SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
เรียนให้มีวินัย
และความรับผิดชอบ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6/5
ปีการศึกษา 2553
นางโสภา ธีร์จิรัญญ์
โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา
มูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประ
ทศไทย
กิตติกรรมประกาศ
การจัดทำาวิจัยฉบับนี้ ได้รับความร่วมมือและความช่วยเหลือเป็น
อย่างดีจากคุณครูผู้สอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกท่าน ขอ
ขอบคุณท่านเจ้าของเอกสาร บทความ ทฤษฎีและงานวิจัยต่าง ๆ
ตลอดจนบรรณารักษ์ของห้องสมุดโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา ที่
ให้ความช่วยเหลือในการค้นคว้าเอกสารอ้างอิง พร้อมทั้งนักเรียน และผู้
ปกครอง ที่ให้การสนับสนุนในการจัดทำาวิจัย
นางโสภา ธีร์จิรั
ญญ์
31 มีนาคม 2554
สารบัญ
บทที่ 1 ความเป็นมาและความสำาคัญ
ความสำาคัญของการศึกษา ...…..
……………………............................................. 1
วัตถุประสงค์.
……………………………………….........................................
2
สมมุติฐานการวิจัย.
……………………..................................................................
... 2
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า..
………….................................................................... 2
นิยามศัพท์เฉพาะ....
……………………………….....................................................
. 2
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
จิตวิทยาการศึกษา ……………………..
………………………….............................. 3
เจตคติ (Attitude) ……………………..
………………………….............................. 8
ทฤษฎีแรงจูงใจ ……………………..
…………………………................................. 14
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข แบบแบบการกระทำาของสกิน
เนอร์………………… 15
บทที่ 3 วิธีการดำาเนินการศึกษาค้นคว้า
ขั้นตอนการดำาเนินการวิจัย …...
……………………..................................... 16
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
……………………………………….............................
17
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
……………………………............................................. 17
การเก็บรวบรวมข้อมูล
……………………......................................................... 17
การวิเคราะห์ข้อมูล
……………………......................................................... 17
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
...............................................................................
.......... 18
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
………………………........................................ 21
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ความมุ่งหมาย
………………………………………..............................
23
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ..
……………………………........................................... 23
เครื่องที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
……………………………............................... 23
วิธีการดำาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล………..
………………...................................... 23
สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล ………………..
…......................................................... 23 ข้อเสนอแนะ
……………….
