SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย
การวิจัยเรื่องการพัฒนาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เป็นการดาเนิน
การสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีขั้นตอนในการสร้าง
ดังแสดงไว้ในภาพประกอบดังนี้
1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการ
สร้างแบบคัดแยก
2. ศึกษา ค้นคว้า และรวบรวม
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3. สร้างแบบคัดแยกแต่ละด้าน
ทั้งหมด 6 ด้าน
4. นาแบบคัดแยกที่ปรับปรุงแล้วไป
และค่าความเชื่อมั่นของแบบคัดแยก
5. กาหนดเกณฑ์การตัดสิน
6. เขียนคู่มือการใช้แบบคัดแยก 7. จัดพิมพ์เป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์
23
ภาพประกอบ 1 ลาดับขั้นในการสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
จากภาพประกอบเป็นลาดับขั้นในการสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน
คณิตศาสตร์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน
คณิตศาสตร์
1.1 เพื่อสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
1.2 เพื่อหาเกณฑ์การตัดสินสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสังกัด
เทศบาลนครนครราชสีมา
2. ศึกษาค้นคว้า รวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ของเกียรี (Geary. 2004) ที่แบ่งลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
ออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบทางกระบวนการ (Procedural Subtype) รูปแบบทาง
การจาความหมายทางภาษา (Semantic Memory Subtype) และรูปแบบทางมิติสัมพันธ์
ทางสายตา (Visuospatial Subtype) โดยแสดงออกมาในลักษณะของการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่
ไม่สมวัย หรือมีข้อผิดพลาดในการคานวณ และงานวิจัยที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ใช้ในการทดสอบ
พัฒนาการทางด้านคณิตศาสตร์ ด้านกระบวนการนับ และ กระบวนการบวก (Geary. 2004 :
121 – 151) และงานวิจัยของจอร์แดน (Jordan. 2003) ด้านการแทนค่าประจาหลัก และ
การแก้โจทย์ปัญหา เพื่อกาหนดลักษณะของกิจกรรมที่ใช้ในการทดสอบและวิธีดาเนินการทดสอบ
3. สร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์
สร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย
แบบคัดแยกย่อย จานวน 6 ด้าน คือ ด้านการจาแนกตัวเลข ด้านการนับ ด้านการแทนค่า
ประจาหลัก ด้านกระบวนการบวก ด้านโจทย์ปัญหา และด้านการบวกและการลบตามแนวตั้ง
และแนวนอน โดยนาข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยมาสร้างเป็นแบบคัดแยก สาหรับ
การทดสอบเป็นรายบุคคล มีรายละเอียดดังนี้
ด้านที่ 1 การจาแนกตัวเลข เป็นการทดสอบการรับรู้ตัวเลขทางสายตาของเด็ก โดยให้
เด็กดูตัวเลขแล้วบอกว่าเป็นตัวเลขใด ด้วยการชี้ตัวเลขที่เห็น จานวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 20
คะแนน
24
ด้านที่ 2 กระบวนการนับ เป็นการทดสอบกระบวนการนับของเด็ก โดยใช้หุ่นมือ
เป็นตัวนับแล้วให้นักเรียนตอบว่าหุ่นมือนับถูกหรือนับผิด จานวน 13 ครั้ง คะแนนเต็ม 13
คะแนน
ด้านที่ 3 การแทนค่าประจาหลัก เป็นการทดสอบการรู้ค่าประจาหลัก โดยการบอก
ค่าประจาหลักของเลข และการวงกลมภาพที่แทนจานวน จานวน 16 ข้อ คะแนนเต็ม 16
คะแนน
ด้านที่ 4 กระบวนการบวก เป็นการทดสอบวิธีการนับและความถูกต้องในการคานวณ
เลขในใจ โดยใช้บัตรโจทย์เลขในการทดสอบ จานวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนน
ด้านที่ 5 โจทย์ปัญหา เป็นการทดสอบการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ โดย
ผู้ทดสอบแสดงบัตรโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งอ่านโจทย์ให้นักเรียนฟัง นักเรียนสามารถใช้เหรียญเงิน
ที่จัดให้ใช้ในการคานวณได้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
ด้านที่ 6 การบวกและการลบตามแนวตั้งและแนวนอน ทดสอบการคานวณตามแนวตั้ง
และแนวนอน โดยเป็นโจทย์การบวกและการลบ จานวน 39 ข้อ คะแนนเต็ม 39 คะแนน
4. นาแบบทดสอบที่ปรับปรุงแล้วไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง
นาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ที่ปรับปรุงแล้วไปทดสอบ
กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สังกัดเทศบาลนครนครราชสีมา โรงเรียนเทศบาล 1 (บูรพา
วิทยากร) จานวน 130 คน โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดสมอราย) จานวน 95 คน โรงเรียนเทศบาล 4
(เพาะชา) จานวน 84 คน โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดป่าจิตตสามัคคี) จานวน 38 คน รวม 347 คน
5. ตรวจสอบหาคุณภาพของแบบคัดแยกด้านความเชื่อมั่น
ดาเนินการทดสอบนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนจากโรงเรียนเทศบาล 2
(สมอราย) จานวน 39 คน โดยใช้แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น ไปทดสอบ
หาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบด้วยวิธีสอบซ้า (Test – Retest method) โดยเว้นระยะห่าง
2 สัปดาห์
6. นาข้อมูลที่ได้มาหาเกณฑ์การตัดสิน
นาข้อมูลที่ได้มาตรวจให้คะแนนทั้ง 6 ด้าน แล้วนาไปคานวณหาจุดตัดในรูปแบบของ
เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) โดยใช้โปรแกรมสถิติสาเร็จรูป SPSS โดยใช้คะแนนจุดตัด
ที่สูงกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10 (ศิริพันธ์ ศรีวันยงค์. 2552 : 231)
7. เขียนคู่มือการใช้แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ และจัดพิมพ์
เป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
25
1. จัดเตรียมเครื่องมือคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้น
2. ติดต่อกับผู้บริหารโรงเรียนที่จะใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง พร้อมทั้งนัดหมายวันเวลา
ในการเก็บข้อมูล
3. นาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ไปทดสอบกับนักเรียน
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล 1 (บูรพาวิทยากร) โรงเรียน
เทศบาล 2 (วัดสมอราย) โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชา) โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดป่าจิตตสามัคคี)
รวม 347 คน
4. ดาเนินการทดสอบนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนเทศบาล 2 (สมอราย)
จานวน 39 คน โดยใช้เครื่องมือคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้น
เพื่อทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นโดยเว้นระยะห่าง 2 สัปดาห์
5. นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อกาหนดเกณฑ์การตัดสิน
กำรวิเครำะห์ข้อมูล
ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าสถิติ ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และคะแนน
เปอร์เซ็นต์ไทล์
สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
1. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยใช้วิธีสอบซ้า (Test –retest) คานวณจากสูตรดังนี้
(บุญชม ศรีสะอาด. 2535 : 84)
})(}{)({
))((
2222
yynxxn
yxxyn
rtt



