SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( มคอ. )
รหัสวิชา วท 011003
ชื่อวิชา ฟิ สิกส์ทั่วไป ( General Physic )
3 ( 2 - 2 - 5 )
ประจาปีการศึกษา 1/ 2556
ผู้สอน
อาจารย์ญาติกา โชติชัชวาลกุล
มคอ.3
1
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี
วิทยาเขต/คณะ / ภาควิชา วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา วท 011003 ฟิสิกส์ทั่วไป
2.จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต ( 2- 2 -5)
3.หลักสูตรและประเภทรายวิชา วิทยาศาสตรบัณฑิต
กลุ่มวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ญาติกา โชติชัชวาลกุล
5.ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน 1/2556 ชั้นปีที่2
6. รายวิชาที่เรียนมาก่อน ( Pre– requisite) -
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co–requisites) -
8. สถานที่เรียน คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตอุดรธานี
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าชุด 1 พฤษภาคม 2556
มคอ.3
2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการของ มวล แรง การเคลื่อนที่ และสามารถบอกคุณสมบัติบาง
ประการของแสง เสียง ความร้อน รังสี คลื่น ไฟฟ้า พลังงานรวมทั้งปฏิบัติการในเนื้อหารายวิชาที่
เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา / ปรับปรุงรายวิชา
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ มวล แรง และการเคลื่อนที่
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกคุณสมบัติบางประการของ แสง เสียง ความร้อน รังสี
คลื่นไฟฟ้า
3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะทางการคานวณเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในวิชาฟิสิกส์
4. เพื่อให้สามารถนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การประกอบ
อาชีพ และการดารงชีพด้านต่าง ๆ ต่อไป
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาหลักการทางฟิสิกส์ มวล แรงและการเคลื่อนที่ สมบัติของแสง เสียง ความร้อน
รังสี คลื่น ไฟฟ้า พลังงานและปฏิบัติการในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง
32 คาบ - 32 คาบ 80 คาบ
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
จัดตารางเวลา 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพื่อให้นักศึกษาทราบและขอรับคาแนะนาปรึกษาเพิ่มเติม
มคอ.3
3
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1 พัฒนานักศึกษาให้มีวินัย ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเอง
วิชาชีพและสังคม
1.1.2 นักศึกษาสามารถแสดงความซื่อสัตย์ สุจริตอย่างสม่าเสมอ
1.2 วิธีการสอน
1.2.1 บรรยาย อธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับผู้ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรม พร้อม
ทั้งกาหนดการแต่งกายตามระเบียบห้องปฏิบัติการ และหลักเกณฑ์ในการเรียน เช่น
การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาอย่างสม่าเสมอมี
บุคลิกภาพที่ดีทั้งกาย วาจา และจิตใจ รักษาระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี ไม่ทุจริตในการสอบ
1.2.2 ให้ทางานกลุ่ม / อภิปรายกลุ่ม / ปฏิบัติงานตามมอบหมายในหัวข้อ
ของรายวิชา
1.2.3 ใช้วิธีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ยกตัวอย่างประกอบ ขณะทา
การสอน
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในเรื่องการมาเรียน การแต่งกาย
การเข้าชั้นเรียน ตรงเวลา ความตั้งใจ ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทันตาม
ระยะเวลาที่กาหนด
1.3.2 ประเมินผลการอภิปรายจากการทางานร่วมกันเป็นทีม / ความเป็นผู้นาผู้ตาม
มีการเตรียมงานมีการวางแผนงาน มีความรอบคอบในการปฏิบัติงาน
มคอ.3
4
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 นักศึกษาสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์
การกีฬา
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 การบรรยาย อภิปรายร่วมกันจากการศึกษาเนื้อหาความรู้จากใบความรู้
เอกสารตาราและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าจากบทความหนังสือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องโดยนามาสรุปและนาเสนอ อภิปราย ในกลุ่มของตนเองแล้วสรุปผล
นาเสนอหน้าชั้นเรียนร่วมอภิปรายเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่ม
2.2.3 สาธิตการแสดงการคานวณ แนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ค่อนข้าง
เข้าใจยากร่วมกัน
2.2.4 ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการตามเนื้อหาที่เหมาะสม
2.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
- การทดสอบย่อย
- การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
- ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทา
- ประเมินผลจากแผนหรือโครงการที่นาเสนอ
- ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
มคอ.3
5
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.1.1 พัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ที่มีความใฝ่หาความรู้
3.1.2 นักศึกษาสามารถแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์การกีฬาได้โดยนาหลักการ
ต่าง ๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 ฝึกให้นักศึกษาทางานเป็นกลุ่ม ค้นคว้าจากเอกสารประกอบการสอน
วิชาฟิสิกส์ทั่วไป ใบความรู้ของเนื้อหาย่อยและเอกสารตาราอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.2.2 ศึกษาโดยอ่านทาความเข้าใจมาล่วงหน้าก่อนเข้าชั้นเรียน และพยายามตั้ง
คาถามคาตอบ สรุปใจความสาคัญจากการอ่านไว้ในสมุดโน้ตเล่มเล็กๆ
3.2.3 ศึกษาทาความเข้าใจ สรุปอภิปรายและสาธิตการปฏิบัติจากอุปกรณ์ที่
เตรียมไว้ให้
3.2.4 ฟังการอธิบายเพิ่มเติมจากผู้สอน ซักถามข้อสงสัย
3.2.5 ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม ภายในชั้นเรียน ตลอดจนการทางานตามใบ
กิจกรรม ใบงานที่แจกทั้งในรายกลุ่มและรายบุคคล
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
3.3.2 การเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกในการ
ร่วมกิจกรรมต่างๆ
มคอ.3
6
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
4.1.1 นักศึกษาสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.1.2 นักศึกษามีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 การมอบหมายงาน และกิจกรรมให้นักศึกษาทาเป็นบุคคลและเป็นกลุ่ม
4.2.2 ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่มภายในชั้นเรียน ตลอดจนการทางานตามใบ
กิจกรรม ใบงานที่แจกทั้งในรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 ศึกษาทาความเข้าใจ สรุปอภิปรายและสาธิตการปฏิบัติจากอุปกรณ์ที่
เตรียมไว้ให้ พร้อมสรุปนาเสนอร่วมอภิปรายผล
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ประเมินจากกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม
4.3.2 การร่วมกิจกรรมการทดลองและสรุปผล
4.3.3 สังเกตจากขั้นตอนการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.4 ทดสอบท้ายคาบ
มคอ.3
7
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่
ต้องพัฒนา เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์เชิง
ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงจัดให้มีการพัฒนาทักษะ
ด้านต่างๆดังนี้
5.1.1 นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลและนาเสนอรายงานได้อย่างถูกต้อง
5.1.2 นักศึกษามีทักษะการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษในการอธิบาย
หลักการและสถานการณ์ ตลอดจนการสื่อสารความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาค้นคว้าจากบทความ ข้อมูลต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องจากเอกสารตารา และเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเสนอหน้าชั้นเรียนร่วมอภิปรายเป็น
รายบุคคล และเป็นรายกลุ่ม
5.2.2 การบรรยาย อภิปรายร่วมกันจากการศึกษาเนื้อหาความรู้จากใบความรู้
เอกสารตาราและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
