SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
งานระบบสายไฟฟ้ า
ภายในอาคาร
555261 Building System Equipment 3(2-2-5)
แหล่งไฟฟ้า
• การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย : กฟผ.
– ทาหน้าที่ผลิตกระแสไฟฟ้า ได้ไฟฟ้าแรงดันสูงเพื่อสะดวกต่อการขนส่งไปในที่
ห่างไกล
• การไฟฟ้านครหลวง : กฟน.
– ซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ. และจาหน่ายแก่ประชาชนในพื้นที่ กทม. และปริมณฑล
• การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค : กฟภ.
– ซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ. และจาหน่ายแก่ประชาชนในพื้นที่ต่างจังหวัด
• ไฟฟ้าที่ผลิตได้ต้องมีการเพิ่มแรงดันไฟฟ้า เพื่อให้สามารถส่งไปได้ไกล
ขึ้น
• เมื่อเข้าใกล้ตัวเมืองจะมีการแปลงให้แรงดันไฟฟ้าลดลงเพื่อความ
ปลอดภัย
• และแปลงให้เหมาะสมกับการใช้งานของอาคารประเภทต่างๆ
230,000 V
13,800 V
69,000 V
12,000 V
220 V
380 V
220 V
• คาศัพท์เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า
– ระบบไฟฟ้าแรงสูง คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า เกิน 1,000 โวลท์
– ระบบไฟฟ้าแรงต่า คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 1,000 โวลท์
– โวลท์ (Volt.) คือ หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้า
– แอมแปร์ (Amp.) คือ หน่วยวัดความต้านทานกระแสไฟฟ้า
– วัตต์ (Watt.) คือ หน่วยของกาลังไฟฟ้าที่ใช้จริง
– หน่วย (Unit) คือ หน่วยของกาลังไฟฟ้าที่ใช้ ต่อชั่วโมง
• การส่งกระแสไฟฟ้า
• ระบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส คือ ระบบไฟฟ้าที่นามาใช้ โดยแยก
ออกดังนี้
• ระบบ 1 เฟส จะมี 2 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 1 เส้น
และสาย Neutral (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้า 220 - 230 โวลท์ มีความถี่
50 เฮิร์ซ (Hz)
• นิยมใช้ในชนบท หรือพื้นที่ที่บ้านอยู่ห่างไกลกัน และใช้ไฟฟ้าน้อย
• ระบบ 3 เฟส จะมี 4 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 3
เส้น และสายนิวตรอน (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง สายLINE
กับ LINE 380 - 400 โวลท์ และแรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย LINE กับ
Neutral 220 - 230 โวลท์ และมีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz) เช่นเดียวกัน
• สายดิน หรือ GROUND มีทั้ง 2 ระบบ ติดตั้งเข้าไปในระบบเพื่อความ
ปลอดภัยของระบบ สายดินจะต้องต่อเข้าไปกับพื้นโลกตามมาตรฐาน
กาหนด
• นิยมใช้ในเมืองใหญ่ หรือพื้นที่ที่มีการใช้ไฟฟ้ามาก
• การต่อไฟเมนแบบ 1 เฟส คือการต่อสาย L1 , L2 , L3 เพียงสายหนึ่ง
สายใดเท่านั้นร่วมกับสาย N และสายดิน เมื่อเสร็จจะได้ไฟที่จะนาไปใช้งาน
เท่ากับ 220 โวลท์
• การต่อไฟเมนแบบ 2 เฟส คือ การต่อสาย L1 , L2 และ L3 ภายใน
สามสายนี้ให้ใช้ได้แต่สองสายเท่านั้น เช่น L1 กับ L2 หรือ L2 กับ L3 ก็ได้
ร่วมกับสายดินเมื่อต่อเสร็จจะได้ไฟที่จะนาไปใช้งานเท่ากับ 380 โวลท์
• การต่อไฟเมนแบบ 3 เฟส คือการต่อสาย L1 , L2 และ L3 ทั้งสามสาย
ร่วมกับสายดิน เมื่อต่อเสร็จจะได้ไฟที่จะนาไปใช้เท่ากับ 380 โวลท์
• ไฟฟ้า 1เฟส (220 V) ใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า และแสงสว่างทั่วไป ใน
อาคารทั่วไปที่มีความต้องการไฟฟ้าต่า
• ไฟฟ้า 3 เฟส (380 V) ใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า ในอาคารที่มีความ
ต้องการไฟฟ้าสูง อาคารขนาดใหญ่ โรงงานอุตสาหกรรม
กระแสไฟฟ้า หม้อแปลง MDB :
ตู้ควบคุมหลัก
วงจรย่อย
อุปกรณ์ไฟฟ้า
• หม้อแปลงไฟฟ้า
• หม้อแปลงไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า สาหรับแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น
หรือต่าลง เพื่อให้เหมาะสมกับงานที่จะใช้
• การทางานโดยใช้ขดลวด 2 ขด อยู่ใกล้กัน เพื่อให้เกิดกระแสแม่เหล็ก
เหนี่ยวนาให้แรงดันไฟฟ้า เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง
– ขดลวดปฐมภูมิ (Primary Winding)
– ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary Winding)
• ขนาดของหม้อแปลงไฟฟ้า (การแบ่งตามขนาด)
– ขนาดเล็กจนถึง 1 VA เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับการเชื่อมต่อระหว่างสัญญาณใน
งานอิเล็กทรอนิกส์
– ขนาด 1-1000 VA เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับงานด้านเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
ขนาดเล็ก
– ขนาด 1 kVA -1 MVA เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับงานจาหน่ายไฟฟ้าในโรงงาน
สานักงาน ที่พักอาศัย
– ขนาดใหญ่ตั้งแต่ 1 MVA ขึ้นไป เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับงานระบบไฟฟ้ากาลัง
ในสถานีไฟฟ้าย่อย การผลิตและจ่ายไฟฟ้า
• การทางานของหม้อแปลงจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลผ่านคอยล์ของหม้อ
แปลง
• เกิดความร้อนภายในหม้อแปลง
• ระบายความร้อนออกสู่ภายนอก
– ผ่านน้ามันหม้อแปลง
– วัสดุฉนวนอื่นๆ เรซิ่น ของแข็ง
• สาหรับหม้อแปลงขนาดพิกัดสูงๆจะมีการเพิ่มพื้นที่ผิวในการระบายความร้อน โดย
การทาครีบ หรือ ลอนระบายความร้อน นอกจากนั้น อาจใช้พัดลมขนาดใหญ่ช่วย
ในการระบายความร้อนด้วยอีกแรงหนึ่ง
งานระบบสายไฟฟ้าภายในอาคาร
• สายไฟฟ้า VCT
• สายไฟฟ้าตารางนี้เรียกว่า สาย VCT นิยมใช้ในการเดินสายเข้าเครื่องจักรกล
ไฟฟ้าที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า
• สายชนิดนี้จะมีฉนวน 2 ชั้น สามารถกันความชื้นได้ดี เช่นเดียวกับสาย NYY แต่มี
ความอ่อนตัวมากกว่าสาย NYY
• การติดตั้ง : เดินในท่อร้อยสายโลหะอ่อน
• สายไฟฟ้าTHW
• เรียกว่าสาย THW ใช้งานที่อุณหภูมิไม่เกิน 70°C แรงดันไม่เกิน 750V
• สายไฟฟ้าชนิดนี้มีลักษณะเป็นสายกลมเดี่ยว ตัวนาเป็นทองแดงหุ้มฉนวน PVC
• นิยมใช้สายชนิดนี้เป็นสายวงจรย่อย สายป้อน และสายประธาน
• การติดตั้ง : เดินในท่อร้อยสาย
• สายไฟฟ้า NYY
• สายไฟฟ้าชนิดนี้มีชื่อเรียกว่า NYY เป็นสายที่มีฉนวน 2 ชั้น โดยฉนวน PVC
ชั้นในจะทาหน้าที่เป็นฉนวนหุ้มตัวนาเอาไว้ส่วนฉนวน PVC ชั้นนอกทาหน้าที่เป็น
เปลือก ซึ่งสามารถทนความชื้นได้สูง
• สายชนิดนี้สามารถใช้ฝังดินได้โดยตรง
• โดยทั่วไปนิยมใช้สายชนิดนี้เป็นสายป้อน และสายประธาน ที่ติดตั้งใต้ดิน
• การติดตั้ง : เดินฝังดินโดยตรง , เดินฝังดินในท่อร้อยสาย