…………………................................................. 25
บรรณานุกรม
บทคัดย่อ
งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่
และการเรียนดีขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 ปีการศึกษา
2553 โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูล
จากการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมูลด้านการเรียนของแต่ละวิชา และการ
ตอบแบบสอบถามจากนักเรียน การใช้แรงจูงใจเสริมแรงโดยให้คำา
ชมเชยแก่นักเรียน รวมทั้งดูแลด้านการเรียนให้มีความรับผิดชอบ สนใจ
เรียน และติดตามจากผู้ปกครอง คุณครูที่เข้าสอนแต่ละวิชา ทำาให้
นักเรียนมีความกระตือรือร้นต่อการมาเรียนและการเรียนมากขึ้น มีความ
เอาใจใส่ต่อการเรียน รับผิดชอบและสนใจเรียนมากขึ้น ทำาให้
บรรยากาศการเรียนภายในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความตั้งใจ
เรียนมากขึ้น มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ไม่ขาดเรียนหรือมาสาย
ทำางานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงกำาหนดเวลา รู้จักช่วยเหลือซึ่งกัน
และกันด้วยความเต็มใจ
บทที่ 1
ความเป็นมาและความสำาคัญ
ปัจจุบันสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน ทั้งในด้าน
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง จึงจำาเป็นต้องอาศัยองค์
ประกอบต่าง ๆ มาเกื้อหนุนกัน ซึ่งต้องมีการพัฒนาโดยต้องคำานึง
ถึงทรัพยากรที่มีคุณภาพและสิ่งที่สำาคัญที่สุดคือทรัพยากรบุคคลที่มี
คุณภาพ โดยจะต้องมีคุณสมบัติด้านสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจที่ดี
มีสติปัญญา มีความรู้ความสามารถ มีความอดทน ขยันขันแข็ง ไม่
ย่อท้อต่อความยากลำาบาก กล้าเผชิญปัญหาและอุปสรรคด้วยความมุ่งมั่น
ถ้ามนุษย์ทุกคนมีคุณสมบัติดังกล่าวก็จะเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ซึ่งจะเป็น
วัฒนธรรมที่ทุกคนในสังคมต้องปฏิบัติ เพราะจะทำาให้สังคมอยู่ร่วมกัน
อย่างมีความสุข วินัยจึงเป็นคุณธรรมที่ควรสร้างและปลูกฝังให้ทุกคนใช้
เป็นแนวทางสำาหรับบังคับพฤติกรรมของตนเอง ทำาให้บรรลุตามจุดหมาย
ของชีวิตและประสบความสำาเร็จในชีวิต เพราะฉะนั้นครูควรสร้างสรรค์
วินัยให้เกิดแก่นักเรียน เมื่อนักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบในหน้าที่
ของตนจะทำาให้สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนให้เป็นไปในทางที่ดีงาม
จึงควรมีการปลูกฝังให้ยึดถือและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ถ้าหากในสังคม
ไม่มีการปลูกฝังและพัฒนาเด็กให้มีวินัยและมีคุณภาพแล้ว การพัฒนา
สังคมและประเทศก็จะเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพจึงควรต้องปลูกฝัง
วินัยในตนเองให้เป็นพื้นฐาน ในที่สุดก็จะสามารถพัฒนาประเทศชาติให้
มีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น ดังนั้น การศึกษาจึงเป็นสิ่งที่สำาคัญและมี
ความจำาเป็นอย่างมากในการที่จะพัฒนาให้มนุษย์มีประสิทธิภาพและ
ศักยภาพสูงสุด
จากการเป็นคุณครูประจำาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/ 5 โรงเรียน
เซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา ซึ่งมีหน้าที่ดูแลนักเรียนด้านพฤติกรรมและการ
เรียนของนักเรียนทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน พบว่า พฤติกรรม
การเรียนของนักเรียนบางคนในห้องเรียนไม่สนใจเรียน ขาดความรับผิด
ชอบและระเบียบวินัย จึงทำาให้บรรยากาศการเรียนรู้ไม่เอื้อต่อการ
เรียนการสอนและมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์จึงทำาให้เกิดปัญหาในการ
เรียนรู้จะส่งผลต่อนักเรียนบางคนที่มีผลการเรียนค่อนข้างตำ่า จึงต้องใช้
กระบวนการวิจัยมาแก้ปัญหา โดยการนำาทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎี
แรงจูงใจ และทฤษฎีการวางเงื่อนไข มาใช้กับนักเรียนเพื่อ
เป็นการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนและส่งเสริมศักยภาพ
ของนักเรียน ให้เกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพและความสามารถของ
ตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีวินัย ความรับผิดชอบในหน้าที่ของ
ตนเอง มีบรรยากาศการเรียนรู้ที่เหมาะสม เป็นการปลูกฝังระเบียบวินัย
การรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ทำาให้สามารถพัฒนานักเรียนให้เกิด
การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลการเรียนดีขึ้น
ความสำาคัญของการศึกษา
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ทำาให้ทราบถึงด้านพฤติกรรมการเรียน เมื่อ
นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นผู้ที่มีวินัยในตนเองและความรับ
ผิดชอบ จะทำาให้นักเรียนสนใจเรียนและมีความขยันอดทน มีแรงจูงใจ
- 2 -
ทำาให้มีผลการเรียนดีขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน และครู
ทุกท่านที่จะนำามาเสริมสร้าง พัฒนานักเรียนให้มีคุณค่ามีคุณประโยชน์
ต่อครอบครัว โรงเรียน สังคมและประเทศชาติต่อไป
วัตถุประสงค์
เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัยและ
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 6/5 ปีการศึกษา 2553 ของโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา
สมมุติฐานการวิจัย
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้มีวินัยและความรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่ของนักเรียน ทำาให้สามารถพัฒนาศักยภาพด้านพฤติกรรมและ
การเรียนให้ดีขึ้น
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
1. ประชากร ในการศึกษาค้นคว้าเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6/5 ของโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา จำานวน 43 คน
2. ตัวแปรที่ศึกษา
2.1 ตัวแปรอิสระ คือ พฤติกรรมด้านวินัยและความรับผิดชอบ
ต่อตนเองได้แก่
วินัยในตนเอง
ความรับผิดชอบ
แรงจูงใจในการเรียน
2.2 ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมด้านความมีวินัยใน
ตนเอง
นิยามศัพท์เฉพาะ
ความมีวินัยในตนเอง หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตามกฎ
ระเบียบและไม่ทำาผิดต่อกฎระเบียบในการเป็นนักเรียน
ความรับผิดชอบ หมายถึง ความมุ่งมั่นของนักเรียนที่จะงานที่ได้
รับมอบหมายให้สำาเร็จลุล่วงด้วยดี และตั้งใจเรียนอย่างเต็มความสามารถ
แรงจูงใจในการเรียน หมายถึง การแสดงพฤติกรรมเมื่อถูกกระตุ้น
จากสิ่งเร้า เช่น คำาชมเชย การให้รางวัล ฯลฯ แล้วสามารถประพฤติตน
ได้บรรลุเป้าหมายโดยการเรียนรู้ของแต่ละคน
- 3 -
บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการจัดทำางานวิจัย มีดังนี้
จิตวิทยาการศึกษา
เจตคติ (Attitude)
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข แบบแบบการกระทำาของสกิน
เนอร์
จิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษา มีบทบาทสำาคัญในการจัดการศึกษา การสร้าง
หลักสูตรและการเรียนการสอนโดยคำานึงถึงความแตกต่างของบุคคล
นักศึกษาและครู จำาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาการศึกษา เพื่อ
จะได้เข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนถึง
ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนการ
ความสำาคัญของการศึกษาจิตวิทยาการศึกษา
