SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ชีวภาค
วิชาญ พันธุ์ดี
พืชพรรณแบ่ง 6 ประเภท
1. พืชต้น (Tree) เป็นพืชที่มีเนื้อไม้ มักมีลาต้นเหยียดขึ้นสูงตรง มี
กิ่งก้านซึ่งแผ่อยู่สูงจากพื้นดิน ไม่ตายในระยะรอบปี
2. พืชพุ่ม (Shrub) เป็นพืชที่มีเนื้อไม้ ลาต้นเตี้ย มีกิ่งก้านซึ่งแผ่อยู่
ใกล้ผิวดิน ไม่ตายในระยะรอบปี
3. ไม้เลื้อย (Lianas wood) ลาต้นเป็นเถาแข็งเป็นเนื้อไม้ แต่
จะเลื้อยเกี่ยวพันไปกับต้นไม้อื่น เช่น เถาวัลย์ เฟื่องฟ้า ฯลฯ
4. ผัก (Herbs) พืชลาต้นอ่อน ไม่มีเนื้อไม้ บางชนิดอาจอายุยืนนาน
บางชนิดอาจตายในรอบปี ใบกว้างเรียกว่า วัชพืช (Weed) ใบคายแถบ
ยาวเรียกว่า หญ้า (Grass) มักเตี้ยกว่าสามประเภทที่กล่าวมา
5. ตะไคร่น้ำ (Bryoids) เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ติดกับผิวดินหรือติดกับ
พืชต้น
6. พืชเกำะไม้ (Epiphytes) เป็นพืชที่เกาะอยู่กับพืชอื่น อาศัย
รากอากาศ หาอาหาร เช่น กล้วยไม้ สีดา กาฝาก ฯลฯ
การจาแนกลักษณะพืช
พรรณ
1. พืชพรรณป่าไม้ พื้นที่ที่มีต้นไม้หลายชนิดขึ้นคละปะปนกัน ใบไม้กิ่งไม้
จะบังแสงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงากว้าง เนื่องจากแสงแดดส่องพื้นดินได้น้อย
ความสูงของต้นไม้มีมากกว่าหนึ่งชั้น มีปริมาณหยาดน้าฟ้าต่อปีสูง พบ
ตั้งแต่เขตชุ่มชื้นบริเวณศูนย์สูตรไปจนถึงเขตหนาวเย็นกึ่งอาร์กติก
2. พืชพรรณสะวันนา ประกอบด้วยต้นไม้ขึ้นอยู่เป็นหย่อม ๆ และมีหญ้า
ขึ้นรอบต้นไม้ (คล้ายสวนสาธารณะ) ต้นไม้ขึ้นกระจายอยู่ห่างกันและก็มี
ลักษณะของไม้พุ่ม หญ้าที่ขึ้นปะปนกับเรียวหนาม ลักษณะอากาศมี
ช่วงเวลาแล้ง และการกระจายของฝนประจาปีมีจากัด
3. พืชพรรณทุ่งหญ้า มักเป็นพืชพรรณที่ขึ้นอยู่บริเวณที่สูง และ
ประกอบด้วยผัก ซึ่งขึ้นปะปนอยู่กับต้นหญ้า พืชคล้ายหญ้าและหญ้าใบ
กว้าง พืชคลุมดินมักขึ้นติดต่อกันหนาแน่น แต่บางตอนอาจจะปกคลุมเป็น
หย่อม ต้นไม้มักขึ้นบริเวณริมลาธารหรือบริเวณที่มีน้าใต้ดิน ลักษณะ
อากาศจะมีปริมาณฝนเฉลี่ยต่อปีน้อย อุณหภูมิร้อนและหนาวจัด
4. พืชพรรณทะเลทราย อยู่ในบริเวณที่มีอากาศแห้งแล้งมาก ต้นไม้จะขึ้น
กระจัดกระจายกันอยู่ห่าง ๆ พื้นดินส่วนมากไม่มีอะไรปกคลุม ทาให้ได้รับ
อิทธิพลจากลม น้าและน้าแข็ง พืชส่วนใหญ่เป็นพวก ผัก ตะไคร่น้า ไลเคน
มีลักษณะภูมิอากาศตั้งแต่ทะเลทรายในเขตร้อนที่รุนแรงไปถึงทะเลทราย
ในเขตหนาวจัด
พืชพรรณป่าไม้
1. ป่ำไม้เขตศูนย์สูตร (Equatorial rain forest) ลุ่ม
แม่น้าะเมซอน ลุ่มแม่น้า คองโก ชายฝั่งไนจีเรียและอ่าวกินี หมู่เกาะอินเดีย
ตะวันออก เกาะสุมาตราทางตะวันตกไปจนถึงหมู่เกาะตอนกลางของ
มหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งของ เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งอยู่
ในลักษณะอากาศแบบมรสุม2. ป่ำดงดิบ (Tropical rain forest) ส่วนมากพบตามฝั่ง
ด้านรับลม ตั้งแต่ 10 - 25 องศา ไม่มีระยะความแห้งแล้งที่แท้จริง
ชายฝั่งด้านตะวันตกของอินเดียและชายฝั่งของพม่า ชายฝั่งของเวียดนาม
ฟิลิปปินส์ ตะวันออกของบราซิล ชายฝั่งของเกาะมาดากัสการ์ ชายฝั่ง
ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย
A เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น (Tropical climate) มี
อุณหภูมิเฉลี่ยทุกเดือน สูงกว่า 64.4 องศา F (18 องศา C) ไม่มีฤดูหนาว
เลย ปริมาณเฉลี่ยค่อนข้างสูง
ป่ำไม้เขตศูนย์สูตร (Equatorial rainforest)
3. ป่ำมรสุมหรือป่ำโปร่ง (Monsoon forest) พม่า
ไทย กัมพูชา แอฟริกาตะวันตก อเมริกากลางและอเมริกาใต้ เกาะชวาและ
ซีเลเบสของอินโดนีเชีย ตอนเหนือของออสเตรเลีย และทางตะวันตกของ
เกาะมาดากัสการ์4. ป่ำดงดิบในเขตอบอุ่น (Temperate rain forest)
ตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่นและตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ใน
นิวซีแลนด์ หมู่เกาะอะซอร์ส หมู่เกาะคานารี ทวีปยุโรป
5. ป่ำไม้ผลัดใบในเขตอบอุ่น (Temperate
deciduous forest) ตะวันออกเฉียงเหนือของอเมริกา ทาง
ตะวันตกของยุโรป6. ป่ำสน (Pine forest) อยู่ทางตอนเหนือของอเมริกาและตอน
เหนือของยูเรเซีย ไซบีเรีย ยุโรป
7. ป่ำไม้เนื้อแข็งที่เขียวตลอดทั้งปี (Evergreen-
hardwood forest) อยู่บริเวณชายฝั่งแคลิฟอร์เนีย ประเทศชิลี
ตอนใต้สุดของทวีปแอฟริกา ตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลางทางใต้ และ
การกระจายของป่ามรสุมหรือป่าโปร่งบริเวณทวีปเอเชีย
ป่ำดงดิบในเขตอบอุ่น (Temperate rain forest)
ป่าไม้ผลัดใบในเขตอบอุ่น (Temperate deciduous forest)
ป่าสน (Needle leaf forest)
ป่าไม้เนื้อแข็งที่เขียวตลอดปี
(Evergreen hardwood forest)
1. ป่ำไม้สะวันนำ (Savanna woosland) อยู่ทางตะวันตก
ของสหรัฐอเมริกา เหนือเขตไม้พุ่มและอยู่ตอนใต้ของป่าสน ทางใต้ของ
ออสเตรเลีย ทวีป แอฟริกา อเมริกาใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอน
เหนือของออสเตรเลีย อเมริกากลางและหมู่เกาะแถบแคริเบียน
พืชพรรณสะวันนา
2. ไม้พุ่มมีหนำมและไม้พุ่มในเขตร้อน (Thornbush
and tropical scrub) พบอยู่หลายส่วนของโลกที่มีลักษณะอากาศ
ร้อนที่มีฤดูฝนสลับฤดูแล้ง เช่น ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล
3. สะวันนา (Savanna) เป็นทุ่งหญ้าในแอฟริกา บริเวณที่สูงของ
ซูดาน ประเทศเคนยา แทนซาเนีย และทุ่งหญ้าสะวันนาตอนในของที่สูง
บราซิล4. พืชกึ่งทะเลทรำย (Semidesert) พบมากบริเวณตอนกลาง
และตอนใต้ของเทือกเขาร็อกกีและที่ราบสูงโคโรลาโด ทางด้านตะวันตกของ
B เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง (Dry climate) มีอัตราการระเหย
ของน้ามากกว่าปริมาณความชื้นที่ได้รับแต่ละปี มีฝนตกน้อยตามบริเวณต่าง
ๆ ไม่มีร่องน้าที่น้าสามารถไหลได้ตลอดปี
ป่าไม้สะวันนา (Savanna woodland)
พืชพรรณสะวันนา (Savanna)
พืชกึ่งทะเลทราย (Semi desert)
ไม้เขตหนาว (Cold wood land)
5. ต้นไม้เตี้ย (Heath) พบเป็นบริเวณแคบ ๆ ในเขตอากาศเย็น
แบบภาคพื้นสมุทร พบมากในไอร์แลนด์ ชายฝั่งทางด้านตะวันตกของ
British isles เขตตะวันตกและตอนกลางทางเหนือของยุโรป
6. ไม้เขตหนำว (Cold woodland) พบบริเวณที่มีอากาศ
หนาวเย็นมากใกล้เขตอาร์กติกและภูมิอากาศแบบทุนดรา ในตอนเหนือ
ของทวีปอเมริกาเหนือ ตอนเหนือของสแกนดิเนเวีย ไซบีเรีย ทางด้าน
ตะวันตกเฉียงเหนือของแคนาดาและอะลาสกา
พืชพรรณทุ่งหญ้า
1. ทุ่งหญ้ำแพรรี่ (Prairie) พบในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่มลรัฐ
อิลลินอยส์ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ไปถึงทางใต้ของรัฐแอลเบอร์ต้า
และซาลแกตเชวัน ทุ่งหญ้าแพรรี่ในยุโรปมีอยู่ในอังการี ชื่อ ปุสตา
(Puszta) อาร์เจนตินา ชื่อ ปามปา และที่อยู่ทางตอนเหนือของจีน
2. ทุ่งหญ้ำสเตปป์ (Steppe) พบมากระหว่างละติจูด 0 - 55
องศาเหนือ หรือจาก 0 - 45 องศาใต้ ทุ่งหญ้าสเตปป์ ในเขตละติจูดต่าจะ
พบว่าอยู่ติดกับบริเวณพืชพรรณภูมิอากาศร้อนที่มีฤดูแล้ง
3. ทุ่งหญ้ำในเขตทุนดรำ (Grassy tundra) พบในเขต
หนาวจัด เกิดได้ทุกที่ที่พอจะเป็นลักษณะอากาศแบบทุนดราภูเขา
1. พืชพรรณแห้งแล้งแบบทะเลทรำย (Dry desert)
พบบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ทะเลทรายสะฮารา
พืชพรรณแบบทะเลทราย
2. พืชชั้นต่ำในเขตอำร์กติก (Arctic fell field) อยู่ใน
เขตอากาศหนาวจัดมีน้าแข็งปกคลุม เช่น ทางตอนเหนือของเกาะแบฟฟิน
แอนตาร์กติกา
ทุ่งหญ้าแพรรี่ (Prairie)
ทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe)
พืชพรรณแห้งแล้งแบบทะเลทราย (Dry desert)
C เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่น (Warm temperate
(Mesothermal) climate) เดือนที่หนาวที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า
64.4 องศา F (18 องศา C ) แต่สูงกว่า26.6 องศา F (-3 องศา C ) และอย่าง
น้อยเป็นเวลา 1 เดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 50 องศา F (10 องศา C ) มีทั้ง
ฤดูร้อนและฤดูหนาว
D ภูมิอากาศหนาวมีหิมะตก (Snow Microthermal climate)
เดือนที่หนาวที่สุดอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 26.6 องศา F (-3 องศา C ) เดือนที่
ร้อนที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 50 องศา F (10 องศา C) ตามแนวของเส้น
ไอโซเทอมทางเหนือสุดของเดือนที่ร้อนที่สุดของภูมิอากาศแบบ D เป็นแนวที่
ต้นไม้เจริญเติบโตได้
E ภูมิอากาศที่มีน้าแข็งปกคลุม (Ice climate) อุณหภูมิเฉลี่ยเดือนที่ร้อน
ที่สุดต่ากว่า 50 องศา F (10 องศา C ) ไม่มีฤดูร้อนเลย
H ภูมิอากาศแบบยึดความสูงของพื้นที่ เช่น บนยอดเขา
พืชพรรณธรรมชาติในประเทศไทย
1. ป่ าไม้ผลัด
1.1 ป่ าเบญจพรรณ (สัก ประดู่ ตะแบก มะค่า และไผ่)
1.2 ป่ าเต็งรัง ป่ าแดง หรือป่ าแพะ (เต็ง รัง พลวง เหียง และมะขามป้อม)
1.3 ป่ าหญ้า (หญ้าคา สาบเสือ และหญ้าขจรจบ)
2. ป่ าไม้ไม่ผลัดใบ
2.1 ป่ าดงดิบชื้น
2.2 ป่ าดงดิบแล้ง
2.3 ป่ าดงดิบเขา
2.4 ป่ าสนเขา
2.5 ป่ าโกงกาง
2.6 ป่ าบึงหรือป่ าพรุ

More Related Content

What's hot

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 

Similar to ชีวภาค

สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้Alatreon Deathqz
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบnangna
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
ไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุกไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุกArtit Songsee
 
การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบnam34348skw
 
การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบnam34348skw
 

Similar to ชีวภาค (20)

สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
North america
North americaNorth america
North america
 
เกม
เกมเกม
เกม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
ป่าไม้
ป่าไม้ป่าไม้
ป่าไม้
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
LA445 02
LA445 02LA445 02
LA445 02
 
ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
กุหลาบ
กุหลาบกุหลาบ
กุหลาบ
 
สตรอว์เบอร์รี
สตรอว์เบอร์รีสตรอว์เบอร์รี
สตรอว์เบอร์รี
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ
 
Forest
ForestForest
Forest
 
ไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุกไม้ดอกล้มลุก
ไม้ดอกล้มลุก
 
การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบ
 
การปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบการปลูกต้นกุหลาบ
การปลูกต้นกุหลาบ
 

More from Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

More from Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 
Bath room (1)
Bath room (1)Bath room (1)
Bath room (1)
 

ชีวภาค

  • 2. พืชพรรณแบ่ง 6 ประเภท 1. พืชต้น (Tree) เป็นพืชที่มีเนื้อไม้ มักมีลาต้นเหยียดขึ้นสูงตรง มี กิ่งก้านซึ่งแผ่อยู่สูงจากพื้นดิน ไม่ตายในระยะรอบปี 2. พืชพุ่ม (Shrub) เป็นพืชที่มีเนื้อไม้ ลาต้นเตี้ย มีกิ่งก้านซึ่งแผ่อยู่ ใกล้ผิวดิน ไม่ตายในระยะรอบปี 3. ไม้เลื้อย (Lianas wood) ลาต้นเป็นเถาแข็งเป็นเนื้อไม้ แต่ จะเลื้อยเกี่ยวพันไปกับต้นไม้อื่น เช่น เถาวัลย์ เฟื่องฟ้า ฯลฯ 4. ผัก (Herbs) พืชลาต้นอ่อน ไม่มีเนื้อไม้ บางชนิดอาจอายุยืนนาน บางชนิดอาจตายในรอบปี ใบกว้างเรียกว่า วัชพืช (Weed) ใบคายแถบ ยาวเรียกว่า หญ้า (Grass) มักเตี้ยกว่าสามประเภทที่กล่าวมา
  • 3. 5. ตะไคร่น้ำ (Bryoids) เป็นพืชที่ขึ้นอยู่ติดกับผิวดินหรือติดกับ พืชต้น 6. พืชเกำะไม้ (Epiphytes) เป็นพืชที่เกาะอยู่กับพืชอื่น อาศัย รากอากาศ หาอาหาร เช่น กล้วยไม้ สีดา กาฝาก ฯลฯ
  • 4. การจาแนกลักษณะพืช พรรณ 1. พืชพรรณป่าไม้ พื้นที่ที่มีต้นไม้หลายชนิดขึ้นคละปะปนกัน ใบไม้กิ่งไม้ จะบังแสงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงากว้าง เนื่องจากแสงแดดส่องพื้นดินได้น้อย ความสูงของต้นไม้มีมากกว่าหนึ่งชั้น มีปริมาณหยาดน้าฟ้าต่อปีสูง พบ ตั้งแต่เขตชุ่มชื้นบริเวณศูนย์สูตรไปจนถึงเขตหนาวเย็นกึ่งอาร์กติก 2. พืชพรรณสะวันนา ประกอบด้วยต้นไม้ขึ้นอยู่เป็นหย่อม ๆ และมีหญ้า ขึ้นรอบต้นไม้ (คล้ายสวนสาธารณะ) ต้นไม้ขึ้นกระจายอยู่ห่างกันและก็มี ลักษณะของไม้พุ่ม หญ้าที่ขึ้นปะปนกับเรียวหนาม ลักษณะอากาศมี ช่วงเวลาแล้ง และการกระจายของฝนประจาปีมีจากัด
  • 5. 3. พืชพรรณทุ่งหญ้า มักเป็นพืชพรรณที่ขึ้นอยู่บริเวณที่สูง และ ประกอบด้วยผัก ซึ่งขึ้นปะปนอยู่กับต้นหญ้า พืชคล้ายหญ้าและหญ้าใบ กว้าง พืชคลุมดินมักขึ้นติดต่อกันหนาแน่น แต่บางตอนอาจจะปกคลุมเป็น หย่อม ต้นไม้มักขึ้นบริเวณริมลาธารหรือบริเวณที่มีน้าใต้ดิน ลักษณะ อากาศจะมีปริมาณฝนเฉลี่ยต่อปีน้อย อุณหภูมิร้อนและหนาวจัด 4. พืชพรรณทะเลทราย อยู่ในบริเวณที่มีอากาศแห้งแล้งมาก ต้นไม้จะขึ้น กระจัดกระจายกันอยู่ห่าง ๆ พื้นดินส่วนมากไม่มีอะไรปกคลุม ทาให้ได้รับ อิทธิพลจากลม น้าและน้าแข็ง พืชส่วนใหญ่เป็นพวก ผัก ตะไคร่น้า ไลเคน มีลักษณะภูมิอากาศตั้งแต่ทะเลทรายในเขตร้อนที่รุนแรงไปถึงทะเลทราย ในเขตหนาวจัด
  • 6. พืชพรรณป่าไม้ 1. ป่ำไม้เขตศูนย์สูตร (Equatorial rain forest) ลุ่ม แม่น้าะเมซอน ลุ่มแม่น้า คองโก ชายฝั่งไนจีเรียและอ่าวกินี หมู่เกาะอินเดีย ตะวันออก เกาะสุมาตราทางตะวันตกไปจนถึงหมู่เกาะตอนกลางของ มหาสมุทรแปซิฟิก ชายฝั่งของ เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งอยู่ ในลักษณะอากาศแบบมรสุม2. ป่ำดงดิบ (Tropical rain forest) ส่วนมากพบตามฝั่ง ด้านรับลม ตั้งแต่ 10 - 25 องศา ไม่มีระยะความแห้งแล้งที่แท้จริง ชายฝั่งด้านตะวันตกของอินเดียและชายฝั่งของพม่า ชายฝั่งของเวียดนาม ฟิลิปปินส์ ตะวันออกของบราซิล ชายฝั่งของเกาะมาดากัสการ์ ชายฝั่ง ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย
  • 7. A เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น (Tropical climate) มี อุณหภูมิเฉลี่ยทุกเดือน สูงกว่า 64.4 องศา F (18 องศา C) ไม่มีฤดูหนาว เลย ปริมาณเฉลี่ยค่อนข้างสูง
  • 8.
  • 10. 3. ป่ำมรสุมหรือป่ำโปร่ง (Monsoon forest) พม่า ไทย กัมพูชา แอฟริกาตะวันตก อเมริกากลางและอเมริกาใต้ เกาะชวาและ ซีเลเบสของอินโดนีเชีย ตอนเหนือของออสเตรเลีย และทางตะวันตกของ เกาะมาดากัสการ์4. ป่ำดงดิบในเขตอบอุ่น (Temperate rain forest) ตอนใต้ของประเทศญี่ปุ่นและตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ใน นิวซีแลนด์ หมู่เกาะอะซอร์ส หมู่เกาะคานารี ทวีปยุโรป 5. ป่ำไม้ผลัดใบในเขตอบอุ่น (Temperate deciduous forest) ตะวันออกเฉียงเหนือของอเมริกา ทาง ตะวันตกของยุโรป6. ป่ำสน (Pine forest) อยู่ทางตอนเหนือของอเมริกาและตอน เหนือของยูเรเซีย ไซบีเรีย ยุโรป 7. ป่ำไม้เนื้อแข็งที่เขียวตลอดทั้งปี (Evergreen- hardwood forest) อยู่บริเวณชายฝั่งแคลิฟอร์เนีย ประเทศชิลี ตอนใต้สุดของทวีปแอฟริกา ตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลางทางใต้ และ
  • 16. 1. ป่ำไม้สะวันนำ (Savanna woosland) อยู่ทางตะวันตก ของสหรัฐอเมริกา เหนือเขตไม้พุ่มและอยู่ตอนใต้ของป่าสน ทางใต้ของ ออสเตรเลีย ทวีป แอฟริกา อเมริกาใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตอน เหนือของออสเตรเลีย อเมริกากลางและหมู่เกาะแถบแคริเบียน พืชพรรณสะวันนา 2. ไม้พุ่มมีหนำมและไม้พุ่มในเขตร้อน (Thornbush and tropical scrub) พบอยู่หลายส่วนของโลกที่มีลักษณะอากาศ ร้อนที่มีฤดูฝนสลับฤดูแล้ง เช่น ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของบราซิล 3. สะวันนา (Savanna) เป็นทุ่งหญ้าในแอฟริกา บริเวณที่สูงของ ซูดาน ประเทศเคนยา แทนซาเนีย และทุ่งหญ้าสะวันนาตอนในของที่สูง บราซิล4. พืชกึ่งทะเลทรำย (Semidesert) พบมากบริเวณตอนกลาง และตอนใต้ของเทือกเขาร็อกกีและที่ราบสูงโคโรลาโด ทางด้านตะวันตกของ
  • 17. B เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง (Dry climate) มีอัตราการระเหย ของน้ามากกว่าปริมาณความชื้นที่ได้รับแต่ละปี มีฝนตกน้อยตามบริเวณต่าง ๆ ไม่มีร่องน้าที่น้าสามารถไหลได้ตลอดปี
  • 18.
  • 23. 5. ต้นไม้เตี้ย (Heath) พบเป็นบริเวณแคบ ๆ ในเขตอากาศเย็น แบบภาคพื้นสมุทร พบมากในไอร์แลนด์ ชายฝั่งทางด้านตะวันตกของ British isles เขตตะวันตกและตอนกลางทางเหนือของยุโรป 6. ไม้เขตหนำว (Cold woodland) พบบริเวณที่มีอากาศ หนาวเย็นมากใกล้เขตอาร์กติกและภูมิอากาศแบบทุนดรา ในตอนเหนือ ของทวีปอเมริกาเหนือ ตอนเหนือของสแกนดิเนเวีย ไซบีเรีย ทางด้าน ตะวันตกเฉียงเหนือของแคนาดาและอะลาสกา พืชพรรณทุ่งหญ้า 1. ทุ่งหญ้ำแพรรี่ (Prairie) พบในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่มลรัฐ อิลลินอยส์ทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ไปถึงทางใต้ของรัฐแอลเบอร์ต้า และซาลแกตเชวัน ทุ่งหญ้าแพรรี่ในยุโรปมีอยู่ในอังการี ชื่อ ปุสตา (Puszta) อาร์เจนตินา ชื่อ ปามปา และที่อยู่ทางตอนเหนือของจีน
  • 24. 2. ทุ่งหญ้ำสเตปป์ (Steppe) พบมากระหว่างละติจูด 0 - 55 องศาเหนือ หรือจาก 0 - 45 องศาใต้ ทุ่งหญ้าสเตปป์ ในเขตละติจูดต่าจะ พบว่าอยู่ติดกับบริเวณพืชพรรณภูมิอากาศร้อนที่มีฤดูแล้ง 3. ทุ่งหญ้ำในเขตทุนดรำ (Grassy tundra) พบในเขต หนาวจัด เกิดได้ทุกที่ที่พอจะเป็นลักษณะอากาศแบบทุนดราภูเขา 1. พืชพรรณแห้งแล้งแบบทะเลทรำย (Dry desert) พบบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ทะเลทรายสะฮารา พืชพรรณแบบทะเลทราย 2. พืชชั้นต่ำในเขตอำร์กติก (Arctic fell field) อยู่ใน เขตอากาศหนาวจัดมีน้าแข็งปกคลุม เช่น ทางตอนเหนือของเกาะแบฟฟิน แอนตาร์กติกา
  • 28. C เป็นลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่น (Warm temperate (Mesothermal) climate) เดือนที่หนาวที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 64.4 องศา F (18 องศา C ) แต่สูงกว่า26.6 องศา F (-3 องศา C ) และอย่าง น้อยเป็นเวลา 1 เดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 50 องศา F (10 องศา C ) มีทั้ง ฤดูร้อนและฤดูหนาว
  • 29.
  • 30. D ภูมิอากาศหนาวมีหิมะตก (Snow Microthermal climate) เดือนที่หนาวที่สุดอุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 26.6 องศา F (-3 องศา C ) เดือนที่ ร้อนที่สุดมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 50 องศา F (10 องศา C) ตามแนวของเส้น ไอโซเทอมทางเหนือสุดของเดือนที่ร้อนที่สุดของภูมิอากาศแบบ D เป็นแนวที่ ต้นไม้เจริญเติบโตได้
  • 31.
  • 32. E ภูมิอากาศที่มีน้าแข็งปกคลุม (Ice climate) อุณหภูมิเฉลี่ยเดือนที่ร้อน ที่สุดต่ากว่า 50 องศา F (10 องศา C ) ไม่มีฤดูร้อนเลย
  • 33.
  • 35.
  • 36. พืชพรรณธรรมชาติในประเทศไทย 1. ป่ าไม้ผลัด 1.1 ป่ าเบญจพรรณ (สัก ประดู่ ตะแบก มะค่า และไผ่) 1.2 ป่ าเต็งรัง ป่ าแดง หรือป่ าแพะ (เต็ง รัง พลวง เหียง และมะขามป้อม) 1.3 ป่ าหญ้า (หญ้าคา สาบเสือ และหญ้าขจรจบ) 2. ป่ าไม้ไม่ผลัดใบ 2.1 ป่ าดงดิบชื้น 2.2 ป่ าดงดิบแล้ง 2.3 ป่ าดงดิบเขา 2.4 ป่ าสนเขา 2.5 ป่ าโกงกาง 2.6 ป่ าบึงหรือป่ าพรุ