การจ่ายกระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากาลัง จาก แผงควบคุมหลักไปยัง
แผงควบคุมย่อย จาแนกได้ดังนี้
ระบบสายป้อน
•การเดินสายใน ท่อร้อยสายไฟ(Conduit)
•การวางสายใน ราง(Cable Tray)
•การเดินสายใน ไวร์เวย์(Wire Way)
•การใช้ ทางเดินบัส(Bus Way)
• การร้อยสายไฟ : Conduit
– เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับสายไฟฟ้าโดยตรง
– เพื่อป้องกันความชื้น
– เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้งาน
– เพื่อความสวยงาม
ท่อร้อยสายไฟ
ท่อโลหะท่ออโลหะ
ท่อ PVC
ท่อ HDPE
ท่อโลหะบาง EMT
ท่อโลหะหนาปานกลาง IMC
ท่อโลหะหนา RSC
ท่อโลหะอ่อน
• ท่อ PVC สีเหลือง
• ท่อพีวีซี (PolyVinyl Chloride)
• ทาด้วยพลาสติกพีวีซี ที่มีคุณสมบัติต้านเปลวไฟ แต่ข้อเสียคือขณะที่ถูกไฟไหม้จะ
มีก๊าซพิษที่เป็นอันตรายต่อคนเราออกมาด้วย
• ไม่ทนต่อแสงอัลตร้าไวโอเล็ตทาให้ท่อกรอบเมื่อโดนแดดเป็นเวลานาน
• ที่ใช้ในงานไฟฟ้ามีสีเหลือง มีขนาดตั้งแต่ 1/2" - 4" และยาวท่อนละ 4 เมตร
• ท่ออโลหะแข็ง (High Density PolyEthylene ,HDPE)
• ทาจากสารอโลหะซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมทางกายภาพ ได้แก่ ไฟเบอร์ ใยหิน
ซีเมนต์ พีวีซีอย่างแข็ง อีพอคซี่เสริมใยแก้ว โพลีเอทธิลีนความหนาแน่นสูง เป็นต้น
• ท่ออโลหะแข็งจะมีความแข็งแรงน้อยกว่าท่อโลหะแต่ความทนทานต่อการกัดกร่อน
จากสารเคมี ความชื้นและการกระทบกระแทกได้ดี
Electrical Metal Tubing - EMT ท่อโลหะบาง
ท่อเหล็กชุบสังกะสีแบบบาง
มีขนาดมาตรฐานตั้งแต่ 0.5นิ้ว-2นิ้ว
และความยาวมาตรฐาน3เมตร/เส้น ทาเกลียวไม่ได้
เหมาะที่จะใช้เดินสายภายในอาคาร โดยเดินลอยหรือฝังในอิฐ
Intermediate Metal Conduit - IMC ท่อโลหะหนาปานกลาง
ท่อเหล็กชุบสังกะสี มีขนาด0.5นิ้ว-4นิ้ว
และความยาว3เมตร/เส้น
เหมาะที่จะใช้เดินสายภายนอกอาคาร หรือฝังในคอนกรีต
มีความหนาเพียงพอที่จะทาเกลียวท่อได้
Rigid Steel Conduit - RSC ท่อโลหะหนา
ท่อเหล็กชุบสังกะสีแบบหนา
มีขนาด0.5นิ้ว-6นิ้ว ความยาว3เมตร/เส้น
เหมาะที่จะใช้เดินภายนอก ฝังในคอนกรีต
หรือฝังใต้ดิน สามารถรับแรงกดได้ดีมาก
Flexible Metal Conduit ท่อโลหะอ่อน
ท่อโลหะอ่อน เหมาะที่จะใช้เดินภายใน
บางช่วงเท่านั้น เช่น เดินข้ามมอเตอร์
เดินเข้าโคมไฟ เป็นต้น
CABLE TRAY รางเดินสายไฟ
ชนิดรางต่อ (Trough Type) สาหรับสายไฟขนาดเล็ก
ชนิดรางบันได (Ladder Type) สาหรับสายไฟขนาดกลางและใหญ่
และชนิดรางพับ สาหรับสายควบคุม
Trough Type Ladder Type Channel Type
• Cable Tray แบบรางบันได (Ladder Type)
• ทาด้วยเหล็กแผ่นบางเคลือบผิวแบบสังกะสีจุ่มร้อน (Hot dipgalvanized )
และพ่นด้วยสีฝุ่น Epoxy ( Epoxy powder paint )
• เหมาะสาหรับวางสายเมนขนาดใหญ่และงานนอกอาคารทุกสภาวะแวดล้อม
WIRE WAY
ทางเดินสายไฟชนิดปิดทึบ
ทาด้วยแผ่นเหล็กพับเคลือบสี
ด้านบนมีฝาปิดตลอดแนว
• รางเดินสาย (Wireway)
• ใช้สาหรับเดินสายขนาดเล็ก จานวนมากๆ
• รางเดินสายต้องใช้งานในที่เปิดโล่งเท่านั้น ต้องสามารถเข้าถึงได้หลังจากติดตั้งแล้ว
• การติดตั้งรางเดินสายต้องมีการจับยึดที่มั่นคงแข็งแรงทุกระยะห่างกันไม่เกิน 1.50
เมตร
BUS DUCT คือ
แท่งโลหะที่ใช้แทนสายไฟเมื่อต้องการใช้ไฟมาก
ทาด้วยทองแดงหรืออะลูมิเนียม
ใช้ในอาคารใหญ่ๆที่ต้องการไฟมาก
เนื่องจากสายไฟขนาดใหญ่ที่สุดจ่ายกระแสได้ไม่เพียงพอ
หรือเพียงพอ แต่ราคาจะสูงมาก
ติดตั้งจากห้องไฟฟ้าไปยังช่องท่อ
ต้องเตรียมทางเดินให้ BUS DUCT ออกจากห้องไฟฟ้าไปสู่ช่องท่อ
เพราะเป็นแท่งโลหะที่หนัก และ ยากต่อการหักเลี้ยว
ทางเดินบัส เรียกว่า BUS WAY
ใช้แทนการเดินสายไฟฟ้าในรางเหมาะกับกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงๆและในอาคารใหญ่ๆ
ช่วยประหยัดพื้นที่และลดความสูญเสียไฟฟ้าลง
Junction Box
• วงจรย่อย อาคารที่ติดตั้งดวงโคม และเครื่องใช้ไฟฟ้าเกินกว่า 10 จุด
แต่ละจุดให้ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 10 แอมแปร์ โดยแยกวงจรย่อยออก และ
เดินสายต่อมาที่แผงจ่ายไฟกลาง โดยอุปกรณ์การเดินสายต่างๆ ต้องมี
ขนาดรับไฟได้พอสาหรับไฟฟ้าแต่ละจุด แต่ละวงจร
ตู้ควบคุมรอง : Sub Distribution Board : SDB
ตู้ควบคุมย่อย: Sub Panel : SP
• การป้องกันการลัดวงจร และการใช้กระแสไฟฟ้าเกินกาลัง การต่อสาย
เข้ากับสายของการไฟฟ้าฯ จะต้องมีเครื่องตัดไฟฟ้าไว้เมื่อมีการลัดวงจร
หรือใช้ไฟฟ้าเกินกาลัง โดยมีสวิตซ์เมนไว้ตัดกระแสทั้งหมดที่จ่ายเข้าสู่
อาคาร และสวิตซ์ตัดตอนทุกวงจรย่อยที่แยกจากวงจรหลัก
เซอร์กิตเบรคเกอร์: Circuit Breaker: CB
ระบบไฟฟ้าในอาคารขนาดเล็ก
ระบบไฟฟ้าในอาคารขนาดใหญ่
ระบบไฟฟ้าสารอง
1. เครื่องกาเนิดไฟฟ้า(Gernerator)
2. ระบบ UPS (Uninterruptible Power Supply)
3. ระบบแสงสว่างฉุกเฉิน
อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ โรงพยาบาล
อาคารที่มีผู้ใช้เป็นจานวนมาก และเกี่ยวข้องกับ
ความปลอดภัย จาเป็นต้องมีระบบไฟฟ้าสารอง
ประกอบด้วย
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า(Gernerator)
ทางานอัตโนมัติ ใช้น้ามันดีเซล หลังจากไฟฟ้าดับ จะสตาร์ทเครื่องและ มีสวิทซ์
สับเปลี่ยนจ่ายไฟให้อุปกรณ์ไฟฟ้า อาทิ ระบบแสงสว่าง ระบบเตือนภัยอัคคีภัย ระบบลิฟต์
ระบบปั๊มน้าดี และน้าดับเพลิง ระบบพัดลมอัดอากาศ (ในชั้นใต้ดินและในบันไดหนีไฟ) ระบบ
ชุมสายโทรศัพท์ ระบบบาบัดน้าเสีย (ในอาคารขนาดใหญ่)
ตาแหน่งของห้อง ควรอยู่ใกล้ห้องหม้อแปลง สามารถระบายอากาศได้ดี
ขนาดโดยทั่วไป กว้าง 4.50 เมตร
ยาว 5 - 10 เมตร
สูง 3.50 เมตร
• การเดินสายไฟฟ้า แบ่งออกเป็น
– การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร
– การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร
โดยจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร
1.สายไฟนอกอาคาร จะต้องเป็นชนิดทนฝน มีฉนวนหุ้ม ที่เป็นโพลีไวนิลคลอไรด์ หรือ
โพลิธีน เดินสายแบบใช้ลูกถ้วย หรือ ตุ้ม
1.1 การเดินสายบนตุ้ม
- เดินเกาะไปตามสิ่งก่อสร้าง ระยะห่างของตุ้มไม่เกิน 2.50 เมตร
- เดินผ่านที่โล่งระยะห่างของตุ้มจะต้องไม่เกิน 5.00 เมตร
- ขนาดหน้าตัดของสายไฟจะต้องไม่น้อยกว่า 2 ตารางมิลลิเมตร
การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร(ต่อ)
1.2 การเดินสายบนลูกถ้วย
- เดินเกาะไปตามสิ่งก่อสร้าง ระยะห่างลูกถ้วยไม่เกิน 5.00 เมตร
- เดินผ่านที่โล่งมีข้อกาหนด ดังนี้
สายไฟต้องมีระยะสูงจากพื้นอย่างน้อย 2.50 เมตร
ถ้ามียานพาหนะลอด สายไฟจะต้องสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร
สายไฟที่ขึงข้ามหลังคา จะต้องสูงกว่ายอดหลังคาไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร
หากหลังคานั้นคนสามารถขึ้ นไปเดินได้ สายไฟจะต้องอยู่สูงจากส่วนสูงสุดของหลังคา
ไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร
1.3 สายไฟที่เดินในระยะต่ากว่า 2.50 เมตรโดยวัดจากพื้น ให้เดินสายในท่อโลหะ หรือ
ท่อพลาสติกอย่างหนา
1.4 การเดินสายใต้ดิน ต้องฝังท่อและสายให้ลึกลงไป ตาม
ตัวอย่าง
1.4 การเดินสายใต้ดิน(ต่อ)
การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร(ต่อ)
2.วิธีเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
2.1 การเดินสายในไม้ราง ใช้เฉพาะในที่แห้ง(ปัจจุบันไม่นิยม)
2.2 การเดินสายบนพุกประกับ ขนาดของสายต้องไม่เกิน 6 ตารางมิลลิเมตร
- ช่วงระยะพุกประกับไม่เกิน 150 เซนติเมตร
- ระยะห่างของสายไฟไม่ต่ากว่า 2.5 เซนติเมตร
- ระยะห่างของสายไฟฟ้ากับสิ่งก่อสร้างไม่ต่ากว่า 0.50 เซนติเมตร
การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร(ต่อ)
2.3 การเดินสายไฟเกาะกับผนัง จะต้องใช้คลิปจับสาย(Clip or Strap) สายที่
เดินทะลุสิ่งก่อสร้าง ต้องมีปลอกที่เป็นฉนวนไฟฟ้าหุ้มสายไว้ เพื่อป้องกันสาย
ฉีกขาดหรือเป็นอันตราย
2.4 การเดินสายฝังในผนังตึก ควรใช้สายหุ้มฉนวนที่มีปลอกหุ้มภายนอก ชนิดที่
ผู้ผลิตแนะนาให้ใช้กับการฝังในผนังตึก
ระบบไฟฟ้า
• ตาแหน่งห้องเครื่องไฟฟ้า (หม้อแปลง และ MDB)
MDB : Main Distribution board : แผงควบคุมการจ่ายไฟฟ้าหลัก
– อยู่ในพื้นที่ที่ผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงง่าย เพื่อดูแลรักษาซ่อมบารุง
– ห้องหม้อแปลงต้องมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
– มีช่องทางขนหม้อแปลงออกได้ทั้งลูก
– พื้นห้อง คสล. หนา 125 มม. น้าไม่ท่วม
– ผนังห้อง คสล. หนา 125 มม. , อิฐ หรือคอนกรีตบล็อก หนา 200 มม.
– พื้นที่ปฏิบัติงาน อย่างน้อย 0.90 ม. โดยรอบ ด้านบน 2.00 ม. (F-C
min. 4.00-3.50 ม.)
ระบบไฟฟ้า
• หม้อแปลงภายนอกอาคาร
– หม้อแปลงต้องอยู่ในที่ล้อม
– ส่วนที่มีกระแสต้องอยู่สูงจากพื้นมากกว่า 2.75 ม.
– รั้วสูงไม่น้อยกว่า 2 ม.
– ระยะระหว่างหม้อแปลงไม่น้อยกว่า 0.60 ม.
– ระยะระหว่างหม้อแปลงกับรั้วไม่น้อยกว่า 1.20 ม.
ระบบไฟฟ้า
• ขนาดห้องเครื่องไฟฟ้า
• ขนาดกาลังไฟฟ้าสาหรับอาคารปรับอากาศทั่วๆไป ประมาณ 150 VA/ ตร.ม.
• ขนาดห้องหม้อแปลง + MDB
– 1,000 kVA 150 ตร.ม.
– 2,000 kVA 200 ตร.ม.
– 3,000 kVA 250 ตร.ม.
– 5,000 kVA 350 ตร.ม.
– 7,000 kVA 450 ตร.ม.
– 10,000 kVA 600 ตร.ม.
ระบบไฟฟ้า
• ตัวอย่าง
• อาคารขนาด 10,000 ตร.ม. มีขนาดห้องเครื่องไฟฟ้าขนาดประมาณเท่าใด
– อาคารใช้ไฟฟ้า ประมาณ 150 VA/ ตร.ม.
– อาคาร 10,000 ตร.ม. ใช้ไฟฟ้าประมาณ 10,000x150=1,500 kVA
– ใช้พื้นที่ห้อง ประมาณ 175-200 ตร.ม.
ระบบไฟฟ้า
• ไฟฟ้าสารอง เพื่อจัดไฟฟ้าชั่วคราวให้กับพื้นที่สาคัญของโครงการ เช่น
ไฟฟ้าเพื่อการดับเพลิง ไฟฟ้าแสงสว่าง ไฟฟ้าห้องผ่าตัด ห้องICU
ระบบไฟฟ้า
• ทางานด้วยน้ามันดีเซล เพื่อปั่นไฟฟ้าไปยังส่วนต่างๆ
– ห้องจะมีการเก็บน้ามันด้วย ต้องมีการระบายอากาศ และความร้อน
– มีช่องเปิดที่สามารถขนถ่ายวัสดุ อุปกรณ์ขนาดใหญ่ได้ (ในอาคารที่ใหญ่มาก
ต้องมีที่ให้รถถอยมาเติมน้ามัน)
– ห้อง และประตูต้องทนไฟ
– ป้องกันเสียง เนื่องจากตอนทางานเครื่องจะมีเสียงดัง
– อยู่ใกล้หม้อแปลง
– มีระยะที่สามารถทาการดูแลรักษาได้โดยรอบ
– ขนาด 4.5 x 5.0-10.0 x 3.5-4.0
•มีการป้องกันเรื่องน้าท่วม
•ความสูงมากพอ (ระยะจากพื้นถึงฝ้า 4 เมตร หรืออย่างต่า 3.5 เมตร)
•ขนของเข้าออกสะดวก
(ประตูกว้างอย่างน้อย 2 เมตร)
•มีการระบายความร้อนที่ดี
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหม้อแปลง
ขนาดห้อง
หม้อแปลง
MDB
5-6 m.
2.5 m.
2 m.
12 m
5 m
2x2000KVA
12 m
8 m
2x2000KVA
ห้องหม้อแปลงและห้องควบคุม
สาหรับหม้อแปลงที่ติดตั้งในอาคาร
การเดินสายไฟฟ้า คือการนากระแสไฟฟ้าจากแหล่งผลิตมาใช้
ณ.จุดที่ต้องการ เพื่อ
1.ให้กาลังงานในเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่นขับเคลื่อนใบพัด
ของพัดลม เครื่องซักผ้า หรือทาให้เกิดความร้อนเช่นเตาไฟฟ้า
เครื่องทาน้าร้อน
2.ทาให้เกิดแสงสว่างแก่หลอดไฟฟ้าประเภทต่างๆ
การเดินสายไฟฟ้า แบ่งออกเป็น
การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร
โดยจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง และการ
ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
การป้องกันอันตรายเกี่ยวกับการเดินสาย
1. วงจรย่อย อาคารที่ติดตั้งดวงโคม และเครื่องใช้ไฟฟ้าเกินกว่า 10 จุด แต่ละ
จุดให้ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 10 แอมแปร์ โดยแยกวงจรย่อยออก และเดินสายต่อมาที่
แผงจ่ายไฟกลาง โดยอุปกรณ์การเดินสายต่างๆ ต้องมีขนาดรับไฟได้พอสาหรับ
ไฟฟ้าแต่ละจุด แต่ละวงจร
2. การป้องกันการลัดวงจร และการใช้กระแสไฟฟ้าเกินกาลัง การต่อสายเข้ากับสาย
ของการไฟฟ้าฯ จะต้องมีเครื่องตัดไฟฟ้าไว้เมื่อมีการลัดวงจรหรือใช้ไฟฟ้าเกิน
กาลัง โดยมีสวิตซ์เมนไว้ตัดกระแสทั้งหมดที่จ่ายเข้าสู่อาคาร และสวิตซ์ตัดตอน
ทุกวงจรย่อยที่แยกจากวงจรหลัก
การป้องกันอันตรายเกี่ยวกับการเดินสาย(ต่อ)
3. การต่อสายดิน
3.1 เปลือกนอกที่เป็นโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้าต้องต่อลงดิน
3.2 สายดินต้องเป็นทองแดง เนื้ อที่หน้าตัดสายไม่เล็กว่า 2.5 มิลลิเมตร และ
ไม่จาเป็นต้องโตกว่า 70 มิลลิเมตร
3.3 ปลายสายดินต้องต่อ ประกบหรือบัดกรี กับแท่งที่เป็นอิเลคโตรด ที่ตอก
ลงดิน โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 3/8 นิ้ ว และตอกลงดินไม่น้อยกว่า
1.5 เมตร
การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร
1.ชนิดของการเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
1.1 สายเมนภายใน สายที่เดินในเต้าเสียบ จะต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 20 ตาราง
มิลลิเมตร
1.2 อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในที่ชื้ นหรือที่ถูกฝน จะต้องใช้ชนิดกันน้าได้
1.3 สายคู่ตีเกลียวห้ามใช้เดินติดกับเพดาน ผนัง หรือพื้น ใช้ได้เฉพาะเป็นสาย
ห้อยดวงโคม

More Related Content

What's hot

types of wiring
types of wiringtypes of wiring
types of wiring
2461998
 
PPt on 220 kV substation
PPt on 220 kV substationPPt on 220 kV substation
PPt on 220 kV substation
Ishank Ranjan
 
Transformadores Electricos
Transformadores ElectricosTransformadores Electricos
Transformadores Electricos
Ganzito Ramirez
 
Logic Gates
Logic GatesLogic Gates
Logic Gates
student
 
POWER DISTRIBUTION 2.docx
POWER DISTRIBUTION 2.docxPOWER DISTRIBUTION 2.docx
POWER DISTRIBUTION 2.docx
Jeffrey Dorsey
 

What's hot (20)

types of wiring
types of wiringtypes of wiring
types of wiring
 
Substation
Substation Substation
Substation
 
Report on 220kv substation at Jassure
Report on 220kv substation at JassureReport on 220kv substation at Jassure
Report on 220kv substation at Jassure
 
Hospital wiring SYSTEM
Hospital wiring SYSTEMHospital wiring SYSTEM
Hospital wiring SYSTEM
 
PPt on 220 kV substation
PPt on 220 kV substationPPt on 220 kV substation
PPt on 220 kV substation
 
EE8552 Power Electronics
EE8552 Power ElectronicsEE8552 Power Electronics
EE8552 Power Electronics
 
Substation and It's Equipment
Substation and It's Equipment Substation and It's Equipment
Substation and It's Equipment
 
220 kv gss
220 kv gss220 kv gss
220 kv gss
 
Power Transmission & Distribution in India
Power Transmission & Distribution in IndiaPower Transmission & Distribution in India
Power Transmission & Distribution in India
 
Electrical bus bar and its types
Electrical bus bar and its typesElectrical bus bar and its types
Electrical bus bar and its types
 
DC MOTOR
DC MOTORDC MOTOR
DC MOTOR
 
Switchyard design overview
Switchyard design overviewSwitchyard design overview
Switchyard design overview
 
Electric power transmission full explanation and presentation
Electric power transmission full explanation and presentationElectric power transmission full explanation and presentation
Electric power transmission full explanation and presentation
 
Current transformer ieema
Current transformer  ieemaCurrent transformer  ieema
Current transformer ieema
 
Transformadores Electricos
Transformadores ElectricosTransformadores Electricos
Transformadores Electricos
 
Logic Gates
Logic GatesLogic Gates
Logic Gates
 
Inverter
InverterInverter
Inverter
 
Design considerations of electrical installations
Design considerations of electrical installationsDesign considerations of electrical installations
Design considerations of electrical installations
 
Unidad nº 7 prote fusibles
Unidad nº 7 prote fusiblesUnidad nº 7 prote fusibles
Unidad nº 7 prote fusibles
 
POWER DISTRIBUTION 2.docx
POWER DISTRIBUTION 2.docxPOWER DISTRIBUTION 2.docx
POWER DISTRIBUTION 2.docx
 

Similar to 5

พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
Thida Noodaeng
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
jee2002
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
ASpyda Ch
 
ท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟ
ท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟ
ท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟ
ASpyda Ch
 
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
Abhisara Chotikhun
 

Similar to 5 (14)

3
33
3
 
ตอน2
ตอน2ตอน2
ตอน2
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
 
54101 engineer 3
54101 engineer 354101 engineer 3
54101 engineer 3
 
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้าอุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
ท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟ
ท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟ
ท่อในงานไฟฟ้า, สายไฟ
 
6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt
 
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
สายโครแอกเชียล(อภิสรา สิริณิชช์)407
 

More from Pa'rig Prig

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 
Bed room (1)
Bed room (1)Bed room (1)
Bed room (1)
 

5

  • 2. แหล่งไฟฟ้า • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย : กฟผ. – ทาหน้าที่ผลิตกระแสไฟฟ้า ได้ไฟฟ้าแรงดันสูงเพื่อสะดวกต่อการขนส่งไปในที่ ห่างไกล • การไฟฟ้านครหลวง : กฟน. – ซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ. และจาหน่ายแก่ประชาชนในพื้นที่ กทม. และปริมณฑล • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค : กฟภ. – ซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ. และจาหน่ายแก่ประชาชนในพื้นที่ต่างจังหวัด
  • 3. • ไฟฟ้าที่ผลิตได้ต้องมีการเพิ่มแรงดันไฟฟ้า เพื่อให้สามารถส่งไปได้ไกล ขึ้น • เมื่อเข้าใกล้ตัวเมืองจะมีการแปลงให้แรงดันไฟฟ้าลดลงเพื่อความ ปลอดภัย • และแปลงให้เหมาะสมกับการใช้งานของอาคารประเภทต่างๆ
  • 4. 230,000 V 13,800 V 69,000 V 12,000 V 220 V 380 V 220 V
  • 5. • คาศัพท์เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า – ระบบไฟฟ้าแรงสูง คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า เกิน 1,000 โวลท์ – ระบบไฟฟ้าแรงต่า คือ ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 1,000 โวลท์ – โวลท์ (Volt.) คือ หน่วยวัดแรงดันไฟฟ้า – แอมแปร์ (Amp.) คือ หน่วยวัดความต้านทานกระแสไฟฟ้า – วัตต์ (Watt.) คือ หน่วยของกาลังไฟฟ้าที่ใช้จริง – หน่วย (Unit) คือ หน่วยของกาลังไฟฟ้าที่ใช้ ต่อชั่วโมง
  • 6. • การส่งกระแสไฟฟ้า • ระบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส คือ ระบบไฟฟ้าที่นามาใช้ โดยแยก ออกดังนี้ • ระบบ 1 เฟส จะมี 2 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 1 เส้น และสาย Neutral (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้า 220 - 230 โวลท์ มีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz) • นิยมใช้ในชนบท หรือพื้นที่ที่บ้านอยู่ห่างไกลกัน และใช้ไฟฟ้าน้อย
  • 7. • ระบบ 3 เฟส จะมี 4 สายในระบบ ประกอบด้วย สาย LINE (มีไฟ) 3 เส้น และสายนิวตรอน (ไม่มีไฟ) 1 เส้น มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง สายLINE กับ LINE 380 - 400 โวลท์ และแรงดันไฟฟ้าระหว่างสาย LINE กับ Neutral 220 - 230 โวลท์ และมีความถี่ 50 เฮิร์ซ (Hz) เช่นเดียวกัน • สายดิน หรือ GROUND มีทั้ง 2 ระบบ ติดตั้งเข้าไปในระบบเพื่อความ ปลอดภัยของระบบ สายดินจะต้องต่อเข้าไปกับพื้นโลกตามมาตรฐาน กาหนด • นิยมใช้ในเมืองใหญ่ หรือพื้นที่ที่มีการใช้ไฟฟ้ามาก
  • 8. • การต่อไฟเมนแบบ 1 เฟส คือการต่อสาย L1 , L2 , L3 เพียงสายหนึ่ง สายใดเท่านั้นร่วมกับสาย N และสายดิน เมื่อเสร็จจะได้ไฟที่จะนาไปใช้งาน เท่ากับ 220 โวลท์
  • 9. • การต่อไฟเมนแบบ 2 เฟส คือ การต่อสาย L1 , L2 และ L3 ภายใน สามสายนี้ให้ใช้ได้แต่สองสายเท่านั้น เช่น L1 กับ L2 หรือ L2 กับ L3 ก็ได้ ร่วมกับสายดินเมื่อต่อเสร็จจะได้ไฟที่จะนาไปใช้งานเท่ากับ 380 โวลท์
  • 10. • การต่อไฟเมนแบบ 3 เฟส คือการต่อสาย L1 , L2 และ L3 ทั้งสามสาย ร่วมกับสายดิน เมื่อต่อเสร็จจะได้ไฟที่จะนาไปใช้เท่ากับ 380 โวลท์
  • 11. • ไฟฟ้า 1เฟส (220 V) ใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า และแสงสว่างทั่วไป ใน อาคารทั่วไปที่มีความต้องการไฟฟ้าต่า • ไฟฟ้า 3 เฟส (380 V) ใช้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า ในอาคารที่มีความ ต้องการไฟฟ้าสูง อาคารขนาดใหญ่ โรงงานอุตสาหกรรม
  • 12. กระแสไฟฟ้า หม้อแปลง MDB : ตู้ควบคุมหลัก วงจรย่อย อุปกรณ์ไฟฟ้า
  • 13. • หม้อแปลงไฟฟ้า • หม้อแปลงไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า สาหรับแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น หรือต่าลง เพื่อให้เหมาะสมกับงานที่จะใช้ • การทางานโดยใช้ขดลวด 2 ขด อยู่ใกล้กัน เพื่อให้เกิดกระแสแม่เหล็ก เหนี่ยวนาให้แรงดันไฟฟ้า เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง – ขดลวดปฐมภูมิ (Primary Winding) – ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary Winding)
  • 14. • ขนาดของหม้อแปลงไฟฟ้า (การแบ่งตามขนาด) – ขนาดเล็กจนถึง 1 VA เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับการเชื่อมต่อระหว่างสัญญาณใน งานอิเล็กทรอนิกส์ – ขนาด 1-1000 VA เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับงานด้านเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ขนาดเล็ก – ขนาด 1 kVA -1 MVA เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับงานจาหน่ายไฟฟ้าในโรงงาน สานักงาน ที่พักอาศัย – ขนาดใหญ่ตั้งแต่ 1 MVA ขึ้นไป เป็นหม้อแปลงที่ใช้กับงานระบบไฟฟ้ากาลัง ในสถานีไฟฟ้าย่อย การผลิตและจ่ายไฟฟ้า
  • 15.
  • 16. • การทางานของหม้อแปลงจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณมากไหลผ่านคอยล์ของหม้อ แปลง • เกิดความร้อนภายในหม้อแปลง • ระบายความร้อนออกสู่ภายนอก – ผ่านน้ามันหม้อแปลง – วัสดุฉนวนอื่นๆ เรซิ่น ของแข็ง • สาหรับหม้อแปลงขนาดพิกัดสูงๆจะมีการเพิ่มพื้นที่ผิวในการระบายความร้อน โดย การทาครีบ หรือ ลอนระบายความร้อน นอกจากนั้น อาจใช้พัดลมขนาดใหญ่ช่วย ในการระบายความร้อนด้วยอีกแรงหนึ่ง
  • 18. • สายไฟฟ้า VCT • สายไฟฟ้าตารางนี้เรียกว่า สาย VCT นิยมใช้ในการเดินสายเข้าเครื่องจักรกล ไฟฟ้าที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า • สายชนิดนี้จะมีฉนวน 2 ชั้น สามารถกันความชื้นได้ดี เช่นเดียวกับสาย NYY แต่มี ความอ่อนตัวมากกว่าสาย NYY • การติดตั้ง : เดินในท่อร้อยสายโลหะอ่อน
  • 19. • สายไฟฟ้าTHW • เรียกว่าสาย THW ใช้งานที่อุณหภูมิไม่เกิน 70°C แรงดันไม่เกิน 750V • สายไฟฟ้าชนิดนี้มีลักษณะเป็นสายกลมเดี่ยว ตัวนาเป็นทองแดงหุ้มฉนวน PVC • นิยมใช้สายชนิดนี้เป็นสายวงจรย่อย สายป้อน และสายประธาน • การติดตั้ง : เดินในท่อร้อยสาย
  • 20. • สายไฟฟ้า NYY • สายไฟฟ้าชนิดนี้มีชื่อเรียกว่า NYY เป็นสายที่มีฉนวน 2 ชั้น โดยฉนวน PVC ชั้นในจะทาหน้าที่เป็นฉนวนหุ้มตัวนาเอาไว้ส่วนฉนวน PVC ชั้นนอกทาหน้าที่เป็น เปลือก ซึ่งสามารถทนความชื้นได้สูง • สายชนิดนี้สามารถใช้ฝังดินได้โดยตรง • โดยทั่วไปนิยมใช้สายชนิดนี้เป็นสายป้อน และสายประธาน ที่ติดตั้งใต้ดิน • การติดตั้ง : เดินฝังดินโดยตรง , เดินฝังดินในท่อร้อยสาย
  • 21. การจ่ายกระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากาลัง จาก แผงควบคุมหลักไปยัง แผงควบคุมย่อย จาแนกได้ดังนี้ ระบบสายป้อน •การเดินสายใน ท่อร้อยสายไฟ(Conduit) •การวางสายใน ราง(Cable Tray) •การเดินสายใน ไวร์เวย์(Wire Way) •การใช้ ทางเดินบัส(Bus Way)
  • 22. • การร้อยสายไฟ : Conduit – เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับสายไฟฟ้าโดยตรง – เพื่อป้องกันความชื้น – เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้งาน – เพื่อความสวยงาม
  • 23. ท่อร้อยสายไฟ ท่อโลหะท่ออโลหะ ท่อ PVC ท่อ HDPE ท่อโลหะบาง EMT ท่อโลหะหนาปานกลาง IMC ท่อโลหะหนา RSC ท่อโลหะอ่อน
  • 24. • ท่อ PVC สีเหลือง • ท่อพีวีซี (PolyVinyl Chloride) • ทาด้วยพลาสติกพีวีซี ที่มีคุณสมบัติต้านเปลวไฟ แต่ข้อเสียคือขณะที่ถูกไฟไหม้จะ มีก๊าซพิษที่เป็นอันตรายต่อคนเราออกมาด้วย • ไม่ทนต่อแสงอัลตร้าไวโอเล็ตทาให้ท่อกรอบเมื่อโดนแดดเป็นเวลานาน • ที่ใช้ในงานไฟฟ้ามีสีเหลือง มีขนาดตั้งแต่ 1/2" - 4" และยาวท่อนละ 4 เมตร
  • 25. • ท่ออโลหะแข็ง (High Density PolyEthylene ,HDPE) • ทาจากสารอโลหะซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมทางกายภาพ ได้แก่ ไฟเบอร์ ใยหิน ซีเมนต์ พีวีซีอย่างแข็ง อีพอคซี่เสริมใยแก้ว โพลีเอทธิลีนความหนาแน่นสูง เป็นต้น • ท่ออโลหะแข็งจะมีความแข็งแรงน้อยกว่าท่อโลหะแต่ความทนทานต่อการกัดกร่อน จากสารเคมี ความชื้นและการกระทบกระแทกได้ดี
  • 26. Electrical Metal Tubing - EMT ท่อโลหะบาง ท่อเหล็กชุบสังกะสีแบบบาง มีขนาดมาตรฐานตั้งแต่ 0.5นิ้ว-2นิ้ว และความยาวมาตรฐาน3เมตร/เส้น ทาเกลียวไม่ได้ เหมาะที่จะใช้เดินสายภายในอาคาร โดยเดินลอยหรือฝังในอิฐ Intermediate Metal Conduit - IMC ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อเหล็กชุบสังกะสี มีขนาด0.5นิ้ว-4นิ้ว และความยาว3เมตร/เส้น เหมาะที่จะใช้เดินสายภายนอกอาคาร หรือฝังในคอนกรีต มีความหนาเพียงพอที่จะทาเกลียวท่อได้
  • 27. Rigid Steel Conduit - RSC ท่อโลหะหนา ท่อเหล็กชุบสังกะสีแบบหนา มีขนาด0.5นิ้ว-6นิ้ว ความยาว3เมตร/เส้น เหมาะที่จะใช้เดินภายนอก ฝังในคอนกรีต หรือฝังใต้ดิน สามารถรับแรงกดได้ดีมาก Flexible Metal Conduit ท่อโลหะอ่อน ท่อโลหะอ่อน เหมาะที่จะใช้เดินภายใน บางช่วงเท่านั้น เช่น เดินข้ามมอเตอร์ เดินเข้าโคมไฟ เป็นต้น
  • 28.
  • 29. CABLE TRAY รางเดินสายไฟ ชนิดรางต่อ (Trough Type) สาหรับสายไฟขนาดเล็ก ชนิดรางบันได (Ladder Type) สาหรับสายไฟขนาดกลางและใหญ่ และชนิดรางพับ สาหรับสายควบคุม Trough Type Ladder Type Channel Type
  • 30. • Cable Tray แบบรางบันได (Ladder Type) • ทาด้วยเหล็กแผ่นบางเคลือบผิวแบบสังกะสีจุ่มร้อน (Hot dipgalvanized ) และพ่นด้วยสีฝุ่น Epoxy ( Epoxy powder paint ) • เหมาะสาหรับวางสายเมนขนาดใหญ่และงานนอกอาคารทุกสภาวะแวดล้อม
  • 32. • รางเดินสาย (Wireway) • ใช้สาหรับเดินสายขนาดเล็ก จานวนมากๆ • รางเดินสายต้องใช้งานในที่เปิดโล่งเท่านั้น ต้องสามารถเข้าถึงได้หลังจากติดตั้งแล้ว • การติดตั้งรางเดินสายต้องมีการจับยึดที่มั่นคงแข็งแรงทุกระยะห่างกันไม่เกิน 1.50 เมตร
  • 33. BUS DUCT คือ แท่งโลหะที่ใช้แทนสายไฟเมื่อต้องการใช้ไฟมาก ทาด้วยทองแดงหรืออะลูมิเนียม ใช้ในอาคารใหญ่ๆที่ต้องการไฟมาก เนื่องจากสายไฟขนาดใหญ่ที่สุดจ่ายกระแสได้ไม่เพียงพอ หรือเพียงพอ แต่ราคาจะสูงมาก ติดตั้งจากห้องไฟฟ้าไปยังช่องท่อ ต้องเตรียมทางเดินให้ BUS DUCT ออกจากห้องไฟฟ้าไปสู่ช่องท่อ เพราะเป็นแท่งโลหะที่หนัก และ ยากต่อการหักเลี้ยว ทางเดินบัส เรียกว่า BUS WAY ใช้แทนการเดินสายไฟฟ้าในรางเหมาะกับกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงๆและในอาคารใหญ่ๆ ช่วยประหยัดพื้นที่และลดความสูญเสียไฟฟ้าลง
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 38. • วงจรย่อย อาคารที่ติดตั้งดวงโคม และเครื่องใช้ไฟฟ้าเกินกว่า 10 จุด แต่ละจุดให้ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 10 แอมแปร์ โดยแยกวงจรย่อยออก และ เดินสายต่อมาที่แผงจ่ายไฟกลาง โดยอุปกรณ์การเดินสายต่างๆ ต้องมี ขนาดรับไฟได้พอสาหรับไฟฟ้าแต่ละจุด แต่ละวงจร ตู้ควบคุมรอง : Sub Distribution Board : SDB ตู้ควบคุมย่อย: Sub Panel : SP
  • 39. • การป้องกันการลัดวงจร และการใช้กระแสไฟฟ้าเกินกาลัง การต่อสาย เข้ากับสายของการไฟฟ้าฯ จะต้องมีเครื่องตัดไฟฟ้าไว้เมื่อมีการลัดวงจร หรือใช้ไฟฟ้าเกินกาลัง โดยมีสวิตซ์เมนไว้ตัดกระแสทั้งหมดที่จ่ายเข้าสู่ อาคาร และสวิตซ์ตัดตอนทุกวงจรย่อยที่แยกจากวงจรหลัก เซอร์กิตเบรคเกอร์: Circuit Breaker: CB
  • 42. ระบบไฟฟ้าสารอง 1. เครื่องกาเนิดไฟฟ้า(Gernerator) 2. ระบบ UPS (Uninterruptible Power Supply) 3. ระบบแสงสว่างฉุกเฉิน อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ โรงพยาบาล อาคารที่มีผู้ใช้เป็นจานวนมาก และเกี่ยวข้องกับ ความปลอดภัย จาเป็นต้องมีระบบไฟฟ้าสารอง ประกอบด้วย
  • 43. เครื่องกาเนิดไฟฟ้า(Gernerator) ทางานอัตโนมัติ ใช้น้ามันดีเซล หลังจากไฟฟ้าดับ จะสตาร์ทเครื่องและ มีสวิทซ์ สับเปลี่ยนจ่ายไฟให้อุปกรณ์ไฟฟ้า อาทิ ระบบแสงสว่าง ระบบเตือนภัยอัคคีภัย ระบบลิฟต์ ระบบปั๊มน้าดี และน้าดับเพลิง ระบบพัดลมอัดอากาศ (ในชั้นใต้ดินและในบันไดหนีไฟ) ระบบ ชุมสายโทรศัพท์ ระบบบาบัดน้าเสีย (ในอาคารขนาดใหญ่) ตาแหน่งของห้อง ควรอยู่ใกล้ห้องหม้อแปลง สามารถระบายอากาศได้ดี ขนาดโดยทั่วไป กว้าง 4.50 เมตร ยาว 5 - 10 เมตร สูง 3.50 เมตร
  • 44. • การเดินสายไฟฟ้า แบ่งออกเป็น – การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร – การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร โดยจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
  • 45. การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร 1.สายไฟนอกอาคาร จะต้องเป็นชนิดทนฝน มีฉนวนหุ้ม ที่เป็นโพลีไวนิลคลอไรด์ หรือ โพลิธีน เดินสายแบบใช้ลูกถ้วย หรือ ตุ้ม 1.1 การเดินสายบนตุ้ม - เดินเกาะไปตามสิ่งก่อสร้าง ระยะห่างของตุ้มไม่เกิน 2.50 เมตร - เดินผ่านที่โล่งระยะห่างของตุ้มจะต้องไม่เกิน 5.00 เมตร - ขนาดหน้าตัดของสายไฟจะต้องไม่น้อยกว่า 2 ตารางมิลลิเมตร
  • 46. การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร(ต่อ) 1.2 การเดินสายบนลูกถ้วย - เดินเกาะไปตามสิ่งก่อสร้าง ระยะห่างลูกถ้วยไม่เกิน 5.00 เมตร - เดินผ่านที่โล่งมีข้อกาหนด ดังนี้ สายไฟต้องมีระยะสูงจากพื้นอย่างน้อย 2.50 เมตร ถ้ามียานพาหนะลอด สายไฟจะต้องสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า 5.50 เมตร สายไฟที่ขึงข้ามหลังคา จะต้องสูงกว่ายอดหลังคาไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร หากหลังคานั้นคนสามารถขึ้ นไปเดินได้ สายไฟจะต้องอยู่สูงจากส่วนสูงสุดของหลังคา ไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร 1.3 สายไฟที่เดินในระยะต่ากว่า 2.50 เมตรโดยวัดจากพื้น ให้เดินสายในท่อโลหะ หรือ ท่อพลาสติกอย่างหนา
  • 49. การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร(ต่อ) 2.วิธีเดินสายไฟฟ้าในอาคาร 2.1 การเดินสายในไม้ราง ใช้เฉพาะในที่แห้ง(ปัจจุบันไม่นิยม) 2.2 การเดินสายบนพุกประกับ ขนาดของสายต้องไม่เกิน 6 ตารางมิลลิเมตร - ช่วงระยะพุกประกับไม่เกิน 150 เซนติเมตร - ระยะห่างของสายไฟไม่ต่ากว่า 2.5 เซนติเมตร - ระยะห่างของสายไฟฟ้ากับสิ่งก่อสร้างไม่ต่ากว่า 0.50 เซนติเมตร
  • 50. การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร(ต่อ) 2.3 การเดินสายไฟเกาะกับผนัง จะต้องใช้คลิปจับสาย(Clip or Strap) สายที่ เดินทะลุสิ่งก่อสร้าง ต้องมีปลอกที่เป็นฉนวนไฟฟ้าหุ้มสายไว้ เพื่อป้องกันสาย ฉีกขาดหรือเป็นอันตราย 2.4 การเดินสายฝังในผนังตึก ควรใช้สายหุ้มฉนวนที่มีปลอกหุ้มภายนอก ชนิดที่ ผู้ผลิตแนะนาให้ใช้กับการฝังในผนังตึก
  • 51. ระบบไฟฟ้า • ตาแหน่งห้องเครื่องไฟฟ้า (หม้อแปลง และ MDB) MDB : Main Distribution board : แผงควบคุมการจ่ายไฟฟ้าหลัก – อยู่ในพื้นที่ที่ผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงง่าย เพื่อดูแลรักษาซ่อมบารุง – ห้องหม้อแปลงต้องมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก – มีช่องทางขนหม้อแปลงออกได้ทั้งลูก – พื้นห้อง คสล. หนา 125 มม. น้าไม่ท่วม – ผนังห้อง คสล. หนา 125 มม. , อิฐ หรือคอนกรีตบล็อก หนา 200 มม. – พื้นที่ปฏิบัติงาน อย่างน้อย 0.90 ม. โดยรอบ ด้านบน 2.00 ม. (F-C min. 4.00-3.50 ม.)
  • 52. ระบบไฟฟ้า • หม้อแปลงภายนอกอาคาร – หม้อแปลงต้องอยู่ในที่ล้อม – ส่วนที่มีกระแสต้องอยู่สูงจากพื้นมากกว่า 2.75 ม. – รั้วสูงไม่น้อยกว่า 2 ม. – ระยะระหว่างหม้อแปลงไม่น้อยกว่า 0.60 ม. – ระยะระหว่างหม้อแปลงกับรั้วไม่น้อยกว่า 1.20 ม.
  • 53. ระบบไฟฟ้า • ขนาดห้องเครื่องไฟฟ้า • ขนาดกาลังไฟฟ้าสาหรับอาคารปรับอากาศทั่วๆไป ประมาณ 150 VA/ ตร.ม. • ขนาดห้องหม้อแปลง + MDB – 1,000 kVA 150 ตร.ม. – 2,000 kVA 200 ตร.ม. – 3,000 kVA 250 ตร.ม. – 5,000 kVA 350 ตร.ม. – 7,000 kVA 450 ตร.ม. – 10,000 kVA 600 ตร.ม.
  • 54. ระบบไฟฟ้า • ตัวอย่าง • อาคารขนาด 10,000 ตร.ม. มีขนาดห้องเครื่องไฟฟ้าขนาดประมาณเท่าใด – อาคารใช้ไฟฟ้า ประมาณ 150 VA/ ตร.ม. – อาคาร 10,000 ตร.ม. ใช้ไฟฟ้าประมาณ 10,000x150=1,500 kVA – ใช้พื้นที่ห้อง ประมาณ 175-200 ตร.ม.
  • 55. ระบบไฟฟ้า • ไฟฟ้าสารอง เพื่อจัดไฟฟ้าชั่วคราวให้กับพื้นที่สาคัญของโครงการ เช่น ไฟฟ้าเพื่อการดับเพลิง ไฟฟ้าแสงสว่าง ไฟฟ้าห้องผ่าตัด ห้องICU
  • 56. ระบบไฟฟ้า • ทางานด้วยน้ามันดีเซล เพื่อปั่นไฟฟ้าไปยังส่วนต่างๆ – ห้องจะมีการเก็บน้ามันด้วย ต้องมีการระบายอากาศ และความร้อน – มีช่องเปิดที่สามารถขนถ่ายวัสดุ อุปกรณ์ขนาดใหญ่ได้ (ในอาคารที่ใหญ่มาก ต้องมีที่ให้รถถอยมาเติมน้ามัน) – ห้อง และประตูต้องทนไฟ – ป้องกันเสียง เนื่องจากตอนทางานเครื่องจะมีเสียงดัง – อยู่ใกล้หม้อแปลง – มีระยะที่สามารถทาการดูแลรักษาได้โดยรอบ – ขนาด 4.5 x 5.0-10.0 x 3.5-4.0
  • 57. •มีการป้องกันเรื่องน้าท่วม •ความสูงมากพอ (ระยะจากพื้นถึงฝ้า 4 เมตร หรืออย่างต่า 3.5 เมตร) •ขนของเข้าออกสะดวก (ประตูกว้างอย่างน้อย 2 เมตร) •มีการระบายความร้อนที่ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของหม้อแปลง ขนาดห้อง หม้อแปลง MDB 5-6 m. 2.5 m. 2 m. 12 m 5 m 2x2000KVA 12 m 8 m 2x2000KVA ห้องหม้อแปลงและห้องควบคุม สาหรับหม้อแปลงที่ติดตั้งในอาคาร
  • 58. การเดินสายไฟฟ้า คือการนากระแสไฟฟ้าจากแหล่งผลิตมาใช้ ณ.จุดที่ต้องการ เพื่อ 1.ให้กาลังงานในเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่นขับเคลื่อนใบพัด ของพัดลม เครื่องซักผ้า หรือทาให้เกิดความร้อนเช่นเตาไฟฟ้า เครื่องทาน้าร้อน 2.ทาให้เกิดแสงสว่างแก่หลอดไฟฟ้าประเภทต่างๆ การเดินสายไฟฟ้า แบ่งออกเป็น การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร โดยจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง และการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
  • 59. การป้องกันอันตรายเกี่ยวกับการเดินสาย 1. วงจรย่อย อาคารที่ติดตั้งดวงโคม และเครื่องใช้ไฟฟ้าเกินกว่า 10 จุด แต่ละ จุดให้ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 10 แอมแปร์ โดยแยกวงจรย่อยออก และเดินสายต่อมาที่ แผงจ่ายไฟกลาง โดยอุปกรณ์การเดินสายต่างๆ ต้องมีขนาดรับไฟได้พอสาหรับ ไฟฟ้าแต่ละจุด แต่ละวงจร 2. การป้องกันการลัดวงจร และการใช้กระแสไฟฟ้าเกินกาลัง การต่อสายเข้ากับสาย ของการไฟฟ้าฯ จะต้องมีเครื่องตัดไฟฟ้าไว้เมื่อมีการลัดวงจรหรือใช้ไฟฟ้าเกิน กาลัง โดยมีสวิตซ์เมนไว้ตัดกระแสทั้งหมดที่จ่ายเข้าสู่อาคาร และสวิตซ์ตัดตอน ทุกวงจรย่อยที่แยกจากวงจรหลัก
  • 60. การป้องกันอันตรายเกี่ยวกับการเดินสาย(ต่อ) 3. การต่อสายดิน 3.1 เปลือกนอกที่เป็นโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้าต้องต่อลงดิน 3.2 สายดินต้องเป็นทองแดง เนื้ อที่หน้าตัดสายไม่เล็กว่า 2.5 มิลลิเมตร และ ไม่จาเป็นต้องโตกว่า 70 มิลลิเมตร 3.3 ปลายสายดินต้องต่อ ประกบหรือบัดกรี กับแท่งที่เป็นอิเลคโตรด ที่ตอก ลงดิน โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 3/8 นิ้ ว และตอกลงดินไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร
  • 61. การเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร 1.ชนิดของการเดินสายไฟฟ้าในอาคาร 1.1 สายเมนภายใน สายที่เดินในเต้าเสียบ จะต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 20 ตาราง มิลลิเมตร 1.2 อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในที่ชื้ นหรือที่ถูกฝน จะต้องใช้ชนิดกันน้าได้ 1.3 สายคู่ตีเกลียวห้ามใช้เดินติดกับเพดาน ผนัง หรือพื้น ใช้ได้เฉพาะเป็นสาย ห้อยดวงโคม