ความสำาคัญของวัตถุประสงค์ของการศึกษาและบทเรียน นัก
จิตวิทยาการศึกษาได้เน้นความสำาคัญของความชัดเจนของการระบุ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาบทเรียนตลอดจนถึงหน่วยการเรียน
เนื่องจากวัตถุประสงค์จะเป็นตัวกำาหนดการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎี
พัฒนาการ และทฤษฎีบุคลิกภาพ เป็นเรื่องที่นักการศึกษาและครูจะต้อง
มีความรู้เพราะจะช่วยให้เข้าใจเอกลักษณ์ของผู้เรียนในวัยต่าง ๆ
โดยเฉพาะวัยอนุบาล วัยเด็ก และวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่กำาลังศึกษาใน
โรงเรียน ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่ม นอกจากมีความเข้าใจ
พัฒนาการของเด็กวัยต่าง ๆ แล้ว นักการศึกษาและครูจะต้องเรียนรู้ถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่มทางด้านระดับเชาวน์ปัญญา ความ
คิดสร้างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนักจิตวิทยาได้คิด
วิธีการวิจัยที่จะช่วยชี้ให้เห็นว่า ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นตัวแปร
ที่สำาคัญในการเลือกวิธีสอนและในการสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม ทฤษฎี
การเรียนรู้ นักจิตวิทยาที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ นอกจากจะ
สนใจว่าทฤษฎีการเรียนรู้จะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้และจดจำาอย่างมี
ประสิทธิภาพได้อย่างไรแล้ว ยังสนใจองค์ประกอบเกี่ยวกับตัวของ
ผู้เรียน เช่น แรงจูงใจว่ามีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้อย่างไร ความรู้
เหล่านี้ก็มีความสำาคัญต่อการเรียนการสอน ทฤษฎีการสอนและ
เทคโนโลยีทางการศึกษา นักจิตวิทยาการศึกษาได้เป็นผู้นำาในการ
บุกเบิกตั้งทฤษฎีการสอน ซึ่งมีความสำาคัญและมีประโยชน์เท่า
เทียมกับทฤษฎีการเรียนรู้และพัฒนาการในการช่วยนักการศึกษาและครู
เกี่ยวกับการเรียนการสอน สำาหรับเทคโนโลยีในการสอนที่จะช่วยครูได้
มากก็คือ คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน หลักการสอนและวิธีสอน นัก
จิตวิทยาการศึกษาได้เสนอหลักการสอนและวิธีการสอนตามทฤษฎีทาง
จิตวิทยาที่แต่ละท่านยึดถือ เช่น หลักการสอนและวิธีสอนตามทัศนะนัก
จิตวิทยาพฤติกรรมนิยม ปัญญานิยม และมนุษยนิยม หลักการวัดผลและ
ประเมินผลการศึกษา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้จะช่วยให้นักการ
ศึกษา และครูทราบว่า การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพหรือไม่ หรือผู้
เรียนได้
-4-
สัมฤทธิผลตามวัตถุประสงค์เฉพาะของแต่ละวิชาหรือหน่วยเรียนหรือไม่
เพราะถ้าผู้เรียนมีสัมฤทธิผลสูง ก็จะเป็นผลสะท้อนว่าโปรแกรมการศึกษามี
ประสิทธิภาพและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน เพื่อเอื้อการเรียนรู้
และช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน ความสำาคัญของจิตวิทยาการ
ศึกษาต่ออาชีพครูมีความสำาคัญในเรื่องต่อไปนี้
1. ช่วยให้ครูรู้จักลักษณะนิสัยของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดย
ทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ
บุคลิกภาพเป็นส่วนรวม
2. ช่วยให้ครูมีความเข่าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการ
ของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และเรียนรู้ถึงบทบาท
ของครูในการที่ช่วยนักเรียนให้มีอัตมโนทัศน์ที่ดีและถูกต้องได้อย่างไร
3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อจะ
ได้ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้พัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก้
วัยและขั้นพัฒนาการของนักเรียน
เพื่อจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจและมีความที่อยากจะเรียนรู้
5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของ
นักเรียนเช่นแรงจูงใจอัตมโนทัศน์ และการตั้งความคาดหวังของครูที่มีต่อ
นักเรียน
6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพื่อทำาให้
การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้นักเรียนทุกคนเรียนตามศักยภาพ
ของแต่ละบุคคล โดยคำานึงถึงหัวข้อต่อไปนี้
6.1 ช่วยครูเลือกวัตถุประสงค์ของบทเรียนโดยคำานึงถึงลักษณะ
นิสัยและความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียนที่จะต้องสอนและ
สามารถที่จะเขียนวัตถุประสงค์ให้นักเรียนเข้าใจว่าสิ่งคาดหวังให้นักเรียน
รู้มีอะไรบ้าง โดยถือว่าวัตถุประสงค์ของบทเรียนคือสิ่งที่จะช่วยให้
นักเรียนทราบ เมื่อจบบทเรียนแล้วนักเรียนสามารถทำาอะไรได้บ้าง
6.2 ช่วยครูในการเลือกหลักการสอนและวิธีสอนที่เหมาะสม
โดยคำานึงลักษณะนิสัยของนักเรียนและวิชาที่สอน และกระบวนการเรียนรู้
ของนักเรียน
6.3 ช่วยครูในการประเมินไม่เพียงแต่เฉพาะเวลาครูได้สอนจน
จบบทเรียนเท่านั้นแต่ใช้ประเมินความพร้อมของนักเรียนก่อนสอน ใน
ระหว่างที่ทำาการสอน เพื่อทราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าหรือมีปัญหา
ในการเรียนรู้อะไรบ้าง
7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ที่นัก ได้
พิสูจน์แล้วว่าได้ผลดี เช่น การเรียนจากการสังเกตหรือการเลียนแบบ
8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ
รวมทั้งพฤติกรรมของครูที่มีการสอนอย่างมีประสิทธิภาพว่ามีอะไรบ้าง
เช่น การใช้คำาถาม การให้แรงเสริม และการทำาตนเป็นต้นแบบ
9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะ
ระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว
แต่มีองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น แรงจูงใจ ทัศนคติหรืออัตมโนทัศน์ของ
นักเรียนและความคาดหวังของครูที่มีต่อนักเรียน
- 5 -
10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของ
ห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน ครู
และนักเรียนมีความรักและไว้วางใจซึ่งกันและกันนักเรียน ต่างก็ช่วยเหลือ
กันและกัน ทำาให้ห้องเรียนเป็นสถานที่ที่ทุกคนมีความสุขและนักเรียนรัก
โรงเรียน อยากมาโรงเรียน
เนื่องจากการศึกษามีบทบาทสำาคัญในการช่วยให้เยาวชน
พัฒนาการทั้งทางด้านเชาวน์ปัญญา และทางบุคลิกภาพ เพื่อช่วยให้
เยาวชนมีความสำาเร็จในชีวิต ทุกประเทศจึงหาทางส่งเสริมการศึกษาให้
มีคุณภาพ มีมาตรฐานความเป็นเลิศ ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการ
ศึกษาจึงสำาคัญในการช่วยทั้งครูและนักศึกษาผู้มีความรับผิดชอบในการ
ปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน
พัฒนาการจิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยา เป็นศาสตร์ที่มีคนสนใจมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณก่อน
คริสต์กาล มีนักปรัชญาชื่อ พลาโต (Plato 427 – 347
ก่อนคริสต์กาล) อริสโตเติล (Aristotle 384 – 322 ก่อนคริสต์กาล)
ได้กล่าวถึงธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ในเชิงปรัชญามากกว่า
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาในยุคนั้นเป็นแบบเก้าอี้โต๊ะกลมหรือ
เรียกว่า Arm Chair Method เรียกจิตวิทยาในยุคนั้นว่า
จิตวิทยายุคเก่าเพราะนักจิตวิทยานั่งศึกษาอยู่กับโต๊ะทำางาน โดยใช้ความ
คิดเห็นของตนเองเพียงอย่างเดียวไม่มีการทดลอง ไม่มีการวิเคราะห์ใด ๆ