5.2.3 ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ตามเนื้อหาที่กาหนดให้แล้วสรุป
พร้อมนาเสนอในรูปแบบของ power point
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากกิจกรรมโครงการที่นาเสนอ
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการใช้ภาษา อธิบายและบรรยาย
มคอ.3
8
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช้
ผู้สอน
1 บทที่1 บทนา
1.1 เครื่องมือวัดทาง
วิทยาศาสตร์
1.2 เลขนัยสาคัญ
1.3 ระบบหน่วยระหว่างชาติ
1.4 การบันทึกปริมาณที่มีค่า
มากหรือน้อย
1.5 ปริมาณเกลาร์และ
ปริมาณเวคเตอร์
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
2 บทที่2 มวล แรงและกฎการ
เคลื่อนที่
2.1 มวล ความเฉื่อย แรงและ
น้าหนัก
2.2 กฎการเคลื่อนที่ของนิว
ตัน
2.2.1 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่
หนึ่งของนิวตัน
2.2.2 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่
สองของนิวตัน
2.2.3 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่
สามของนิวตัน
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
3 บทที่2 มวล แรงและกฎการ
เคลื่อนที่
2.3 การใช้กฎการเคลื่อนที่
ของนิวตันและการ
คานวณ
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
มคอ.3
9
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช้
ผู้สอน
4 บทที่3 แสง
3.1 ธรรมชาติของแสง
3.2 การเคลื่อนที่และอัตราเร็ว
ของแสง
3.3 สมบัติบางประการของ
แสง
3.3.1การสะท้อนแสง
3.3.2 การหักเหของแสง
3.3.3 การเลี้ยวเบนของแสง
3.3.4 การแทรกสอดของแสง
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
5 บทที่3 แสง
3.4 เลนส์
3.5ทัศนูปกรณ์
3.6ตาและการมองเห็นสี
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
6 บทที่4 เสียง
4.1 ธรรมชาติของเสียง
4.2 สมบัติของเสียง
4.2.1 การสะท้อนและ
การหักเหของเสียง
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
มคอ.3
10
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช้
ผู้สอน
7 บทที่4 เสียง
4.3 ความเข้มเสียงและ
ระดับความเข้มเสียง
4.4 การได้ยิน
4.5 การนาความรู้เรื่องเสียง
ไปใช้ประโยชน์
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
8 ทดสอบกลางภาค
- สอบข้อเขียน
- สอบปฏิบัติ
4 อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
9 บทที่5 ความร้อน
5.1 ความร้อนและอุณหภูมิ
5.2 ความจุความร้อนและ
ความจุความร้อนจาเพาะ
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
10 บทที่5 ความร้อน
5.3 การเปลี่ยนสถานะของสาร
และความร้อนแฝง
5.4 การถ่ายโอนความร้อน
5.4.1 การนาความร้อน
5.4.2 การพาความร้อน
5.4.3 การแผ่รังสีความร้อน
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
มคอ.3
11
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช้
ผู้สอน
11 บทที่ 6 รังสีและคลื่น
6.1 อะตอม
6.2 กัมมันตภาพรังสี
6.3 ประโยชน์และโทษของ
กัมมันตภาพรังสี
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
12 บทที่ 6 รังสีและคลื่น
6.4 คลื่นและการจาแนก
คลื่น
6.5 ส่วนประกอบของคลื่น
6.6 สมบัติที่สาคัญของคลื่น
6.7 ฟิสิกส์กับคลื่นสึนามิ
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
13 บทที่ 7 ไฟฟ้ า
7.1 แรงเคลื่อนไฟฟ้าและ
แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
7.2 กฎของโอห์ม
7.3 การต่อตัวต้านทาน
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
มคอ.3
12
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช้
ผู้สอน
14 บทที่ 7 ไฟฟ้ า
7.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้า
7.5 วงจรไฟฟ้าและ
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติ
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
15 บทที่8 พลังงาน
8.1พลังงานจลน์
8.2พลังงานศักย์
8.3 กฎการอนุรักษ์พลังงาน
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
16 บทที่8 พลังงาน
8.4แหล่งพลังงาน
8.5 พลังงานนิวเคลียร์
4 1. บรรยาย
2. กลุ่มสัมพันธ์
3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้
4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ
สังเกตจากธรรมชาติและสรุป
ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น
5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
17 สอบปลายภาค
- สอบข้อเขียน
- สอบปฏิบัติ
4 อ.ญาติกา
โชติชัชวาลกุล
มคอ.3
13
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่ กิจกรรมการประเมิน กาหนดการประเมิน
สัปดาห์ที่
สัดส่วนการ
ประเมินผลปลาย
ภาค
1 งานที่ได้รับมอบหมาย/นาเสนอ
รายงานหน้าชั้นเรียนรายบุคคล / กลุ่ม
2 4 6 8 10 12 14 20
2 อภิปรายและการมีส่วนร่วม 1 3 5 7 9 11 10
3 ใบกิจกรรม ใบงาน 4 8 10 10
4 ทดสอบย่อย 4 6 8 30
5 สอบปลายภาค 17 30
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
จุฬาลักษณ์ สุริยพัฒนพงศ์.(2553) เอกสารประกอบการสอน ฟิสิกส์ทั่วไป
http://th.wikipedia.org/wiki/
http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/electron-structure/electron-structure.htm
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ 1 ว 422. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภ ลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ เล่ม 1 ว 422. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). วิชาฟิสิกส์ เล่ม 5ว 024. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). วิชาฟิสิกส์ เล่ม5ว 029. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ช่วง ทมทิตชงค์. และคณะ. ฟิสิกส์ 1ว 422. นนทบุรี : เทพเนรมิตการพิมพ์.
นิรันดร์ สุวรัตน์.(2543). ฟิสิกส์ ม. 4 ว 422. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาสน์.
นิรันดร์ สุวรัตน์. (2542). ฟิสิกส์ ม.4 ว 026. กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์พัฒนาศึกษา.
ไพโรจน์ ตีรณธนากุลและทวีศักดิ์ แก้วซิม. (2538). ฟิสิกส์พื้นฐาน “กลศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง)”
กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
มคอ.3
14
ภาควิชาฟิสิกส์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2542). ฟิสิกส์ทั่วไป 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมพงษ์ ใจดี. (2542). ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิด
และความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
- ให้นักศึกษาทุกคนทาแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ให้นักศึกษาแสดงข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินการสอน เพื่อประเมินว่าผู้เรียนมีความเข้าใจในทุกๆ
หัวข้อหรือไม่จะพิจารณาจากตัวผู้เรียนดังนี้
- ประเมินจากการทดสอบย่อย
- ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
- ประเมินจากการตอบคาถามของนักศึกษาในชั้นเรียน
- ประเมินจากการทาโครงงานที่นักศึกษานาเสนอ
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 หากพบว่าวิธีการที่ใช้สอนไม่สามารถทา
ให้ผู้เรียนเข้าใจได้ก็ต้องปรับเปลี่ยนวิธีสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหา
ข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
มคอ.3
15
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ
ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังจากการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวน
ผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดย
อาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
- มีการแต่งตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียน
รู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ
และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมินจะทาให้ทราบปัญหาของการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
กรณีที่พบปัญหาก็จะสามารถดาเนินการปรับปรุงการเรียนการสอนได้ทันที ซึ่งก็จะเป็นการ
ปรับปรุงย่อยซึ่งจะกระทาตลอดเวลาที่พบปัญหา และการปรับปรุงเนื้อหาวิชาใหม่ทุกๆ

