SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในเขตเทศบาลเมืองเมืองนครราชสีมา
วิธีการดาเนินการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล ทาโดยใช้แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์
ที่สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบที่มีแบบทดสอบย่อย จานวน 6 ด้าน คือ ด้านการจาแนกตัวเลข
ด้านกระบวนการนับ ด้านการแทนค่าประจาหลัก ด้านกระบวนการบวก ด้านโจทย์ปัญหา และ
ด้านการบวกและการลบตามแนวตั้งและแนวนอน ไปทดสอบกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 347 คน เพื่อกาหนดเกณฑ์การตัดสิน และทดสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบคัดแยก
กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนเทศบาล 2 (สมอราย) จานวน 39 คน ทาการวิเคราะห์
ข้อมูลโดยหาค่าสถิติ ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์โดยวิธีสอบซ้า (Test – Retest Method)
และคะแนนจุดตัดในรูปแบบเปอร์เซ็นไทล์
สรุปผลการวิจัย
แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ เป็นแบบทดสอบ ใช้ทดสอบ
เด็กเป็นรายบุคคล ประกอบด้วยแบบคัดแยกย่อย จานวน 6 ด้าน คือ ด้านการจาแนก ตัวเลข
ด้านกระบวนการนับ ด้านการแทนค่าประจาหลัก ด้านกระบวนการนับ ด้านการแก้โจทย์ปัญหา
และด้านการบวกและการการลบตามแนวตั้งและแนวนอน จากการวิเคราะห์โดยการหาความ
เชื่อมั่นของแบบคัดแยกจากการวิจัยนี้ มีค่าเท่ากับ 0.98
อภิปรายผล
แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ที่พัฒนาขึ้นเป็นแบบคัดแยกที่มี
คุณภาพ สามารถใช้เพื่อการคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ในด้านต่างๆ ที่
สะท้อนลักษณะความบกพร่องทางด้านคณิตศาสตร์ ทั้งในด้านความรู้สึกเชิงจานวน ด้านการนับ
ซึ่งนักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มักมีปัญหาในเรื่องของการนับซ้า และด้าน
กระบวนการบวก ที่นักเรียนมีการใช้กลยุทธ์ในการบวกที่ไม่สมวัยจึงต้องมีการประเมินและสังเกต
30
การใช้กลยุทธ์ในการบวกของนักเรียน (Geary ; Baily & Hoard. 2009 : 269) ด้านโจทย์ปัญหา
ลักษณะความบกพร่องที่เกิดขึ้นจะเกิดจากการใช้ความคิดรวบยอดด้านคณิตศาสตร์ มาใช้ใน
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การแทนค่าประจาหลัก เป็นทักษะสาคัญเกี่ยวกับความคิดรวบยอด
ด้านคณิตศาสตร์ ที่นักเรียนต้องทราบค่าของจานวนอย่างถูกต้อง (Locuniak & Jordan. 2008 :
454) และการประเมินการบวกการลบตามแนวตั้งแนวนอน ทาให้สามารถวิเคราะห์ลักษณะของ
ความผิดพลาดของนักเรียนที่แสดงถึงปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ สามารถใช้ในการ
พัฒนาวิธีการช่วยเหลือหรือจัดการสอนซ่อมเสริมได้ (Bryant & Rivera. 1997 : 57)
ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการดาเนินการแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์กับ
นักเรียนในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครนครราชสีมา เพื่อคัดกรองปัญหาการเรียนรู้ด้าน
คณิตศาสตร์ และจัดโปรแกรมดาเนินการช่วยเหลือ
2. ควรมีการหาค่าจุดตัดของแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ในระดับจังหวัดหรือประเทศ เพื่อใช้ประกอบการช่วยเหลือหรือป้องกันปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน
คณิตศาสตร์

More Related Content

What's hot

บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1Phuntita
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Phuntita
 
บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่Phuntita
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2Phuntita
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2Phuntita
 
ผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนthkitiya
 
บทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุดบทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุดpanisaae
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘aofzasuper
 
บทที่81
บทที่81บทที่81
บทที่81puyss
 
บทที่82
บทที่82บทที่82
บทที่82puyss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 

What's hot (17)

Bee k
Bee kBee k
Bee k
 
บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2
 
ผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียน
 
Guidancegrade9
Guidancegrade9Guidancegrade9
Guidancegrade9
 
บทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุดบทที่8ใหม่ สุด
บทที่8ใหม่ สุด
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
บทที่81
บทที่81บทที่81
บทที่81
 
บทที่82
บทที่82บทที่82
บทที่82
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

Viewers also liked

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทPa'rig Prig
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentPa'rig Prig
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจPa'rig Prig
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา LdPa'rig Prig
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)Pa'rig Prig
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ LdPa'rig Prig
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukบุญรักษา ของฉัน
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8Pa'rig Prig
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7Pa'rig Prig
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 compositionPa'rig Prig
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
 
Lesson8 bp
Lesson8 bpLesson8 bp
Lesson8 bp
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
M
MM
M
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ld
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ Ld
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
 
มคอ.3 ld
มคอ.3 ldมคอ.3 ld
มคอ.3 ld
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 composition
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 

Similar to บทที่ 5.1

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อPa'rig Prig
 
นำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัยนำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัยguest897da
 
นำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัยนำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัยguest897da
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์krophut
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบkrupawit
 
Reading list (wichien 58032447) week 2
Reading list (wichien 58032447) week 2Reading list (wichien 58032447) week 2
Reading list (wichien 58032447) week 2wichien wongwan
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละApirak Potpipit
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ บทคัดย่อ
บทคัดย่อ krupat9
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 

Similar to บทที่ 5.1 (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
นำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัยนำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัย
 
นำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัยนำเสนอวิจัย
นำเสนอวิจัย
 
R nattapong
R nattapongR nattapong
R nattapong
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
 
บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบวิจัยของครูสวนกุหลาบ
วิจัยของครูสวนกุหลาบ
 
Reading list (wichien 58032447) week 2
Reading list (wichien 58032447) week 2Reading list (wichien 58032447) week 2
Reading list (wichien 58032447) week 2
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 5.1

  • 1. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในเขตเทศบาลเมืองเมืองนครราชสีมา วิธีการดาเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล ทาโดยใช้แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ด้านคณิตศาสตร์ ที่สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบที่มีแบบทดสอบย่อย จานวน 6 ด้าน คือ ด้านการจาแนกตัวเลข ด้านกระบวนการนับ ด้านการแทนค่าประจาหลัก ด้านกระบวนการบวก ด้านโจทย์ปัญหา และ ด้านการบวกและการลบตามแนวตั้งและแนวนอน ไปทดสอบกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 347 คน เพื่อกาหนดเกณฑ์การตัดสิน และทดสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบคัดแยก กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนเทศบาล 2 (สมอราย) จานวน 39 คน ทาการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยหาค่าสถิติ ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์โดยวิธีสอบซ้า (Test – Retest Method) และคะแนนจุดตัดในรูปแบบเปอร์เซ็นไทล์ สรุปผลการวิจัย แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ เป็นแบบทดสอบ ใช้ทดสอบ เด็กเป็นรายบุคคล ประกอบด้วยแบบคัดแยกย่อย จานวน 6 ด้าน คือ ด้านการจาแนก ตัวเลข ด้านกระบวนการนับ ด้านการแทนค่าประจาหลัก ด้านกระบวนการนับ ด้านการแก้โจทย์ปัญหา และด้านการบวกและการการลบตามแนวตั้งและแนวนอน จากการวิเคราะห์โดยการหาความ เชื่อมั่นของแบบคัดแยกจากการวิจัยนี้ มีค่าเท่ากับ 0.98 อภิปรายผล แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ที่พัฒนาขึ้นเป็นแบบคัดแยกที่มี คุณภาพ สามารถใช้เพื่อการคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ในด้านต่างๆ ที่ สะท้อนลักษณะความบกพร่องทางด้านคณิตศาสตร์ ทั้งในด้านความรู้สึกเชิงจานวน ด้านการนับ ซึ่งนักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มักมีปัญหาในเรื่องของการนับซ้า และด้าน กระบวนการบวก ที่นักเรียนมีการใช้กลยุทธ์ในการบวกที่ไม่สมวัยจึงต้องมีการประเมินและสังเกต
  • 2. 30 การใช้กลยุทธ์ในการบวกของนักเรียน (Geary ; Baily & Hoard. 2009 : 269) ด้านโจทย์ปัญหา ลักษณะความบกพร่องที่เกิดขึ้นจะเกิดจากการใช้ความคิดรวบยอดด้านคณิตศาสตร์ มาใช้ใน การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา การแทนค่าประจาหลัก เป็นทักษะสาคัญเกี่ยวกับความคิดรวบยอด ด้านคณิตศาสตร์ ที่นักเรียนต้องทราบค่าของจานวนอย่างถูกต้อง (Locuniak & Jordan. 2008 : 454) และการประเมินการบวกการลบตามแนวตั้งแนวนอน ทาให้สามารถวิเคราะห์ลักษณะของ ความผิดพลาดของนักเรียนที่แสดงถึงปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ สามารถใช้ในการ พัฒนาวิธีการช่วยเหลือหรือจัดการสอนซ่อมเสริมได้ (Bryant & Rivera. 1997 : 57) ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการดาเนินการแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์กับ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครนครราชสีมา เพื่อคัดกรองปัญหาการเรียนรู้ด้าน คณิตศาสตร์ และจัดโปรแกรมดาเนินการช่วยเหลือ 2. ควรมีการหาค่าจุดตัดของแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ในระดับจังหวัดหรือประเทศ เพื่อใช้ประกอบการช่วยเหลือหรือป้องกันปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน คณิตศาสตร์