ทั้งสิ้น ต่อมาอริสโตเติลได้สนใจจิตวิทยาได้ทำาการศึกษาและได้เขียน
ตำาราเล่มแรกของโลกเป็นตำาราที่ว่าด้วยเรื่อง วิญญาณชื่อ De Anima
แปลว่า ชีวิต เขากล่าวว่า วิญญาณเป็นต้นเหตุให้คนต้องการเรียน
จิตวิทยา คนในสมัยโบราณจึงศึกษาจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับวิญญาณ
โดยมีความเชื่อว่าวิญญาณจะสิงอยู่ในร่างกายของมนุษย์ขณะมีชีวิตอยู่
เมื่อคนสิ้นชีวิตก็หมายถึงร่างกายปราศจากวิญญาณและวิญญาณออกจาก
ร่างล่องลอยไปชั่วระยะหนึ่งแล้วอาจจะกลับสู่ร่างกายคืนอีกได้ และเมื่อ
นั้นคน ๆ นั้นก็จะฟื้นคืนชีพขึ้นมาอีก ชาวกรีกจึงมีการคิดค้นวิธีการ
ป้องกันศพไม่ให้เน่าเปื่อยที่เรียกว่า มัมมี่ เพื่อคอยการกลับมาของ
วิญญาณ ต่อมาประมาณศตวรรษที่
11 - 12 ได้เกิดลัทธิความจริง (Realism) เป็นลัทธิที่เชื่อสภาพความ
เป็นจริงของสิ่งต่าง ๆ และลัทธิความคิดรวบยอด (Conceptualism)
ที่กล่าวถึงความคิดที่เกิดหลังจากได้วิเคราะห์พิจารณาสิ่งต่าง ๆ ถี่ถ้วน
แล้ว จากลัทธิทั้งสองนี้เองทำาให้ผู้คนมีความคิดมากขึ้นมีการคิด
วิเคราะห์ ไตร่ตรอง จึงเป็นเหตุให้ผู้คนเริ่มหันมาสนใจในทาง
วิทยาศาสตร์ และจึงเริ่มมาสนใจในเรื่องจิตวิทยาในเชิงวิทยาศาสตร์มาก
ขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังสนใจศึกษาเรื่องจิตมากขึ้นด้วย รวมทั้งให้
ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเรื่องจิตสำานึก (Conscious) อันได้แก่
การมีสมาธิ การมีสติสัมปชัญญะ และเชื่อว่าจะเป็นมนุษย์ได้จะต้อง
ประกอบไปด้วย ร่างกายกับจิตใจ จึงมีคำาพูดติดปากว่า “A Sound
mind is in a sound body” จิตที่ผ่องใสอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์
ความสนใจเรื่องจิตจึงมีมากขึ้นตามลำาดับ นอกจากนี้ยังเชื่อว่า จิต แบ่ง
สามารถเป็นส่วนๆ ได้แก่ ความคิด (Idea) จินตนาการ (Imagine)
ความจำา (Memory) การรับรู้ (Concept) ส่วนที่สำาคัญที่สุดเรียกว่า
Faculty of will เป็นส่วนหนึ่งของจิตที่สามารถสั่งการเคลื่อนไหวต่าง
ๆ ของร่างกายต่อมา Norman L. Mumm มีความสนใจเรื่องจิต
เขา
กล่าวว่า จิตวิทยา คือ การศึกษาเรื่องจิต ในปี ค.ศ. 1590 คำาว่า
Psychology จึงเป็นที่รู้จักและสนใจของคนทั่วไป
- 6 -
จอห์น ลอค (John Locke ค.ศ. 1632 - 1704) ได้ชื่อว่า
เป็น บิดาจิตวิทยาแผนใหม่ เขาเชื่อว่า ความรู้สึกตัว ( Conscious )
และสิ่งแวดล้อมเป็นตัวที่มีอิทธิพลต่อจิต
วิธีการศึกษาทางจิตวิทยา การศึกษาทางจิตวิทยาใช้หลาย
ๆ วิธีการมาผสมผสานและทำาการวิเคราะห์บนสมมุติฐาน นักจิตวิทยาจะ
ใช้วิธีการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น การตรวจสอบตนเอง การสังเกต
การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี การสัมภาษณ์ การทดสอบ ดั งจะอธิบาย
เรียงตามลำาดับต่อไปนี้
1. การตรวจสอบตนเอง (Introspection) หมายถึง วิธีการ
ให้บุคคลสำารวจ ตรวจสอบตนเองด้วยการย้อนทบทวนการกระทำาและ
ความรู้สึกนึกคิดของตนเองในอดีต ที่ผ่านมา แล้วบอกความรู้สึกออกมา
โดยการอธิบายถึงสาเหตุและผลของการกระทำาในเรื่องต่าง ๆ เช่น
ต้องการทราบว่าทำาไมเด็กนักเรียนคนหนึ่งจึงชอบพูดปดเสมอ ๆ ก็ให้เล่า
เหตุหรือเหตุการณ์ในอดีต ที่เป็นสาเหตุให้มีพฤติกรรมเช่นนั้นก็จะทำาให้
ทราบที่มาของพฤติกรรมและได้แนวทางในการที่จะช่วยเหลือแก้ไข
พฤติกรรมดังกล่าวได้
การตรวจสอบตนเองจะได้รับข้อมูลตรงตามความเป็นจริงและเป็น
ประโยชน์ เพราะผู้รายงานที่มีประสบการณ์และอยู่ในเหตุการณ์นั้นจริง ๆ
แต่หากผู้รายงานจดจำาเหตุการณ์ได้แม่นยำา และมีความจริงใจในการ
รายงานอย่างซื่อสัตย์ไม่ปิดบังและบิดเบือนความจริง แต่หากผู้
รายงานจำาเหตุการณ์หรือเรื่องราวไม่ได้หรือไม่ต้องการรายงานข้อมูล
ที่แท้จริงให้ทราบก็จะทำาให้การตีความหมายของเรื่องราวต่าง ๆ หรือ
เหตุการณ์ผิดพลาดไม่ตรงตามข้อเท็จจริง
2. การสังเกต (Observation) หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรม
ในสถานการณ์ที่เป็นจริง อย่างมีจุดมุ่งหมาย โดยไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว
การสังเกตแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ
2.1 การสังเกตอย่างมีแบบแผน ( Formal Observation )
หมายถึง การสังเกตที่มีการเตรียมการล่วงหน้า มีการวางแผน มีกำาหนด
เวลา สถานการณ์ สถานที่ พฤติกรรมและบุคคลที่จะสังเกต ไว้เรียบร้อย
เมื่อถึงเวลาที่นักจิตวิทยาวางแผน ก็จะเริ่มทำาการสังเกต
พฤติกรรมตามที่กำาหนดและผู้สังเกตพฤติกรรมจะจดพฤติกรรมทุกอย่างใน
ช่วงเวลานั้นอย่างตรงไปตรงมา
2.2 การสังเกตอย่างไม่มีแบบแผน ( Informal
Observation ) หมายถึง การสังเกตโดยไม่ต้องมีการเตรียมการล่วง
หน้าหรือวางแผนล่วงหน้า แต่สังเกตตามความสะดวกของผู้สังเกตคือจะ
สังเกตช่วงเวลาใดก็ได้แล้วทำาการจดบันทึกพฤติกรรมที่ตนเห็นอย่างตรง
ไปตรงมา
การสังเกตช่วยให้ได้ข้อมูลละเอียด ชัดเจนและตรงไปตรงมา
เช่น การสังเกต อารมณ์ ความรู้สึก ของบุคคลต่อสถานการณ์ต่าง ๆ
จะทำาให้เห็นพฤติกรรมได้ชัดเจนกว่าการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการอื่น ๆ แต่
การสังเกตที่ดีมีคุณภาพมีส่วนประกอบหลายอย่าง เช่น ผู้สังเกตจะต้องมี
ใจเป็นกลางไม่อคติหรือลำาเอียงอย่างหนึ่งอย่างใด และสังเกตได้ทั่วถึง
ครอบคลุม สังเกตหลาย ๆ สถานการณ์หลาย ๆ หรือหลายๆ พฤติกรรม
และใช้เวลาในการสังเกต ตลอดจนการจดบันทึกการสังเกตอย่างตรง
ไปตรงมาและแยกการบันทึกพฤติกรรมจากการตีความไม่ปะปนกัน ก็จะ
ทำาให้การสังเกตได้ข้อมูลตรงตามความเป็นจริงและนำามาใช้ประโยชน์
ตามจุดมุ่งหมาย
3. การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี (Case Study) หมายถึง
การศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ที่สำาคัญของบุคคล แต่ต้องใช้เวลาศึกษา
ติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณา
ตีความเพื่อให้
- 7 -
เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษที่ผู้ศึกษาต้องการทราบ
ทั้งนี้เพื่อจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง ตลอดจนส่งเสริม
พฤติกรรมให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์ที่สำาคัญของบุคคลแต่ต้องใช้เวลา
ศึกษาติดต่อกันเป็นระยะหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณา
ตีความเพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษที่ผู้ศึกษา
ต้องการทราบ ทั้งนี้ เพื่อจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง ตลอด
จนส่งเสริมพฤติกรรมให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์
4. การสัมภาษณ์ (Interview) หมายถึง การสนทนากัน
ระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมาย ซึ่งการสัมภาษณ์ก็
มีหลายจุดมุ่งหมาย เช่น การสัมภาษณ์เพื่อความคุ้นเคย สัมภาษณ์เพื่อ
คัดเลือกบุคคลเข้าทำางาน สัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ
ตลอดจนสัมภาษณ์เพื่อการแนะแนวและการให้คำาปรึกษา เป็นต้น แต่ทั้ง
การสัมภาษณ์ก็เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ
ตัดสินใจ
การสัมภาษณ์ที่ดี จำาเป็นต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า วางแผน
กำาหนดสถานที่ เวลาและเตรียมหัวข้อหรือคำาถามในการสัมภาษณ์ และ
นอกจากนั้นในขณะสัมภาษณ์ผู้สัมภาษณ์ควรจะใช้เทคนิคอื่น ