SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
69
รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
คณะครุศาสตร์
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสวิชา 108342
รายวิชา การช่วยเหลือเฉพาะด้านสาหรับเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
(Specific Intervention for Children with Learning
Disabilities)
หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน
2. จานวนหน่วยกิต 3 (3-0-0)
3. หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ ปี 4 หมู่ 1
4. อาจารย์ผู้สอน ดร.สิริลักษณ์ โปร่งสันเทียะ
โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร์
ห้องทางาน สานักงาน ชั้น 2 อาคาร 18 ศูนย์การศึกษาพิเศษ
โทรศัพท์ 0-4424-2158, 0-4427-2828 ต่อ 1110
มือถือ 081-6277204
E-mail sprongsantia@yahoo.com
5. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน - ไม่มี-
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน – ไม่มี -
8. สถานที่เรียน อาคาร 18 ห้อง18.305 อาคารศูนย์การศึกษาพิเศษ
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดชุดวิชาครั้งล่าสุด 11 มิถุนายน 2555
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน วิธีการช่วยเหลือ สามารถประเมินความบกพร่องทางการ
เรียนรู้เพื่อการจัดการช่วยเหลือ ปฏิบัติการสอนและช่วยเหลือ สามารถเขียนรายงานการสอน
70
และจัดการช่วยเหลือในรูปแบบการวิจัยในชั้นเรียน
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาและปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสอนเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ และการเขียน
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
กระบวนการเรียนรู้ ปัญหาและข้อจากัดในการเรียนรู้ ปัจจัยส่งเสริม วิธีการฝึกการคิดและ
กลวิธีการเรียน วิธีการช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมวุฒิภาวะทางสังคมและพัฒนาการด้านอื่นๆและทาการ
สืบค้น นาเสนอสารสนเทศเกี่ยวกับรายวิชาได้ถูกต้อง
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้สอนต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม
การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย 32 ชั่วโมง จัดการสอนเสริม
สาหรับนักศึกษาที่มี
ความบกพร่องทาง
การได้ยินและความ
บกพร่องทางการเห็น
ฝึกปฏิบัติด้านการ
จัดการซ่อมเสริม
สาหรับเด็กที่มีปัญหา
ทางการเรียนรู้
สืบค้นสารสนเทศ
เกี่ยวกับวิธีสอนเด็กที่มี
ปัญหาทางการเรียนรู้
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน
1 ปฐมนิเทศ ผู้สอนชี้แจงการจัดการเรียนการ
สอนในรายวิชานี้ เกี่ยวกับ
จุดประสงค์รายวิชา กิจกรรม
การเรียนการสอน การวัดและ
ประเมินผล ตลอดจนการปฏิบัติ
ตนของนักศึกษาอย่างมี
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อ
แบบสอบถามความ
คิดเห็นและความจาเป็น
พิเศษของนักศึกษา
71
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน
ความเป็นนักศึกษาครู และ
สอบถามความต้องการและ
ความจาเป็นพิเศษของนักศึกษา
ในการเรียนรายวิชานี้
2 ความเป็นมาและ
ความหมายของปัญหา
ทางการเรียนรู้
บรรยายประกอบการใช้ Power
Point
ใบงานการสืบค้น
ความหมายของเด็กที่มี
ปัญหาทางการเรียนรู้
3 การประเมินเด็กที่มี
ปัญหาทางการเรียนรู้
สาธิตการประเมินปัญหาทาง
การเรียนรู้
ฝึกปฏิบัติการประเมินปัญหา
ทางการเรียนรู้
ออกแบบการประเมิน
เด็กที่มีปัญหาทางการ
เรียนรู้แบบไม่เป็น
ทางการ (Informal
assessment)
4 การสอนเด็กที่มีปัญหา
ทางการเรียนรู้
ร่วมกิจกรรมการสอนเพื่อ
ฝึกการรับรู้
กิจกรรมการฝึกการรับรู้
5 การสอนอ่าน ร่วมกิจกรรมการสอนอ่านด้าน
การจาแนกตัวอักษร การอ่าน
เป็นคา การวิเคราะห์คา
6 การสอนอ่าน ร่วมกิจกรรมการสอนอ่านด้าน
ความคล่องแคล่ว และความ
เข้าใจในการอ่าน
กิจกรรมและสื่อการสอน
ด้านการอ่าน
7 การสอนคณิตศาสตร์ ร่วมกิจกรรมการสอน
คณิตศาสตร์ ด้านความรู้สึกเชิง
จานวน เส้นจานวน การนับ
โจทย์ปัญหา Touch Math
กิจกรรมและสื่อการสอน
ด้านคณิตศาสตร์
8 การสอนเขียน ร่วมกิจกรรมการสอนเขียน
การลากเส้น การใช้สีเป็นรหัส
กิจกรรมและสื่อการสอน
ด้านการเขียน
9 ปฏิบัติการประเมินเด็ก ประเมินนักเรียนที่มีปัญหา ผลการประเมิน
72
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน
ที่มีปัญหาทางการ
เรียนรู้
ทางการเรียนรู้ในโรงเรียน
เขียนแผนการจัดการช่วยเหลือ
และผลิตสื่อการสอน
แผนการจัดการ
ช่วยเหลือรายบุคคล
10 - 15 ปฏิบัติการสอนเด็กที่มี
ปัญหาทางการเรียนรู้
ปฏิบัติการสอน จานวน 5 ครั้ง
บันทึกผลการสอนและเขียน
รายงานวิจัย
รายงานการวิจัย
16 นาเสนอผลการสอน
เด็กที่มีปัญหาทางการ
เรียนรู้
นาเสนอผลการวิจัย การนาเสนอผลการวิจัย
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ด้าน/กิจกรรม/ชิ้นงาน รายละเอียดการประเมิน สัปดาห์ที่ คะแนน
1. ใบงานการสืบค้น
ความหมายของเด็กที่มี
ปัญหาทางการเรียนรู้
ความถูกต้องของข้อมูลและการอ้างอิง 2 10
2. การประเมิน
เด็กที่มีปัญหาทาง
การเรียนรู้
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
มีขั้นตอนการประเมิน
สามารถใช้เพื่อการประเมินได้จริง
3 10
3. กิจกรรมการฝึก
การรับรู้
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
มีขั้นตอนของกิจกรรม
สามารถใช้สอนได้
4 10
4. กิจกรรมและสื่อ
การสอนด้านการอ่าน
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
มีขั้นตอนของกิจกรรม
สามารถใช้สอนได้
6 10
5. กิจกรรมและ
สื่อการสอนด้าน
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
มีขั้นตอนของกิจกรรม
7 10
73
คณิตศาสตร์ สามารถใช้สอนได้
6. กิจกรรมและสื่อ
การสอนด้านการเขียน
มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ
มีขั้นตอนของกิจกรรม
สามารถใช้สอนได้
8 10
7. ผลการประเมิน
แผนการจัดการช่วยเหลือ
รายบุคคล
มีผลการประเมิน
แผนการจัดการช่วยเหลือ จานวน 5 แผน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมครบถ้วน
ใช้ในการปฏิบัติการช่วยเหลือได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
9 30
8. รายงานการวิจัยและ
การนาเสนอการวิจัย
มีองค์ประกอบของรายงานการวิจัย
ในชั้นเรียน
การนาเสนอโดยใช้ Power Point
และผู้ฟังเข้าใจรายงาน
16 50
รวม 140
รวมคะแนนเต็มทั้งสิ้น (คะแนนที่ได้ /2) 70
7. พฤติกรรมการเข้าชั้น
เรียน
การเข้าชั้นเรียน ความตรงต่อเวลา พฤติกรรม
ด้านการแต่งกาย การพัฒนาบุคลิกภาพของ
ความเป็นครู
1-16 10
รวมคะแนนเก็บระหว่างภาค (80 คะแนน) 80
คะแนนสอบปลายภาค
1. สอบปรนัย ข้อสอบปรนัยจานวน 40 ข้อ เวลา 30 นาที 20
คะแนนปลายภาค รวม (40 คะแนน/2 = 20 คะแนน) 20
3.เกณฑ์การประเมินผล
ใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย ดังนี้
A 80 -100 คะแนน
B+ 75-79 คะแนน
B 70-74 คะแนน
C+ 65-69 คะแนน
C 60-64 คะแนน
D+ 55-59 คะแนน
D 50-54 คะแนน
F ต่ากว่า 49
74
4. เงื่อนไขและข้อพึงปฏิบัติในการเรียน
1. รายวิชานี้จัดการเรียนที่เน้นทั้งภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัตินักศึกษาจะต้องเข้าชั้นเรียน และทา
กิจกรรมให้ครบถ้วนทุกครั้ง
2. ในกรณีที่นักศึกษามีความจาเป็นจริง ๆ ที่ทาให้ไม่สามารถเข้าชั้นเรียนได้ ขอให้ติดต่อผู้สอนโดย
ด่วนทางโทรศัพท์หรือ เขียนใบลาที่แสดงเหตุผลที่ไม่สามารถมาเรียนได้ การเพิกเฉยโดยไม่ชี้แจงเหตุผลกับ
ผู้สอน จะมีผลกระทบต่อการประเมินผลการเรียน
3. ในการทางานเดี่ยว ขอให้นักศึกษาใช้ความสามารถให้เต็มที่ ในการแสดงให้ผู้สอนเห็นว่าเป็นผู้มี
จริยธรรมในการเรียน มีความพยายาม ซื่อสัตย์ ตรงเวลาและรับผิดชอบ
4. ในการเข้าชั้นเรียนทุกครั้งขอให้นักศึกษา ให้เกียรติและเคารพตนเอง ผู้สอน และสถาบันแห่งนี้
ด้วยการแต่งกายที่เหมาะสมกับความเป็นนักศึกษาครู หากผู้สอนเห็นว่านักศึกษาคนใด
ปฏิบัติตนที่ไม่เหมาะสมในการแต่งกาย ผู้สอนมีสิทธิ์ที่จะเชิญนักศึกษาออกนอกชั้นเรียนเพื่อมิให้
เป็นเยี่ยงอย่างต่อผู้อื่น
5. หากนักศึกษาคนใดมีข้อคับข้องใจในการปฏิบัติตนในการเรียนหรือมีปัญหาใด ๆ ก็ตาม
ขออย่าได้เพิกเฉย ควรปรึกษาผู้สอนทันที

More Related Content

What's hot

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกChainarong Maharak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯYota Bhikkhu
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์Yota Bhikkhu
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)Nicha Nichakorn
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยWichai Likitponrak
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55ไชยยา มะณี
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
Sar สพค56
Sar สพค56Sar สพค56
Sar สพค56
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
 
Abm 429 outline
Abm 429 outlineAbm 429 outline
Abm 429 outline
 
กคศ.+5
กคศ.+5กคศ.+5
กคศ.+5
 
Sar2555 1
Sar2555 1Sar2555 1
Sar2555 1
 
มคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษามคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษา
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
 
การศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8Pa'rig Prig
 
บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1Pa'rig Prig
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7Pa'rig Prig
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 compositionPa'rig Prig
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทPa'rig Prig
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
กลยุทธ์และบริการสารสนเทศ
กลยุทธ์และบริการสารสนเทศกลยุทธ์และบริการสารสนเทศ
กลยุทธ์และบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศออ' เอ ฟอ
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจPa'rig Prig
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentPa'rig Prig
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1Pa'rig Prig
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1Pa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
บทที่ 4.1
บทที่ 4.1บทที่ 4.1
บทที่ 4.1
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 composition
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
กลยุทธ์และบริการสารสนเทศ
กลยุทธ์และบริการสารสนเทศกลยุทธ์และบริการสารสนเทศ
กลยุทธ์และบริการสารสนเทศ
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

Similar to มคอ.3 ld

Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บทpanida428
 
Course syllabus ป.ตรี ฉ3
Course syllabus ป.ตรี ฉ3Course syllabus ป.ตรี ฉ3
Course syllabus ป.ตรี ฉ3sewnipa
 
การอบรม Course syllabus ป.ตรี ฉ3
การอบรม  Course syllabus ป.ตรี ฉ3  การอบรม  Course syllabus ป.ตรี ฉ3
การอบรม Course syllabus ป.ตรี ฉ3 sewnipa
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
FacultyEducationDev.ppt
 FacultyEducationDev.ppt  FacultyEducationDev.ppt
FacultyEducationDev.ppt ajarnjarunee
 
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt
 พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt  พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt Jarunee Maneekul
 
faculty of Education: Trend & Development
faculty of Education: Trend & Developmentfaculty of Education: Trend & Development
faculty of Education: Trend & DevelopmentJarunee Maneekul
 
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]Jarunee Maneekul
 

Similar to มคอ.3 ld (13)

Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
Course syllabus ป.ตรี ฉ3
Course syllabus ป.ตรี ฉ3Course syllabus ป.ตรี ฉ3
Course syllabus ป.ตรี ฉ3
 
การอบรม Course syllabus ป.ตรี ฉ3
การอบรม  Course syllabus ป.ตรี ฉ3  การอบรม  Course syllabus ป.ตรี ฉ3
การอบรม Course syllabus ป.ตรี ฉ3
 
Information gstu61
Information gstu61Information gstu61
Information gstu61
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
FacultyEducationDev.ppt
 FacultyEducationDev.ppt  FacultyEducationDev.ppt
FacultyEducationDev.ppt
 
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt
 พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt  พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1].ppt
 
faculty of Education: Trend & Development
faculty of Education: Trend & Developmentfaculty of Education: Trend & Development
faculty of Education: Trend & Development
 
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]
พัฒนาวิชาการคณะศึกษาฯ[1]
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

มคอ.3 ld

  • 1. 69 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คณะครุศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสวิชา 108342 รายวิชา การช่วยเหลือเฉพาะด้านสาหรับเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ (Specific Intervention for Children with Learning Disabilities) หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 2. จานวนหน่วยกิต 3 (3-0-0) 3. หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ ปี 4 หมู่ 1 4. อาจารย์ผู้สอน ดร.สิริลักษณ์ โปร่งสันเทียะ โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร์ ห้องทางาน สานักงาน ชั้น 2 อาคาร 18 ศูนย์การศึกษาพิเศษ โทรศัพท์ 0-4424-2158, 0-4427-2828 ต่อ 1110 มือถือ 081-6277204 E-mail sprongsantia@yahoo.com 5. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน - ไม่มี- 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน – ไม่มี - 8. สถานที่เรียน อาคาร 18 ห้อง18.305 อาคารศูนย์การศึกษาพิเศษ 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดชุดวิชาครั้งล่าสุด 11 มิถุนายน 2555 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน วิธีการช่วยเหลือ สามารถประเมินความบกพร่องทางการ เรียนรู้เพื่อการจัดการช่วยเหลือ ปฏิบัติการสอนและช่วยเหลือ สามารถเขียนรายงานการสอน
  • 2. 70 และจัดการช่วยเหลือในรูปแบบการวิจัยในชั้นเรียน 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาและปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสอนเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ และการเขียน รายงานการวิจัยในชั้นเรียน หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา กระบวนการเรียนรู้ ปัญหาและข้อจากัดในการเรียนรู้ ปัจจัยส่งเสริม วิธีการฝึกการคิดและ กลวิธีการเรียน วิธีการช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมวุฒิภาวะทางสังคมและพัฒนาการด้านอื่นๆและทาการ สืบค้น นาเสนอสารสนเทศเกี่ยวกับรายวิชาได้ถูกต้อง 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้สอนต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย 32 ชั่วโมง จัดการสอนเสริม สาหรับนักศึกษาที่มี ความบกพร่องทาง การได้ยินและความ บกพร่องทางการเห็น ฝึกปฏิบัติด้านการ จัดการซ่อมเสริม สาหรับเด็กที่มีปัญหา ทางการเรียนรู้ สืบค้นสารสนเทศ เกี่ยวกับวิธีสอนเด็กที่มี ปัญหาทางการเรียนรู้ 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน 1 ปฐมนิเทศ ผู้สอนชี้แจงการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชานี้ เกี่ยวกับ จุดประสงค์รายวิชา กิจกรรม การเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผล ตลอดจนการปฏิบัติ ตนของนักศึกษาอย่างมี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อ แบบสอบถามความ คิดเห็นและความจาเป็น พิเศษของนักศึกษา
  • 3. 71 สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน ความเป็นนักศึกษาครู และ สอบถามความต้องการและ ความจาเป็นพิเศษของนักศึกษา ในการเรียนรายวิชานี้ 2 ความเป็นมาและ ความหมายของปัญหา ทางการเรียนรู้ บรรยายประกอบการใช้ Power Point ใบงานการสืบค้น ความหมายของเด็กที่มี ปัญหาทางการเรียนรู้ 3 การประเมินเด็กที่มี ปัญหาทางการเรียนรู้ สาธิตการประเมินปัญหาทาง การเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติการประเมินปัญหา ทางการเรียนรู้ ออกแบบการประเมิน เด็กที่มีปัญหาทางการ เรียนรู้แบบไม่เป็น ทางการ (Informal assessment) 4 การสอนเด็กที่มีปัญหา ทางการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมการสอนเพื่อ ฝึกการรับรู้ กิจกรรมการฝึกการรับรู้ 5 การสอนอ่าน ร่วมกิจกรรมการสอนอ่านด้าน การจาแนกตัวอักษร การอ่าน เป็นคา การวิเคราะห์คา 6 การสอนอ่าน ร่วมกิจกรรมการสอนอ่านด้าน ความคล่องแคล่ว และความ เข้าใจในการอ่าน กิจกรรมและสื่อการสอน ด้านการอ่าน 7 การสอนคณิตศาสตร์ ร่วมกิจกรรมการสอน คณิตศาสตร์ ด้านความรู้สึกเชิง จานวน เส้นจานวน การนับ โจทย์ปัญหา Touch Math กิจกรรมและสื่อการสอน ด้านคณิตศาสตร์ 8 การสอนเขียน ร่วมกิจกรรมการสอนเขียน การลากเส้น การใช้สีเป็นรหัส กิจกรรมและสื่อการสอน ด้านการเขียน 9 ปฏิบัติการประเมินเด็ก ประเมินนักเรียนที่มีปัญหา ผลการประเมิน
  • 4. 72 สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน ที่มีปัญหาทางการ เรียนรู้ ทางการเรียนรู้ในโรงเรียน เขียนแผนการจัดการช่วยเหลือ และผลิตสื่อการสอน แผนการจัดการ ช่วยเหลือรายบุคคล 10 - 15 ปฏิบัติการสอนเด็กที่มี ปัญหาทางการเรียนรู้ ปฏิบัติการสอน จานวน 5 ครั้ง บันทึกผลการสอนและเขียน รายงานวิจัย รายงานการวิจัย 16 นาเสนอผลการสอน เด็กที่มีปัญหาทางการ เรียนรู้ นาเสนอผลการวิจัย การนาเสนอผลการวิจัย 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ด้าน/กิจกรรม/ชิ้นงาน รายละเอียดการประเมิน สัปดาห์ที่ คะแนน 1. ใบงานการสืบค้น ความหมายของเด็กที่มี ปัญหาทางการเรียนรู้ ความถูกต้องของข้อมูลและการอ้างอิง 2 10 2. การประเมิน เด็กที่มีปัญหาทาง การเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ มีขั้นตอนการประเมิน สามารถใช้เพื่อการประเมินได้จริง 3 10 3. กิจกรรมการฝึก การรับรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ มีขั้นตอนของกิจกรรม สามารถใช้สอนได้ 4 10 4. กิจกรรมและสื่อ การสอนด้านการอ่าน มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ มีขั้นตอนของกิจกรรม สามารถใช้สอนได้ 6 10 5. กิจกรรมและ สื่อการสอนด้าน มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ มีขั้นตอนของกิจกรรม 7 10
  • 5. 73 คณิตศาสตร์ สามารถใช้สอนได้ 6. กิจกรรมและสื่อ การสอนด้านการเขียน มีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ มีขั้นตอนของกิจกรรม สามารถใช้สอนได้ 8 10 7. ผลการประเมิน แผนการจัดการช่วยเหลือ รายบุคคล มีผลการประเมิน แผนการจัดการช่วยเหลือ จานวน 5 แผน ขั้นตอนการจัดกิจกรรมครบถ้วน ใช้ในการปฏิบัติการช่วยเหลือได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 9 30 8. รายงานการวิจัยและ การนาเสนอการวิจัย มีองค์ประกอบของรายงานการวิจัย ในชั้นเรียน การนาเสนอโดยใช้ Power Point และผู้ฟังเข้าใจรายงาน 16 50 รวม 140 รวมคะแนนเต็มทั้งสิ้น (คะแนนที่ได้ /2) 70 7. พฤติกรรมการเข้าชั้น เรียน การเข้าชั้นเรียน ความตรงต่อเวลา พฤติกรรม ด้านการแต่งกาย การพัฒนาบุคลิกภาพของ ความเป็นครู 1-16 10 รวมคะแนนเก็บระหว่างภาค (80 คะแนน) 80 คะแนนสอบปลายภาค 1. สอบปรนัย ข้อสอบปรนัยจานวน 40 ข้อ เวลา 30 นาที 20 คะแนนปลายภาค รวม (40 คะแนน/2 = 20 คะแนน) 20 3.เกณฑ์การประเมินผล ใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย ดังนี้ A 80 -100 คะแนน B+ 75-79 คะแนน B 70-74 คะแนน C+ 65-69 คะแนน C 60-64 คะแนน D+ 55-59 คะแนน D 50-54 คะแนน F ต่ากว่า 49
  • 6. 74 4. เงื่อนไขและข้อพึงปฏิบัติในการเรียน 1. รายวิชานี้จัดการเรียนที่เน้นทั้งภาคทฤษฎีและการฝึกปฏิบัตินักศึกษาจะต้องเข้าชั้นเรียน และทา กิจกรรมให้ครบถ้วนทุกครั้ง 2. ในกรณีที่นักศึกษามีความจาเป็นจริง ๆ ที่ทาให้ไม่สามารถเข้าชั้นเรียนได้ ขอให้ติดต่อผู้สอนโดย ด่วนทางโทรศัพท์หรือ เขียนใบลาที่แสดงเหตุผลที่ไม่สามารถมาเรียนได้ การเพิกเฉยโดยไม่ชี้แจงเหตุผลกับ ผู้สอน จะมีผลกระทบต่อการประเมินผลการเรียน 3. ในการทางานเดี่ยว ขอให้นักศึกษาใช้ความสามารถให้เต็มที่ ในการแสดงให้ผู้สอนเห็นว่าเป็นผู้มี จริยธรรมในการเรียน มีความพยายาม ซื่อสัตย์ ตรงเวลาและรับผิดชอบ 4. ในการเข้าชั้นเรียนทุกครั้งขอให้นักศึกษา ให้เกียรติและเคารพตนเอง ผู้สอน และสถาบันแห่งนี้ ด้วยการแต่งกายที่เหมาะสมกับความเป็นนักศึกษาครู หากผู้สอนเห็นว่านักศึกษาคนใด ปฏิบัติตนที่ไม่เหมาะสมในการแต่งกาย ผู้สอนมีสิทธิ์ที่จะเชิญนักศึกษาออกนอกชั้นเรียนเพื่อมิให้ เป็นเยี่ยงอย่างต่อผู้อื่น 5. หากนักศึกษาคนใดมีข้อคับข้องใจในการปฏิบัติตนในการเรียนหรือมีปัญหาใด ๆ ก็ตาม ขออย่าได้เพิกเฉย ควรปรึกษาผู้สอนทันที