เมื่อ ttr แทน ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
 แทน คะแนนสอบครั้งแรก
 แทน คะแนนสอบครั้งหลัง
n แทน จานวนผู้สอบ
2. ค่าคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) ของแบบคัดแยก โดยใช้ค่าคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์
(เยาวดี วิบูลย์ศรี. 2540 : 66) โดยมีสูตรดังนี้
Percentile =
(𝑐𝑓+
1
2
𝑓)100
𝑛
26
เมื่อ f แทน คะแนนความถี่
cf แทน ความถี่สะสม
n แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง

More Related Content

What's hot

บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1Phuntita
 
03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อ03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อkondontree
 
บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่Phuntita
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Phuntita
 
ผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนthkitiya
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2Phuntita
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2Phuntita
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 

What's hot (12)

Bee k
Bee kBee k
Bee k
 
บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1บทที่8ใหม่1
บทที่8ใหม่1
 
03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อ03 บทคัดย่อ
03 บทคัดย่อ
 
Manual
ManualManual
Manual
 
บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่บทที่8 ใหม่
บทที่8 ใหม่
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียน
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2
 
บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2บทที่8 ใหม่2
บทที่8 ใหม่2
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 

Viewers also liked

บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจPa'rig Prig
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentPa'rig Prig
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา LdPa'rig Prig
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyPa'rig Prig
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)Pa'rig Prig
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ LdPa'rig Prig
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukบุญรักษา ของฉัน
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8Pa'rig Prig
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7Pa'rig Prig
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 compositionPa'rig Prig
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทPa'rig Prig
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ld
 
M
MM
M
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ Ld
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tukขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
ขอบข่ายเทคโนโลยีทางการศีกษาวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา 2 tuk
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
มคอ.3 ld
มคอ.3 ldมคอ.3 ld
มคอ.3 ld
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
Chapter 5 composition
Chapter 5 compositionChapter 5 composition
Chapter 5 composition
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 

Similar to บทที่ 3.1

003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
เด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงานเด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงานSay Astaqfirullah
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์Say Astaqfirullah
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 

Similar to บทที่ 3.1 (20)

003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
เด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงานเด็กไม่ส่งงาน
เด็กไม่ส่งงาน
 
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
การวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Research 2005 29
Research 2005 29Research 2005 29
Research 2005 29
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

บทที่ 3.1

  • 1. บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวิจัย การวิจัยเรื่องการพัฒนาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เป็นการดาเนิน การสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ มีขั้นตอนในการสร้าง ดังแสดงไว้ในภาพประกอบดังนี้ 1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการ สร้างแบบคัดแยก 2. ศึกษา ค้นคว้า และรวบรวม งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. สร้างแบบคัดแยกแต่ละด้าน ทั้งหมด 6 ด้าน 4. นาแบบคัดแยกที่ปรับปรุงแล้วไป และค่าความเชื่อมั่นของแบบคัดแยก 5. กาหนดเกณฑ์การตัดสิน 6. เขียนคู่มือการใช้แบบคัดแยก 7. จัดพิมพ์เป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์
  • 2. 23 ภาพประกอบ 1 ลาดับขั้นในการสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ จากภาพประกอบเป็นลาดับขั้นในการสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน คณิตศาสตร์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. กาหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้าน คณิตศาสตร์ 1.1 เพื่อสร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ 1.2 เพื่อหาเกณฑ์การตัดสินสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสังกัด เทศบาลนครนครราชสีมา 2. ศึกษาค้นคว้า รวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ของเกียรี (Geary. 2004) ที่แบ่งลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบทางกระบวนการ (Procedural Subtype) รูปแบบทาง การจาความหมายทางภาษา (Semantic Memory Subtype) และรูปแบบทางมิติสัมพันธ์ ทางสายตา (Visuospatial Subtype) โดยแสดงออกมาในลักษณะของการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ ไม่สมวัย หรือมีข้อผิดพลาดในการคานวณ และงานวิจัยที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ใช้ในการทดสอบ พัฒนาการทางด้านคณิตศาสตร์ ด้านกระบวนการนับ และ กระบวนการบวก (Geary. 2004 : 121 – 151) และงานวิจัยของจอร์แดน (Jordan. 2003) ด้านการแทนค่าประจาหลัก และ การแก้โจทย์ปัญหา เพื่อกาหนดลักษณะของกิจกรรมที่ใช้ในการทดสอบและวิธีดาเนินการทดสอบ 3. สร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ สร้างแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย แบบคัดแยกย่อย จานวน 6 ด้าน คือ ด้านการจาแนกตัวเลข ด้านการนับ ด้านการแทนค่า ประจาหลัก ด้านกระบวนการบวก ด้านโจทย์ปัญหา และด้านการบวกและการลบตามแนวตั้ง และแนวนอน โดยนาข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยมาสร้างเป็นแบบคัดแยก สาหรับ การทดสอบเป็นรายบุคคล มีรายละเอียดดังนี้ ด้านที่ 1 การจาแนกตัวเลข เป็นการทดสอบการรับรู้ตัวเลขทางสายตาของเด็ก โดยให้ เด็กดูตัวเลขแล้วบอกว่าเป็นตัวเลขใด ด้วยการชี้ตัวเลขที่เห็น จานวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนน
  • 3. 24 ด้านที่ 2 กระบวนการนับ เป็นการทดสอบกระบวนการนับของเด็ก โดยใช้หุ่นมือ เป็นตัวนับแล้วให้นักเรียนตอบว่าหุ่นมือนับถูกหรือนับผิด จานวน 13 ครั้ง คะแนนเต็ม 13 คะแนน ด้านที่ 3 การแทนค่าประจาหลัก เป็นการทดสอบการรู้ค่าประจาหลัก โดยการบอก ค่าประจาหลักของเลข และการวงกลมภาพที่แทนจานวน จานวน 16 ข้อ คะแนนเต็ม 16 คะแนน ด้านที่ 4 กระบวนการบวก เป็นการทดสอบวิธีการนับและความถูกต้องในการคานวณ เลขในใจ โดยใช้บัตรโจทย์เลขในการทดสอบ จานวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนน ด้านที่ 5 โจทย์ปัญหา เป็นการทดสอบการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ โดย ผู้ทดสอบแสดงบัตรโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งอ่านโจทย์ให้นักเรียนฟัง นักเรียนสามารถใช้เหรียญเงิน ที่จัดให้ใช้ในการคานวณได้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ด้านที่ 6 การบวกและการลบตามแนวตั้งและแนวนอน ทดสอบการคานวณตามแนวตั้ง และแนวนอน โดยเป็นโจทย์การบวกและการลบ จานวน 39 ข้อ คะแนนเต็ม 39 คะแนน 4. นาแบบทดสอบที่ปรับปรุงแล้วไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง นาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ที่ปรับปรุงแล้วไปทดสอบ กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สังกัดเทศบาลนครนครราชสีมา โรงเรียนเทศบาล 1 (บูรพา วิทยากร) จานวน 130 คน โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดสมอราย) จานวน 95 คน โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชา) จานวน 84 คน โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดป่าจิตตสามัคคี) จานวน 38 คน รวม 347 คน 5. ตรวจสอบหาคุณภาพของแบบคัดแยกด้านความเชื่อมั่น ดาเนินการทดสอบนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนจากโรงเรียนเทศบาล 2 (สมอราย) จานวน 39 คน โดยใช้แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น ไปทดสอบ หาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบด้วยวิธีสอบซ้า (Test – Retest method) โดยเว้นระยะห่าง 2 สัปดาห์ 6. นาข้อมูลที่ได้มาหาเกณฑ์การตัดสิน นาข้อมูลที่ได้มาตรวจให้คะแนนทั้ง 6 ด้าน แล้วนาไปคานวณหาจุดตัดในรูปแบบของ เปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) โดยใช้โปรแกรมสถิติสาเร็จรูป SPSS โดยใช้คะแนนจุดตัด ที่สูงกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10 (ศิริพันธ์ ศรีวันยงค์. 2552 : 231) 7. เขียนคู่มือการใช้แบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ และจัดพิมพ์ เป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
  • 4. 25 1. จัดเตรียมเครื่องมือคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้น 2. ติดต่อกับผู้บริหารโรงเรียนที่จะใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง พร้อมทั้งนัดหมายวันเวลา ในการเก็บข้อมูล 3. นาแบบคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ ไปทดสอบกับนักเรียน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 4 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล 1 (บูรพาวิทยากร) โรงเรียน เทศบาล 2 (วัดสมอราย) โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชา) โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดป่าจิตตสามัคคี) รวม 347 คน 4. ดาเนินการทดสอบนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โรงเรียนเทศบาล 2 (สมอราย) จานวน 39 คน โดยใช้เครื่องมือคัดแยกเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้น เพื่อทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นโดยเว้นระยะห่าง 2 สัปดาห์ 5. นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อกาหนดเกณฑ์การตัดสิน กำรวิเครำะห์ข้อมูล ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าสถิติ ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และคะแนน เปอร์เซ็นต์ไทล์ สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล 1. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยใช้วิธีสอบซ้า (Test –retest) คานวณจากสูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2535 : 84) })(}{)({ ))(( 2222 yynxxn yxxyn rtt    เมื่อ ttr แทน ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ  แทน คะแนนสอบครั้งแรก  แทน คะแนนสอบครั้งหลัง n แทน จานวนผู้สอบ 2. ค่าคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ (Percentile) ของแบบคัดแยก โดยใช้ค่าคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ (เยาวดี วิบูลย์ศรี. 2540 : 66) โดยมีสูตรดังนี้ Percentile = (𝑐𝑓+ 1 2 𝑓)100 𝑛
  • 5. 26 เมื่อ f แทน คะแนนความถี่ cf แทน ความถี่สะสม n แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง