดา วันนี้ท่านจงปล่อยพระบิดา จงกินเราเถิด (ยักษ์กราบทูลว่า) [๘๕] เรารู้ว่าท่านเป็นพระโอรสของพระเจ้าชัยทิศ เพราะใบหน้าและผิวพรรณของท่านทั้ง ๒ คล้ายคลึงกัน การที่บุคคลยอมตายเพื่อปลดเปลื้องบิดาของตน นี้เป็ นกรรมที่กระทาได้ยาก แต่ท่านได้กระทาแล้ว (พระราชกุมารตรัสว่า) [๘๖] ในเรื่องนี้เรามิได้สาคัญว่าทาได้ยากอะไรนัก บุคคลใดยอมตายเพื่อปลดเปลื้องบิดาของตน หรือเพราะเหตุแห่งมารดา บุคคลนั้นไปสู่ปรโลกแล้ว เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยความสุขและอารมณ์อันเลิศ (พระราชกุมารถูกยักษ์ถามถึงความไม่กลัวตาย จึงตรัสว่า) [๘๗] ก็เราระลึกไม่ได้สักนิดเดียว ถึงการกระทาความชั่วของตนทั้งในที่แจ้งหรือที่ลับ เราเป็นผู้มีการเกิดและการตายตามกาหนด การพ้นจากความตายย่อมไม่มีในโลกนี้ฉันใด ในโลกหน้าก็ฉันนั้น [๘๘] ท่านผู้มีอานุภาพมาก วันนี้ท่านจงกินเราบัดนี้เถิด จงทากิจที่ควรทากับสรีระนี้ หรือว่าเพื่อท่านเราจะตกจากยอดไม้ ท่านพอใจจงกินเนื้อของเราส่วนที่ท่านพอใจเถิด (ยักษ์ฟังพระดารัสแล้วตกใจกลัว จึงกราบทูลว่า) [๘๙] ท่านราชบุตร ถ้าท่านพอใจอย่างนี้ ท่านจะสละชีวิตเพื่อปลดเปลื้องพระบิดา ฉะนั้น ท่านจงรีบหักฟืน ก่อไฟให้โพลงขึ้นในที่นี้ (พระศาสดาเมื่อทรงประกาศเหตุนั้น จึงตรัสว่า) [๙๐] ลาดับนั้นแล พระราชบุตรผู้ทรงปรีชาได้รวบรวมฟืน ก่อไฟกองใหญ่ขึ้นแล้ว จึงตรัสบอกให้ยักษ์ทราบว่า บัดนี้ไฟกองใหญ่เราได้ก่อแล้ว (พระราชกุมารทรงเห็นกิริยาของยักษ์นั้น จึงตรัสว่า)
  • 5. 5 [๙๑] บัดนี้ท่านจงข่มขี่กินเราในวันนี้เถิด ทาไมท่านจึงขนพองเพ่งดูเราบ่อยๆ เรากระทาตามคาของท่าน ตามที่ท่านพอใจจะกินเรา (ยักษ์กราบทูลว่า) [๙๒] ใครเล่าควรที่จะกินคนผู้ดารงอยู่ในธรรม มีปกติกล่าวคาสัตย์ รู้ถ้อยคาของผู้ขอเช่นท่าน บุคคลใดพึงกินคนผู้มีปกติกล่าวคาสัตย์เช่นนั้น แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็พึงแตกออก ๗ เสี่ยง (พระราชกุมารตรัสว่า) [๙๓] เพราะสสบัณฑิตนั้นสาคัญท้าวสักกเทวราชนี้ว่าเป็นพราหมณ์ จึงได้ให้สิงอยู่ในสรีระของตน ยักษ์ เพราะเหตุนั้นแล จันทิมเทพบุตรนั้นจึงมีรูปกระต่ายปรากฏอยู่ ซึ่งให้ความพอใจแก่ชาวโลกตราบจนทุกวันนี้ (ยักษ์เมื่อจะปล่อยพระราชกุมาร จึงกราบทูลว่า) [๙๔] ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์พ้นจากปากราหูแล้วย่อมไพโรจน์ ในดิถีเพ็ญ ๑๕ ค่าฉันใด ท่านผู้มีอานุภาพมาก แม้ท่านก็ฉันนั้น พ้นแล้วจากยักษ์โปริสาท ยังพระบิดาและพระมารดาให้ปลื้มพระทัย จงไพโรจน์ในกบิลรัฐเถิด อนึ่ง ขอพระประยูรญาติของพระองค์ทุกฝ่ายจงร่าเริงยินดีทั่วหน้า (พระศาสดาทรงประกาศความนั้นว่า) [๙๕] ลาดับนั้น พระราชบุตรทรงพระนามอลีนสัตตุผู้ทรงพระปรีชา ทรงประคองอัญชลี ถวายบังคมโปริสาทดาบส ทรงได้รับอนุญาตเสด็จกลับกบิลรัฐอย่างสุขสวัสดีและปลอดภัย (พระศาสดาเมื่อจะทรงแสดงกิริยาที่ชาวมคธถวายการต้อนรับพระราชกุมาร จึงตรัสว่า) [๙๖] ชาวนิคม ชาวชนบท พลช้าง พลรถ และพลเดินเท้าล้วนประคองอัญชลี เข้าเฝ้ าถวายบังคม กราบทูลท้าวเธอว่า ขอถวายบังคมแด่พระองค์ พระองค์ทรงเป็ นผู้กระทากิจที่ทาได้ยาก ชยัททิสชาดกที่ ๓ จบ --------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ชัยทิศชาดก ว่าด้วย โปริสาทกับพระเจ้าชัยทิศ
  • 6. 6 พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้เลี้ยงมารดารูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. ก็ในครั้งนั้น พระศาสดาตรัสว่า โปราณกบัณฑิตทั้งหลายละเศวตฉัตรอันประดับด้วยกาญจนมาลา แล้วเลี้ยงดูมารดาบิดาดังนี้. อันภิกษุนั้นทูลอาราธนา จึงทรงนาอดีตนิทานมาตรัสดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล มีพระราชาทรงพระนามว่าอุตตรปัญจาลราช เสวยราชสมบัติอยู่ในกปิลรัฐ พระอัครมเหสีของท้าวเธอทรงตั้งพระครรภ์ แล้วประสูติพระราชโอรส. ในภพก่อน หญิงคนหนึ่งร่วมสามีกับพระนาง โกรธเคืองกันแล้วตั้งความปรารถนาว่า ขอให้เราสามารถเคี้ยวกินบุตรของท่านที่คลอดแล้วดังนี้ แล้วได้มาเกิดเป็นนางยักษิณี. คราวนั้น นางยักษิณีนั้นได้โอกาส ทั้งๆ ที่พระนางเทวีทอดพระเนตรเห็นอยู่ คว้าเอาพระกุมารผู้มีวรรณะดุจชิ้นเนื้อสดไปเคี้ยวกิน เสียงกร้วมๆ แล้วหลบหลีกไป แม้ในวาระที่ ๒ ก็ได้ทาอย่างนั้น. แต่ในวาระที่ ๓ ในเวลาที่พระนางเทวีเสด็จเข้าไปสู่เรือนประสูติแล้ว พวกราชบุรุษพากันแวดล้อมตาหนัก จัดการถวายอารักขามั่นคง ในวันที่พระเทวีประสูติ นางยักษิณีก็มาจับเอาทารกไปอีก พระนางเทวีจึงส่งพระสุรเสียงร้องขึ้นว่านางยักษ์ๆ ราชบุรุษทั้งหลายมีอาวุธครบมือ พากันวิ่งติดตามนางยักษิณี ตามสัญญาที่พระนางบอกให้ นางยักษิณีไม่ได้โอกาสเพื่อจะเคี้ยวกิน หนีไปจากที่นั้น เข้าไปยังท่อน้า. ส่วนทารกอ้าปากดูดนมนางยักษิณี โดยเข้าใจว่าเป็นมารดา นางยักษิณีก็เกิดความรักเหมือนบุตรของตน หนีออกจากท่อน้าได้แล้วไปยังสุสานสถาน ทาการประคบประหงมทารกนั้นอยู่ในถ้าศิลา. ต่อมา เมื่อทารกนั้นเจริญเติบโตขึ้นโดยลาดับ นางยักษิณีก็นาเนื้อมนุษย์มาให้กินเป็ นอาหาร ทั้งสองก็กินเนื้อมนุษย์อยู่ในที่นั้น ทารกไม่รู้ตัวว่าเป็นมนุษย์ สาคัญว่าเป็นบุตรนางยักษิณี แต่ก็ไม่อาจที่จะจาแลงกายหายตัวได้. ต่อมา นางยักษิณีจึงให้รากไม้อย่างหนึ่งแก่พระราชกุมาร เพื่อต้องการให้หายตัวได้ ด้วยอานุภาพแห่งรากไม้ พระราชกุมารหายตัวได้ ก็เที่ยวไปกินเนื้อมนุษย์. นางยักษิณีไปปรนนิบัติท้าวเวสสวัณมหาราช เลยทากาลกิริยาเสีย ณ
  • 7. 7 ที่นั้นเอง. ฝ่ายพระนางเทวีประสูติพระโอรสองค์หนึ่งในวาระที่ ๔. พระราชโอรสจึงปลอดภัยเพราะพ้นจากนางยักษิณี พระชนกชนนีและพระประยูรญาติได้ขนานพระนามให้พระโอรสนั้นว่า ชัยทิสกุม าร เพราะเกิดมาชนะนางยักษิณีผู้เป็นปัจจามิตร พระชัยทิสกุมารทรงเจริญวัยแล้วได้ทรงศึกษาศิลปวิทยาสาเร็จ แล้วให้ยกเศวตฉัตร ครองราชสมบัติสืบสันตติวงศ์. คราวนั้น พระโพธิสัตว์บังเกิดในพระครรภ์ของพระอัครมเหสีของพระเจ้าชัยทิสนั้น พระชนกชนนีและพระประยูรญาติขนานพระนามว่า "อลีนสัตตุกุมาร" พออลีนสัต ตุกุมารเจริญวัยแล้ว ทรงเล่าเรียนศิลปศาสตร์จนสาเร็จ ได้เป็ นอุปราช. ในเวลาต่อมา กุมารผู้เป็นบุตรนางยักษิณีทารากไม้หายเพราะความประมาท ไม่สามารถเพื่อจะหายตัวได้ จึงมีรูปร่างปรากฏเคี้ยวกินเนื้อมนุษย์อยู่ที่สุสาน. คนทั้งหลายเห็นเข้าก็พากันสะดุ้งตกใจกลัว แล้วเข้ามาร้องทุกข์พระราชาว่า ขอเดชะพระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ มียักษ์ตนหนึ่งปรากฏตนเคี้ยวกินเนื้อมนุษย์อยู่ที่สุสาน มันคงเข้ามาพระนครโดยลาดับๆ จักฆ่ามนุษย์เคี้ยวกินเป็นอาหาร ควรตรัสสั่งให้จับเสีย พระเจ้าข้า. พระราชาทรงรับทราบแล้วมีพระราชโองการสั่งพลนิกายว่า ท่านทั้งหลายจงจับยักษ์ตนนั้น. พลนิกายเหล่านั้นไปยืนรายล้อมสุสานประเทศ กุมารบุตรนางยักษิณีมีรูปร่างเปล่าเปลือยน่าสะพรึงกลัว หวาดต่อมรณภัย ร้องขึ้นด้วยเสียงอันดัง วิ่งฝ่าฝูงคนไป ผู้คนทั้งหลายหวาดหวั่นต่อมรณภัย ร้องบอกกันว่ายักษ์ๆ ดังนี้ แตกกลุ่มออกเป็นสองฝ่าย. ฝ่ายกุมารบุตรนางยักษิณีหนีจากที่นั้นได้แล้วก็เข้าไปสู่ป่า ไม่กลับมายังถิ่นมนุษย์อีก ได้ไปอาศัยดงใกล้ทางใหญ่แห่งหนึ่ง คอยจับผู้คนที่เดินทางผ่านมาได้ทีละคน แล้วเข้าไปสู่ป่าฆ่าเคี้ยวกิน พานักอาศัยอยู่ที่โคนต้นไม้นิโครธต้นหนึ่ง. ลาดับนั้น พราหมณ์พ่อค้าเกวียนคนหนึ่งจ้างคนรักษาดงเป็ นราคาหนึ่งพันเพื่อพาข้ามดง พร้อมด้วยเกวียน ๕๐๐ เล่ม มนุษย์ยักษ์เห็นแล้วจึงส่งเสียงดังลั่นวิ่งมา ผู้คนทั้งหลายต่างตกใจกลัว พากันนอนราบหมด. มนุษย์ยักษ์จับพราหมณ์พ่อค้าได้แล้วหนีไป ถูกตอไม้ตาเอาที่เท้า และเมื่อพวกมนุษย์รักษาดงวิ่งติดตามมา จึงทิ้งพราหมณ์วิ่งหนี. เมื่อมนุษย์ยักษ์นั้นนอนอยู่ในที่นั้น ๗ วัน
  • 8. 8 พระเจ้าชัยทิสเสด็จออกจากพระนครล่าเนื้อ. พราหมณ์ผู้เลี้ยงดูมารดาคนหนึ่งชื่อ นันทะ เป็นชาวเมืองตักกสิลา ได้เรียนสตารหคาถา ๔ บาทมาเฝ้ าพระเจ้าชัยทิส ซึ่งกาลังจะเสด็จออกจากพระนคร. พระเจ้าชัยทิสตรัสสั่งว่าเรากลับมาแล้วจักฟัง พระราชทานบ้านพักแก่พราหมณ์นั้นแล้วเสด็จไปล่าเนื้อ ตรัสสั่งว่า เนื้อหนีไปทางด้านผู้ใด ผู้นั้นจักต้องมีโทษ. ลาดับนั้น กวางตัวหนึ่งลุกขึ้นแล้ววิ่งหนีผ่านหน้าพระราชาไป อามาตย์ทั้งหลายต่างพากันหัวเราะ พระราชาทรงถือพระขรรค์ติดตามกวางไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์จึงตามทัน แล้วเอาพระขรรค์ฟันกวางนั้นขาดออกเป็นสองท่อน ทรงใส่หาบๆ เสด็จมาถึงสถานที่มนุษย์ยักษ์นอนอยู่ ประทับนั่งพักหน่อยหนึ่งที่ลานหญ้าแพรก แล้วเตรียมจะเสด็จต่อไป. ลาดับนั้น มนุษย์ยักษ์ลุกขึ้นกล่าวว่า หยุดนะ! ท่านจะไปไหน ท่านตกเป็นอาหารของเราแล้ว ยึดพระหัตถ์ไว้ กล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า เป็นเวลานานนักหนา นับแต่เวลาที่เราอดอาหารมาครบ ๗ วัน อาหารมากมายพึ่งเกิดขึ้นแก่เราวันนี้ ท่านเป็ นใคร มาจากไหน ขอเชิญท่านบอกชาติสกุลตามที่รู้กันมาเถิด. พระราชาทอดพระเนตรเห็นยักษ์ แล้วตกใจกลัว ถึงกับอุรประเทศแข็งทื่อ-ดังเสา ไม่ทรงสามารถจะวิ่งหนีไปได้ จึงตั้งพระสติ ตรัสพระคาถาที่ ๒ ความว่า เราเป็นพระเจ้าปัญจาลราชมีนามว่าชัยทิส ถ้าท่านได้ยินชื่อก็คงรู้จัก เราออกมาล่าเนื้อเที่ยวมาตามข้างภูเขาและป่า ท่านจงกินเนื้อกวางนี้เถิด วันนี้จงปล่อยเราไป. ยักษ์ได้ยินดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า พระองค์ถูกข้าพเจ้าเบียดเบียน กลับเอาของที่ตกเป็นของข้าพเจ้านั่นเองมาแลกเปลี่ยน กวางที่พระองค์ตรัสถึงนั้นเป็นอาหารของข้าพระองค์ ข้าพระองค์กินพระองค์แล้ว อยากจะกินเนื้อกวาง ก็จักกินได้ภายหลัง เวลานี้มิใช่เวลาขอร้อง. พระราชาทรงสดับดังนั้นแล้วทรงระลึกถึงนันทพราหมณ์ได้ จึงตรัสพระคาถาที่ ๔ ความว่า ถ้าความรอดพ้นของเราไม่มีด้วยการแลกเปลี่ยน ขอให้เราได้กลับไปยังพระนครเสียก่อนเราผลัดพราหมณ์ไว้ว่าจะให้ทรัพย์ เราจักรักษาคาสัตย์ ย้อนกลับมาหาท่านอีก. ยักษ์ได้ฟังดังนั้นจึงกล่าวคาถาที่ ๕ ความว่า ดูก่อนพระราชา พระองค์ใกล้จะถึงสวรรคตอยู่แล้ว
  • 9. 9 ยังทรงเดือดร้อนถึงกรรมอะไรอยู่ ขอจงตรัสบอกกรรมนั้นแก่ข้าพระองค์ ข้าพระองค์จะอนุญาตให้กลับไปก่อนได้. พระราชา เมื่อจะตรัสบอกเหตุนั้น จึงตรัสพระคาถาที่ ๖ ความว่า ความหวังในทรัพย์ เราได้ทาไว้แก่พราหมณ์ ความผัดเพี้ยนเป็นข้อผูกมัดตัว ยังพ้นไปไม่ได้เพราะเราผลัดไว้ว่า จะให้ทรัพย์แก่พราหมณ์ เราจักรักษาคาสัตย์ กลับมาหาท่านอีก. ยักษ์ได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๗ ความว่า ความหวังในทรัพย์พระองค์ได้ทาไว้แก่พราหมณ์ ความผัดเพี้ยนเป็นข้อผูกมัดตัว ยังพ้นไปไม่ได้ เพราะได้ผัดเพี้ยนไว้แก่พราหมณ์ว่าจะพระราชทานทรัพย์ พระองค์จงรักษาคาสัตย์ไว้เสด็จกลับมาเถิด. ก็แลครั้นยักษ์กล่าวอย่างนี้แล้ว ก็ปล่อยพระราชาไป. พระราชาอันยักษ์ปล่อยแล้วจึงตรัสว่า ท่านอย่าวิตกเลย ข้าพเจ้าจักมาแต่เช้าตรู่ทีเดียว แล้วทรงสังเกตเครื่องหมายตามทาง เสด็จเข้าไปหาพลนิกายของพระองค์แวดล้อมด้วยพลนิกาย เสด็จเข้าสู่พระนคร ตรัสสั่งให้หานันทพราหมณ์มาเฝ้ า เชิญให้นั่งบนอาสนะอันมีค่ามาก ทรงสดับคาถาเสร็จแล้วพระราชทานทรัพย์ ๕ พัน เชิญพราหมณ์ให้ขึ้นยานพาหนะแล้วตรัสสั่งว่า ท่านจงนาทรัพย์นี้ไปยังเมืองตักกสิลาเถิด ทรงมอบคนให้แล้วก็ส่งพราหมณ์ไป ทรงพระประสงค์จะเสด็จกลับคืนไปหายักษ์ในวันรุ่งขึ้น จึงตรัสสั่งให้หาพระโอรสมาทรงสั่งสอน. พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงได้ตรัสพระคาถา ๒ คาถาความว่า พระเจ้าชัยทิสทรงพ้นเงื้อมมือยักษ์แล้ว รีบเสด็จกลับไปยังพระราชมณ เฑียรของพระองค์ เพราะได้ทรงผัดเพี้ยนไว้แก่พราหมณ์ว่า จะพระราชทานทรัพย์ได้ ตรัสสั่งให้หาพระราชโอรสพระนามว่า อลีนสัตตุ. ตรัสว่า เจ้าจงอภิเษกปกครองรัฐสีมาในวันนี้ จงประพฤติธรรมในรัฐสีมาและในประชาชนทั้งหลาย บุคคลไม่ประพฤติธรรม อย่าได้มีในแว่นแคว้นของเจ้า เราจะไปในสานักแห่งยักษ์. พระราชกุมารทรงสดับดังนั้น ตรัสคาถาที่ ๑๐ ความว่า ขอเดชะข้าแต่พระราชบิดาผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ข้าพระองค์ได้ทาความไม่พอพระทัยอะไรไว้ในใต้ฝ่าพระบาท ข้าพระองค์ปรารถนาจะได้สดับความที่พระองค์จะให้ขึ้นครองราชสมบัติในวันนี้ เพราะข้าพระพุทธเจ้าขาดพระราชบิดาเสียแล้ว หาปรารถนาแม้ราชสมบัติไม่. พระราชาทรงสดับดังนั้น จึงตรัสพระคาถาต่อไปว่า
  • 10. 10 ลูกรัก พ่อไม่ได้เพ่งถึงความผิดทางกายกรรม และวจีกรรมของเธอเลย แต่พ่อได้ทาความตกลงไว้กับยักษ์ พ่อต้องรักษาคาสัตย์ จึงต้องกลับไปอีก. อลีนสัตตุราชกุมารทรงฟังพระราชดารัสของพระราชบิดาแล้ว ตรัสคาถาความว่า ข้าพระพุทธเจ้าจักไปแทน ขอพระราชบิดาจงประทับอยู่ ณ ที่นี้ เมื่อทางที่จะรอดชีวิตจากสานักแห่งยักษ์ไม่มี ข้าแต่สมเด็จพระราชบิดา ถ้าพระองค์มีพระประสงค์จะเสด็จให้ได้ ข้าพระพุทธเจ้าก็จักตามเสด็จด้วย เราทั้งสองจะไม่ยอมอยู่. พระราชาทรงสดับดังนั้น จึงตรัสพระคาถาความว่า ลูกรัก นั่นเป็นธรรมของสัตบุรุษ โดยแท้จริง แต่เมื่อไรยักษ์ข่มขี่ทาลายเผาเธอกินเสียที่โคนไม้ นั่นเป็นความด่างพร้อยของพ่อ ข้อนี้แหละ เป็ นทุกข์ยิ่งกว่าความตายของพ่อเสียอีก. พระราชกุมารทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาความว่า ข้าพระพุทธเจ้าขอเอาชีวิตของข้าพระพุทธเจ้าแลกพระชนมชีพของพร ะราชบิดาไว้ พระราชบิดาอย่าเสด็จไปในสานักของยักษ์เลย ข้าพระพุทธเจ้าจะขอเอาชีวิตของข้าพระพุทธเจ้า แลกพระชนมชีพของพระราชบิดานี้แหละไว้ เพราะฉะนั้น ข้าพระพุทธเจ้าขอยอมตายแทนพระราชบิดา พระเจ้าข้า. พระเจ้าชัยทิสได้ทรงสดับดังนั้นก็ทรงทราบกาลังของพระโอรส จึงตรัสสั่งว่า ดีละลูกรัก เจ้าจงไปเถิด. อลีนสัตตุราชกุมารถวายบังคมลาพระราชมารดาและพระราชบิดาแล้ว ก็เสด็จออกจากพระนคร. เมื่อพระบรมศาสดาจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถากึ่งคาถาความว่า ลาดับนั้นแล พระราชโอรสผู้ทรงพระปรีชาถวายบังคมพระยุคลบาท พระชนกชนนีแล้วเสด็จไป. ลาดับนั้น พระชนกชนนีก็ดี พระภคินีก็ดี พระชายาก็ดีของพระราชกุมารนั้น พร้อมด้วยหมู่อามาตย์และบริวารชนก็เสด็จออกไปด้วย. ครั้นพระราชกุมารนั้นออกจากพระนครแล้วก็ทูลถามหนทางกะพระราชบิดา กาหนดไว้ด้วยดีแล้วถวายบังคมพระชนกชนนี ประทานโอวาทแก่ชนที่เหลือ แล้วมิได้สะดุ้งตกพระทัย แล้วเสด็จขึ้นสู่ทางดาเนินไปสู่ที่อยู่ของยักษ์ ประหนึ่งว่าไกรสรสีหราชฉะนั้น. พระมารดาทอดพระเนตรเห็นพระกุมารกาลังทรงดาเนินไป ไม่สามารถจะดารงพระองค์อยู่ได้ก็ล้มลง ณ พื้นปฐพี.
  • 11. 11 พระราชบิดาก็ทรงประคองพระพาหา คร่าครวญด้วยเสียงอันดัง. เมื่อพระบรมศาสดาจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงทรงตรัสพระคาถากึ่งคาถาความว่า พระชนนีของพระราชกุมารนั้น ทรงมีทุกข์โทมนัสล้มลงเหนือพื้นปฐพี พระชนกนาถเล่าก็ทรงประคองสองพระพาหา คร่าครวญด้วยเสียงอันดัง. ครั้นตรัสกึ่งพระคาถาดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงประกาศสัจจกิริยา อันพระราชบิดาของพระกุมารนั้นทรงประกอบ และอันพระราชมารดาพระภคินีและพระชายาทรงกระทาแล้ว จึงได้ตรัสพระคาถาต่อไปอีก ๔ คาถา ความว่า พระราชบิดาทรงทราบชัดว่า พระโอรสกาลังมุ่งหน้าเสด็จไป ทรงเบือนพระพักตร์ประคองอัญชลี กราบไหว้เทวดาทั้งหลาย คือพระโสมราชา พระวรุณราช พระปชาบดี พระจันทร์และพระอาทิตย์ ขอเทพยเจ้าเหล่านี้ ช่วยคุ้มครองโอรสของเราจากอานาจแห่งยักษ์ อลีนสัตตุลูกรัก ขอยักษ์นั้นจงอนุญาตให้เจ้ากลับมาโดยสวัสดี. มารดาของรามบุรุษผู้ไปสู่แคว้นของพระเจ้าทัณฑกิราช ได้คุ้มครองทาความสวัสดีแก่รามะผู้เป็นบุตรอย่างใด แม่ขอทาความสวัสดีอย่างนั้นแก่เจ้าด้วยคาสัตย์นั้น ขอทวยเทพจงช่วยคุ้มครอง ขอให้เจ้าได้รับอนุญาตกลับมาโดยสวัสดีเถิด ลูกรัก. น้องนึกไม่ออกเลย ถึงความคิดประทุษร้ายในอลีนสัตตุผู้พระเชษฐา ทั้งในที่แจ้งหรือที่ลับ ด้วยความสัตย์นี้ ขอเทพยเจ้าโปรดระลึกถึงพระเชษฐาที่เคารพ ขอพระเชษฐาจงได้รับอนุญาตให้กลับมาโดยสวัสดี. ข้าแต่พระสวามี พระองค์ไม่เคยประพฤตินอกใจหม่อมฉันเลย ฉะนั้นจึงเป็นที่รักของหม่อมฉันด้วยใจจริง ด้วยความสัตย์นี้ ขอเทพยเจ้าโปรดระลึกถึงพระสวามีที่เคารพ ข้าแต่พระสวามี ขอพระองค์จงได้รับอนุญาตให้กลับมาโดยสวัสดี. เล่ากันมาว่า มีบุรุษคนหนึ่งเป็ นชาวเมืองพาราณสี ชื่อรามะ เป็นผู้เลี้ยงดูมารดา ปฏิบัติมารดาบิดา คราวหนึ่งไปค้าขายถึงเมืองกุมภวดีในแว่นแคว้นของพระเจ้าทัณฑกิราช เมื่อแคว้นทั้งสิ้นต้องพินาศลงด้วยฝนเก้าประการ เขาได้ระลึกถึงคุณของมารดาบิดา ครั้งนั้นด้วยผลแห่งมาตาปิตุปัฏฐานธรรม เทพยเจ้าทั้งหลายได้นาเขามามอบให้แก่มารดาด้วยความสวัสดี. พระชนนีของอลีนสัตตุราชกุมารทรงนาเหตุการณ์นั้นมาตรัสอย่างนี้ ก็โดยที่ได้ยินได้ฟังมา.
  • 12. 12 พระราชกุมารเสด็จดาเนินไปสู่ทางที่อยู่ของยักษ์ ตามคาแนะนาที่พระราชบิดาตรัสบอก. ฝ่ายยักษ์คิดว่า ธรรมดากษัตริย์มีมายามาก ใครจะรู้ว่าจักเกิดอะไรขึ้น จึงขึ้นต้นไม้นั่งแลดูทางที่พระเจ้าชัยทิสจะเสด็จมา เหลือบเห็นพระกุมารกาลังดาเนินมา คิดว่าชะรอยพระโอรสจักให้พระราชบิดากลับแล้ว ตัวมาแทน ภัยคงไม่มีแก่เรา จึงลงจากต้นไม้นั่งผินหลังให้. พระราชกุมารเสด็จมาถึงแล้ว เข้าไปยืนอยู่ตรงหน้ายักษ์. ลาดับนั้น ยักษ์กล่าวคาถาความว่า ท่านผู้มีร่างกายอันสูงใหญ่ มีหน้าอันงดงามมาจากไหน ท่านไม่รู้หรือว่า เราอยู่ในป่านี้ ชะรอยจะไม่รู้ว่า เราเป็นคนดุร้าย กินเนื้อมนุษย์กระมังจึงได้มา ผู้ที่ไม่รู้ความสวัสดีของตนดอกจึงได้มาในที่นี้. พระราชกุมารทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาความว่า เรารู้ว่าท่านเป็นคนหยาบช้ากินมนุษย์ แต่หารู้ว่าท่านอยู่ในป่านี้ไม่ เราคือโอรสของพระเจ้าชัยทิส วันนี้ท่านจงกินเราแทนพระชนก เพื่อปลดเปลื้องให้พระองค์พ้นไป. ลาดับนั้น ยักษ์กล่าวคาถาความว่า เรารู้ว่าท่านเป็นโอรสของพระเจ้าชัยทิส ดูพระพักตร์และผิวพรรณของท่านทั้งสองคล้ายคลึงกัน การที่บุคคลยอมตายแทน เพื่อเปลื้องบิดาให้พ้นไปนี้เป็ นกรรมที่ทาได้ยากทีเดียว แต่ท่านก็ทาได้. ลาดับนั้น พระราชกุมารตรัสคาถาความว่า มิใช่ของทายากเลยในเรื่องนี้ เราไม่เห็นสาคัญอะไร ผู้ใดยอมตายแทนเพื่อเปลื้องบิดา หรือเพราะเหตุแห่งมารดา ผู้นั้นไปสู่ปรโลกแล้ว ย่อมเป็นผู้เพรียบพร้อมด้วยสุข และอารมณ์อันงามเลิศ. ยักษ์ฟังดังนั้นแล้วจึงถามว่า พ่อกุมาร ธรรมดาว่าสัตว์บุคคลที่จะไม่กลัวตายไม่มีเลย เหตุไฉนท่านจึงไม่กลัวเล่า? เมื่อพระราชกุมารจะบอกความแก่ยักษ์ ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาความว่า เราระลึกไม่ได้เลยว่า เราจะกระทาความชั่วเพื่อตนเอง ทั้งในที่แจ้งและในที่ลับ เพราะว่าเราเป็ นผู้มีชาติและมรณะ อันกาหนดไว้แล้วว่า ในโลกนี้ของเราฉันใด โลกหน้าก็ฉันนั้นเหมือนกัน. เชิญท่านกินเนื้อเราในวันนี้ เสียบัดนี้เถิด เชิญท่านทากิจเถิด สรีระนี้เราสละแล้ว เราจะทาเป็นพลัดตกมาจากยอดไม้ ท่านชอบใจเนื้อส่วนใดๆ ก็เชิญท่านกินเนื้อส่วนนั้นๆ ของเราเถิด. ยักษ์ฟังถ้อยคาของพระกุมารแล้วตกใจกลัว คิดว่าเราไม่อาจที่จะกินเนื้อพระกุมารนี้ได้ จักต้องหาอุบายไล่ให้เธอหนีไปเสีย
  • 13. 13 จึงกล่าวคาถานี้ความว่า ดูก่อนพระราชโอรส เรื่องนี้ท่านเต็มใจจริง จึงสละชีวิตเพื่อปลดเปลื้องพระชนกได้ เพราะเหตุนั้นแหละ ท่านจงรีบไปหักไม้มาก่อไฟเถิด. อลีนสัตตุราชกุมารได้กระทาตามที่ยักษ์บอกทุกประการ เสร็จแล้วไปยังสานักของยักษ์. พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเหตุนั้น จึงตรัสพระคาถานอกนี้ความว่า ลาดับนั้นแล พระราชโอรสผู้มีปัญญา ได้นาเอาฟื นมาก่อไฟกองใหญ่ขึ้นแล้ว แจ้งให้ยักษ์ทราบว่า บัดนี้ได้ก่อไฟเสร็จแล้ว. ยักษ์มองดูพระราชกุมาร ซึ่งก่อไฟเสร็จแล้วเดินมาหา เกิดขนพองสยองเกล้าว่า บุรุษนี้เป็นดุจราชสีห์ ไม่กลัวความตายเลยตลอดกาลมีประมาณเท่านี้ เราไม่เคยพบเห็นคนที่ไม่กลัวตายอย่างนี้เลย จึงนั่งชาเลืองดูพระกุมารบ่อยๆ พระราชกุมารเห็นกิริยาของยักษ์แล้ว จึงตรัสคาถาความว่า เมื่อครู่นี้ ท่านทาการขู่เข็ญว่าจะกินเราในวันนี้ ทาไมจึงหวาดระแวงเกรงเรา มองดูอยู่บ่อยๆ เราได้ทาตามคาของท่านเสร็จแล้ว เมื่อพอใจจะกินก็เชิญกินได้. ยักษ์ฟังคาของพระกุมารแล้ว กล่าวคาถาความว่า ผู้ที่ตั้งอยู่ในธรรม มีวาจาสัตย์ รู้ความประสงค์ของผู้ขอเช่นท่าน ใครจะนามากินเป็ นภักษาหารได้ ผู้ใดกินผู้มีวาจาสัตย์เช่นท่าน ศีรษะของผู้นั้น ก็จะพึงแตกออกเป็นเจ็ดเสี่ยง. พระราชกุมารได้สดับดังนั้น จึงตรัสว่า ถ้าท่านไม่ประสงค์จะกินเรา เหตุไรจึงบอกให้เราหักฟืนมาก่อไฟ เมื่อยักษ์บอกว่าเพื่อต้องการลองดูว่า ท่านจะหนีหรือไม่ จึงตรัสว่า ท่านจักเข้าใจเราในบัดนี้ได้อย่างไร ครั้งเราบังเกิดในกาเนิดสัตว์เดียรัจฉาน ยังไม่ยอมให้ท้าวสักกเทวราชดูหมิ่นตนได้ จึงตรัสคาถา ความว่า แท้จริง สสบัณฑิตนั้นสาคัญท้าวสักกเทวราชนี้ว่าเป็ นพราหมณ์ จึงได้ให้อยู่ เพื่อให้สรีระของตนเป็ นทาน ด้วยเหตุนั้นแล จันทิมเทพบุตรจึงมีรูปกระต่ายปรากฏ สมประสงค์ของโลกอยู่จนทุกวันนี้. คาถานั้นมีอธิบายว่า สสบัณฑิตนั้นสาคัญสักกพราหมณ์แม้นี้ว่าผู้นี้เป็ นพราหมณ์ จึงพูดว่า
  • 14. 14 วันนี้เชิญท่านเคี้ยวกินสรีระของเราในที่นี้แห่งเดียวเถิด แล้วให้อาศัย คือให้อยู่พักเพื่อให้สรีระของตนเป็ นทานอย่างนี้ และแล้วได้ให้สรีระเพื่อเป็นอาหารแก่สักกพราหมณ์นั้น ท้าวสักกเทวราชจึงบีบเอารสอันเกิดแต่บรรพตมาเขียนเป็นภาพกระต่ายไว้ในมณ ฑลพระจันทร์ นับแต่นั้นมา เพราะภาพกระต่ายนั้นเอง จันทิมเทพบุตรนั้นชาวโลกจึงรู้กันทั่วว่ากระต่ายกระต่ายดังนี้ จันทิมเทพบุตรมีรูปกระต่ายปรากฏแจ่มกระจ่างอย่างนี้ สมประสงค์คือยังความพอใจของโลกให้เจริญ รุ่งโรจน์อยู่จนทุกวันนี้ และเรื่องนี้ก็เป็ นเรื่องอัศจรรย์อยู่ตลอดกัป. ยักษ์ได้ฟังดังนั้น เมื่อจะปล่อยพระราชกุมาร จึงกล่าวคาถาความว่า พระจันทร์ พระอาทิตย์ พ้นจากปากแห่งราหูแล้ว ย่อมไพโรจน์ในวันเพ็ญฉันใด ดูก่อนท่านผู้มีอานุภาพมาก ท่านก็ฉันนั้นหลุดพ้นจากเราผู้กินเนื้อมนุษย์เป็นอาหารแล้ว ยังพระชนกชนนีให้ปลื้มพระทัย จงรุ่งโรจน์ในกบิลรัฐ อนึ่ง พระประยูรญาติของท่านจงยินดีกันทั่วหน้า. ยักษ์กล่าวว่า ดูก่อนท่านมหาวีรเจ้า เชิญท่านไปเถิด แล้วส่งเสด็จพระมหาสัตว์เจ้า. ฝ่ายพระมหาสัตว์เจ้า ครั้นทรงทาให้ยักษ์สิ้นพยศแล้วให้ศีล ๕ กาหนดดูว่าผู้นี้จะมิใช่ยักษ์กระมัง จึงทรงพระดาริว่า ธรรมดายักษ์ย่อมมีนัยน์ตาแดงและไม่กระพริบ เขาก็ไม่ปรากฏเป็นผู้ดุร้าย อาจหาญ ผู้นี้ชะรอยจะมิใช่ยักษ์ คงเป็นมนุษย์แน่. เขาเล่ากันว่า พระเชษฐาแห่งพระราชบิดาของเรา ถูกนางยักษิณีจับไปถึงสามองค์ ในจานวนนั้นนางยักษิณีกินเสียสององค์ แต่ประคบประหงมเลี้ยงดูด้วยรักใคร่เหมือนบุตรองค์เดียว ชะรอยจะเป็นองค์นี้แน่ เราจักนาไปทูลชี้แจงแก่พระราชบิดาของเรา ให้ท่านผู้นี้ครองราชสมบัติ แล้วจึงตรัสชักชวนว่า มาเถิดท่านผู้เจริญ ท่านไม่ใช่ยักษ์ ท่านเป็นพระเชษฐาแห่งพระราชบิดาของเรา เชิญท่านมาไปกับเรา แล้วให้ยกเศวตฉัตรเสวยราชสมบัติ สืบสันตติวงศ์เถิด เมื่อยักษ์ค้านว่าเราไม่ใช่มนุษย์ จึงตรัสว่าท่านไม่เชื่อเรา แต่มีผู้ที่ท่านพอจะเชื่อถืออยู่บ้างหรือ? เมื่อยักษ์ตอบว่ามีอยู่ คือพระดาบสผู้มีจักษุเป็นทิพย์ ณ ที่โน้น จึงทรงพายักษ์นั้นไปสานักพระดาบสนั้น พระดาบสเห็นคนทั้งสองแล้ว ทักขึ้นว่า ท่านทั้งสองคือลุงกับหลาน เที่ยวทาอะไรอยู่ในป่า แล้วชี้แจงความที่ชนเหล่านั้นเป็นญาติกันให้ทราบ.
  • 15. 15 ยักษ์เชื่อถ้อยคาของพระดาบส จึงกล่าวว่า พ่อหลานชาย เจ้าจงกลับไปเถิด ลุงเกิดมาชาติเดียวเป็นถึงสองอย่าง ลุงไม่ต้องการราชสมบัติดอก ลุงจักบวช แล้วบวชเป็ นฤาษีอยู่ในสานักของพระดาบส. ลาดับนั้น พระอลีนสัตตุราชกุมารถวายบังคมลาพระเจ้าลุงแล้ว ได้เสด็จกลับไปยังพระนคร. พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถาความว่า ลาดับนั้นแล พระราชโอรสอลีนสัตตุผู้มีพระปัญญา ทรงประคองอัญชลีไหว้ยักษ์โปริสาท ได้รับอนุญาตแล้ว มีความสุขสวัสดี หาโรคมิได้เสด็จกลับมายังกบิลรัฐ. พระบรมศาสดา ครั้นตรัสพระคาถานี้แล้ว เมื่อจะทรงแสดงกรณียกิจอันชาวพระนครและชาวนิคมเป็ นต้นกระทา จึงตรัสโอกาสคาถาความว่า ชาวนิคม ชาวชนบท ถ้วนหน้าทั้งพลช้าง พลรถและพลเดินเท้า ต่างพากันมาถวายบังคมพระราชโอรสนั้น พร้อมกับกราบทูลขึ้นว่า ข้าพระองค์ทั้งหลายถวายบังคมพระองค์ พระองค์ทรงกระทากิจซึ่งยากที่จะกระทาได้. พระเจ้าชัยทิสทรงสดับข่าวว่า พระราชกุมารกลับมาได้ทรงจัดการสมโภชต้อนรับ. พระราชกุมารแวดล้อมด้วยมหาชน ไปถวายบังคมพระราชบิดา. ลาดับนั้น พระราชาตรัสถามว่า ลูกรัก เจ้าพ้นมาจากยักษ์เช่นนั้นได้อย่างไร. พระราชกุมารทูลว่า ขอเดชะพระราชบิดาเจ้า ผู้นี้มิใช่ยักษ์ แต่เป็นพระเชษฐาธิราชของพระราชบิดา ผู้นี้เป็นพระปิตุลาของข้าพระพุทธเจ้า แล้วกราบทูลเรื่องราวทั้งปวงให้ทรงทราบ แล้วทูลว่า ควรที่พระราชบิดาจะเสด็จเยี่ยมพระปิตุลาของข้าพระพุทธเจ้าบ้าง. ทันใดนั้น พระเจ้าชัยทิสจึงตรัสสั่งให้พนักงานเภรีตีกลองประกาศให้ทราบทั่วกัน แล้วเสด็จไปยังสานักแห่งดาบสทั้งหลาย ด้วยราชบริพารเป็นอันมาก. พระมหาดาบสจึงทรงเล่าเรื่องนางยักษิณีนาพระองค์ไปเลี้ยงดูไว้ไม่กิน เสีย เรื่องที่พระองค์มิใช่ยักษ์ และเรื่องที่พระองค์เป็นพระประยูรญาติของราชสกุลเหล่านั้นแด่พระเจ้าชัยทิสหม ดทุกอย่างโดยพิสดาร. พระเจ้าชัยทิสทรงเชื้อเชิญว่า ข้าแต่พระเชษฐาธิราชเจ้า ขอเชิญพระองค์เสด็จเสวยราชสมบัติเถิด พระมหาดาบสถวายพระพรห้ามว่า อย่าเลยมหาราชเจ้า. พระเจ้าชัยทิสตรัสเชิญชวนว่า ถ้ากระนั้น
  • 16. 16 ขอเชิญพระเชษฐาธิราชเจ้าไปอยู่ในพระอุทยานเถิด กระหม่อมฉันจักบารุงด้วยปัจจัย ๔. พระมหาดาบสถวายพระพรว่า อาตมภาพจะยังไม่ไปก่อน มหาบพิตร. พระเจ้าชัยทิสตรัสสั่งให้ขุดคลองใหญ่ เหยียดยาวไประหว่างภูเขาลูกหนึ่ง ไม่ห่างจากอาศรมบทของเหล่าพระดาบส แล้วให้หักล้างถางพงทาไร่นา โปรดให้มหาชนพันตระกูลอพยพมาตั้งครอบครัวเป็ นตาบลใหญ่ ตั้งไว้เป็นภิกขาจารของพระดาบสทั้งหลาย. บ้านตาบลนั้น ปรากฏชื่อว่า "จุลลกัมมาสทัมมนิคม" ส่วนประเทศที่พระมหาสัตว์เจ้า สุตตโสมบัณฑิตทรมานพระยาโปริสา ท พึงทราบว่าชื่อมหากัมมาสทัมมนิคม. พระบรมศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงจบแล้ว ทรงประกาศอริยสัจจธรรม ในเวล าจบอริยสัจจกถา พระเถระผู้เลี้ยงดูมารดาได้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล แล้วทรงประชุมชาดกว่า พระราชมารดาบิดาได้มาเป็น ตระกูลแห่งพระมหาราชเจ้า พระดาบสได้มาเป็น พระสารีบุตร ยักษ์ได้มาเป็น พระองคุลิมาล พระกนิษฐภคินีได้มาเป็น นางอุบลวรรณาเถรี พระอัครมเหสีได้มาเป็ น พระมารดาพระราหุล ส่วนอลีนสัตตุราชกุมารได้มาเป็น เราผู้ตถาคต ฉะนี้แล. จบอรรถกถาชัยทิสชาดกที่ ๓ -----------------------------------------------------