More Related Content

What's hot

มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55ไชยยา มะณี
 
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬามคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนเทพลีลา
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์Wongvian Wongkaso
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมtanakit pintong
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกChalit Arm'k
 
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 

What's hot (20)

มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
 
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬามคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
 
การศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณีการศึกษารายกรณี
การศึกษารายกรณี
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยดาวเทียมไทยคม
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 

Viewers also liked

เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันApinya Phuadsing
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันชิตชัย โพธิ์ประภา
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 

Viewers also liked (13)

เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
P03
P03P03
P03
 
123
123123
123
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ม4
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 

Similar to มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพมคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพไชยยา มะณี
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2ไชยยา มะณี
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558Sircom Smarnbua
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdfมคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdfTeerawutSavangboon
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1Wichai Likitponrak
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 

Similar to มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา (20)

มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพมคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdfมคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
มคอ3ระบบการควบคุมControlSystems.pdf
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1การแนะนำบทเรียน ม6-1
การแนะนำบทเรียน ม6-1
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 

More from ไชยยา มะณี

ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ไชยยา มะณี
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
 

More from ไชยยา มะณี (9)

ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
 
ประกาศ
ประกาศประกาศ
ประกาศ
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
 
พิสิษฐ์
พิสิษฐ์พิสิษฐ์
พิสิษฐ์
 
ตุลา 1
ตุลา 1ตุลา 1
ตุลา 1
 
แผน 2555 เทอม 2
แผน  2555 เทอม 2แผน  2555 เทอม 2
แผน 2555 เทอม 2
 
111
111111
111
 
แผน 2555 เทอม 2
แผน  2555 เทอม 2แผน  2555 เทอม 2
แผน 2555 เทอม 2
 

มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา

  • 1. สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( มคอ. ) รหัสวิชา วท 011003 ชื่อวิชา ฟิ สิกส์ทั่วไป ( General Physic ) 3 ( 2 - 2 - 5 ) ประจาปีการศึกษา 1/ 2556 ผู้สอน อาจารย์ญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 2. มคอ.3 1 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี วิทยาเขต/คณะ / ภาควิชา วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา วท 011003 ฟิสิกส์ทั่วไป 2.จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต ( 2- 2 -5) 3.หลักสูตรและประเภทรายวิชา วิทยาศาสตรบัณฑิต กลุ่มวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ญาติกา โชติชัชวาลกุล 5.ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน 1/2556 ชั้นปีที่2 6. รายวิชาที่เรียนมาก่อน ( Pre– requisite) - 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co–requisites) - 8. สถานที่เรียน คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตอุดรธานี 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าชุด 1 พฤษภาคม 2556
  • 3. มคอ.3 2 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการของ มวล แรง การเคลื่อนที่ และสามารถบอกคุณสมบัติบาง ประการของแสง เสียง ความร้อน รังสี คลื่น ไฟฟ้า พลังงานรวมทั้งปฏิบัติการในเนื้อหารายวิชาที่ เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา / ปรับปรุงรายวิชา 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ มวล แรง และการเคลื่อนที่ 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกคุณสมบัติบางประการของ แสง เสียง ความร้อน รังสี คลื่นไฟฟ้า 3. เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะทางการคานวณเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในวิชาฟิสิกส์ 4. เพื่อให้สามารถนาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การประกอบ อาชีพ และการดารงชีพด้านต่าง ๆ ต่อไป หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการทางฟิสิกส์ มวล แรงและการเคลื่อนที่ สมบัติของแสง เสียง ความร้อน รังสี คลื่น ไฟฟ้า พลังงานและปฏิบัติการในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง 32 คาบ - 32 คาบ 80 คาบ 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล จัดตารางเวลา 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพื่อให้นักศึกษาทราบและขอรับคาแนะนาปรึกษาเพิ่มเติม
  • 4. มคอ.3 3 หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.1.1 พัฒนานักศึกษาให้มีวินัย ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.1.2 นักศึกษาสามารถแสดงความซื่อสัตย์ สุจริตอย่างสม่าเสมอ 1.2 วิธีการสอน 1.2.1 บรรยาย อธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับผู้ที่มีคุณธรรม มีจริยธรรม พร้อม ทั้งกาหนดการแต่งกายตามระเบียบห้องปฏิบัติการ และหลักเกณฑ์ในการเรียน เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาอย่างสม่าเสมอมี บุคลิกภาพที่ดีทั้งกาย วาจา และจิตใจ รักษาระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี ไม่ทุจริตในการสอบ 1.2.2 ให้ทางานกลุ่ม / อภิปรายกลุ่ม / ปฏิบัติงานตามมอบหมายในหัวข้อ ของรายวิชา 1.2.3 ใช้วิธีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ยกตัวอย่างประกอบ ขณะทา การสอน 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในเรื่องการมาเรียน การแต่งกาย การเข้าชั้นเรียน ตรงเวลา ความตั้งใจ ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทันตาม ระยะเวลาที่กาหนด 1.3.2 ประเมินผลการอภิปรายจากการทางานร่วมกันเป็นทีม / ความเป็นผู้นาผู้ตาม มีการเตรียมงานมีการวางแผนงาน มีความรอบคอบในการปฏิบัติงาน
  • 5. มคอ.3 4 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 นักศึกษาสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์ การกีฬา 2.2 วิธีการสอน 2.2.1 การบรรยาย อภิปรายร่วมกันจากการศึกษาเนื้อหาความรู้จากใบความรู้ เอกสารตาราและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าจากบทความหนังสือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องโดยนามาสรุปและนาเสนอ อภิปราย ในกลุ่มของตนเองแล้วสรุปผล นาเสนอหน้าชั้นเรียนร่วมอภิปรายเป็นรายบุคคลและเป็นรายกลุ่ม 2.2.3 สาธิตการแสดงการคานวณ แนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ค่อนข้าง เข้าใจยากร่วมกัน 2.2.4 ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการตามเนื้อหาที่เหมาะสม 2.3 วิธีการประเมินผล ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ - การทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทา - ประเมินผลจากแผนหรือโครงการที่นาเสนอ - ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
  • 6. มคอ.3 5 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.1.1 พัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ที่มีความใฝ่หาความรู้ 3.1.2 นักศึกษาสามารถแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์การกีฬาได้โดยนาหลักการ ต่าง ๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 ฝึกให้นักศึกษาทางานเป็นกลุ่ม ค้นคว้าจากเอกสารประกอบการสอน วิชาฟิสิกส์ทั่วไป ใบความรู้ของเนื้อหาย่อยและเอกสารตาราอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.2.2 ศึกษาโดยอ่านทาความเข้าใจมาล่วงหน้าก่อนเข้าชั้นเรียน และพยายามตั้ง คาถามคาตอบ สรุปใจความสาคัญจากการอ่านไว้ในสมุดโน้ตเล่มเล็กๆ 3.2.3 ศึกษาทาความเข้าใจ สรุปอภิปรายและสาธิตการปฏิบัติจากอุปกรณ์ที่ เตรียมไว้ให้ 3.2.4 ฟังการอธิบายเพิ่มเติมจากผู้สอน ซักถามข้อสงสัย 3.2.5 ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม ภายในชั้นเรียน ตลอดจนการทางานตามใบ กิจกรรม ใบงานที่แจกทั้งในรายกลุ่มและรายบุคคล 3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา 3.3.2 การเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกในการ ร่วมกิจกรรมต่างๆ
  • 7. มคอ.3 6 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 4.1.1 นักศึกษาสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 4.1.2 นักศึกษามีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 การมอบหมายงาน และกิจกรรมให้นักศึกษาทาเป็นบุคคลและเป็นกลุ่ม 4.2.2 ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่มภายในชั้นเรียน ตลอดจนการทางานตามใบ กิจกรรม ใบงานที่แจกทั้งในรายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.3 ศึกษาทาความเข้าใจ สรุปอภิปรายและสาธิตการปฏิบัติจากอุปกรณ์ที่ เตรียมไว้ให้ พร้อมสรุปนาเสนอร่วมอภิปรายผล 4.3 วิธีการประเมินผล 4.3.1 ประเมินจากกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม 4.3.2 การร่วมกิจกรรมการทดลองและสรุปผล 4.3.3 สังเกตจากขั้นตอนการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 4.3.4 ทดสอบท้ายคาบ
  • 8. มคอ.3 7 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ ต้องพัฒนา เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงจัดให้มีการพัฒนาทักษะ ด้านต่างๆดังนี้ 5.1.1 นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวม ข้อมูลและนาเสนอรายงานได้อย่างถูกต้อง 5.1.2 นักศึกษามีทักษะการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษในการอธิบาย หลักการและสถานการณ์ ตลอดจนการสื่อสารความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาค้นคว้าจากบทความ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องจากเอกสารตารา และเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเสนอหน้าชั้นเรียนร่วมอภิปรายเป็น รายบุคคล และเป็นรายกลุ่ม 5.2.2 การบรรยาย อภิปรายร่วมกันจากการศึกษาเนื้อหาความรู้จากใบความรู้ เอกสารตาราและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 5.2.3 ฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ตามเนื้อหาที่กาหนดให้แล้วสรุป พร้อมนาเสนอในรูปแบบของ power point 5.3 วิธีการประเมินผล 5.3.1 ประเมินจากกิจกรรมโครงการที่นาเสนอ 5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการใช้ภาษา อธิบายและบรรยาย
  • 9. มคอ.3 8 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 บทที่1 บทนา 1.1 เครื่องมือวัดทาง วิทยาศาสตร์ 1.2 เลขนัยสาคัญ 1.3 ระบบหน่วยระหว่างชาติ 1.4 การบันทึกปริมาณที่มีค่า มากหรือน้อย 1.5 ปริมาณเกลาร์และ ปริมาณเวคเตอร์ 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 2 บทที่2 มวล แรงและกฎการ เคลื่อนที่ 2.1 มวล ความเฉื่อย แรงและ น้าหนัก 2.2 กฎการเคลื่อนที่ของนิว ตัน 2.2.1 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ หนึ่งของนิวตัน 2.2.2 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ สองของนิวตัน 2.2.3 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ สามของนิวตัน 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 3 บทที่2 มวล แรงและกฎการ เคลื่อนที่ 2.3 การใช้กฎการเคลื่อนที่ ของนิวตันและการ คานวณ 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 10. มคอ.3 9 สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 4 บทที่3 แสง 3.1 ธรรมชาติของแสง 3.2 การเคลื่อนที่และอัตราเร็ว ของแสง 3.3 สมบัติบางประการของ แสง 3.3.1การสะท้อนแสง 3.3.2 การหักเหของแสง 3.3.3 การเลี้ยวเบนของแสง 3.3.4 การแทรกสอดของแสง 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 5 บทที่3 แสง 3.4 เลนส์ 3.5ทัศนูปกรณ์ 3.6ตาและการมองเห็นสี 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 6 บทที่4 เสียง 4.1 ธรรมชาติของเสียง 4.2 สมบัติของเสียง 4.2.1 การสะท้อนและ การหักเหของเสียง 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 11. มคอ.3 10 สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 7 บทที่4 เสียง 4.3 ความเข้มเสียงและ ระดับความเข้มเสียง 4.4 การได้ยิน 4.5 การนาความรู้เรื่องเสียง ไปใช้ประโยชน์ 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 8 ทดสอบกลางภาค - สอบข้อเขียน - สอบปฏิบัติ 4 อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 9 บทที่5 ความร้อน 5.1 ความร้อนและอุณหภูมิ 5.2 ความจุความร้อนและ ความจุความร้อนจาเพาะ 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 10 บทที่5 ความร้อน 5.3 การเปลี่ยนสถานะของสาร และความร้อนแฝง 5.4 การถ่ายโอนความร้อน 5.4.1 การนาความร้อน 5.4.2 การพาความร้อน 5.4.3 การแผ่รังสีความร้อน 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 12. มคอ.3 11 สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 11 บทที่ 6 รังสีและคลื่น 6.1 อะตอม 6.2 กัมมันตภาพรังสี 6.3 ประโยชน์และโทษของ กัมมันตภาพรังสี 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 12 บทที่ 6 รังสีและคลื่น 6.4 คลื่นและการจาแนก คลื่น 6.5 ส่วนประกอบของคลื่น 6.6 สมบัติที่สาคัญของคลื่น 6.7 ฟิสิกส์กับคลื่นสึนามิ 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 13 บทที่ 7 ไฟฟ้ า 7.1 แรงเคลื่อนไฟฟ้าและ แหล่งกาเนิดไฟฟ้า 7.2 กฎของโอห์ม 7.3 การต่อตัวต้านทาน 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 13. มคอ.3 12 สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 14 บทที่ 7 ไฟฟ้ า 7.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 7.5 วงจรไฟฟ้าและ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติ 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 15 บทที่8 พลังงาน 8.1พลังงานจลน์ 8.2พลังงานศักย์ 8.3 กฎการอนุรักษ์พลังงาน 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 16 บทที่8 พลังงาน 8.4แหล่งพลังงาน 8.5 พลังงานนิวเคลียร์ 4 1. บรรยาย 2. กลุ่มสัมพันธ์ 3.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการใช้อุปกรณ์ที่กาหนดให้ 4.เน้นให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้โดยการ สังเกตจากธรรมชาติและสรุป ปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น 5.ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล 17 สอบปลายภาค - สอบข้อเขียน - สอบปฏิบัติ 4 อ.ญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 14. มคอ.3 13 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ กิจกรรมการประเมิน กาหนดการประเมิน สัปดาห์ที่ สัดส่วนการ ประเมินผลปลาย ภาค 1 งานที่ได้รับมอบหมาย/นาเสนอ รายงานหน้าชั้นเรียนรายบุคคล / กลุ่ม 2 4 6 8 10 12 14 20 2 อภิปรายและการมีส่วนร่วม 1 3 5 7 9 11 10 3 ใบกิจกรรม ใบงาน 4 8 10 10 4 ทดสอบย่อย 4 6 8 30 5 สอบปลายภาค 17 30 หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตาราและเอกสารหลัก จุฬาลักษณ์ สุริยพัฒนพงศ์.(2553) เอกสารประกอบการสอน ฟิสิกส์ทั่วไป http://th.wikipedia.org/wiki/ http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/electron-structure/electron-structure.htm 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ 1 ว 422. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภ ลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ เล่ม 1 ว 422. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). วิชาฟิสิกส์ เล่ม 5ว 024. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). วิชาฟิสิกส์ เล่ม5ว 029. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ช่วง ทมทิตชงค์. และคณะ. ฟิสิกส์ 1ว 422. นนทบุรี : เทพเนรมิตการพิมพ์. นิรันดร์ สุวรัตน์.(2543). ฟิสิกส์ ม. 4 ว 422. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาสน์. นิรันดร์ สุวรัตน์. (2542). ฟิสิกส์ ม.4 ว 026. กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์พัฒนาศึกษา. ไพโรจน์ ตีรณธนากุลและทวีศักดิ์ แก้วซิม. (2538). ฟิสิกส์พื้นฐาน “กลศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง)” กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
  • 15. มคอ.3 14 ภาควิชาฟิสิกส์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2542). ฟิสิกส์ทั่วไป 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมพงษ์ ใจดี. (2542). ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิด และความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้ - ให้นักศึกษาทุกคนทาแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - ให้นักศึกษาแสดงข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินการสอน เพื่อประเมินว่าผู้เรียนมีความเข้าใจในทุกๆ หัวข้อหรือไม่จะพิจารณาจากตัวผู้เรียนดังนี้ - ประเมินจากการทดสอบย่อย - ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา - ประเมินจากการตอบคาถามของนักศึกษาในชั้นเรียน - ประเมินจากการทาโครงงานที่นักศึกษานาเสนอ 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 หากพบว่าวิธีการที่ใช้สอนไม่สามารถทา ให้ผู้เรียนเข้าใจได้ก็ต้องปรับเปลี่ยนวิธีสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหา ข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  • 16. มคอ.3 15 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังจากการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวน ผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดย อาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียน รู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินจะทาให้ทราบปัญหาของการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา กรณีที่พบปัญหาก็จะสามารถดาเนินการปรับปรุงการเรียนการสอนได้ทันที ซึ่งก็จะเป็นการ ปรับปรุงย่อยซึ่งจะกระทาตลอดเวลาที่พบปัญหา และการปรับปรุงเนื้อหาวิชาใหม่ทุกๆ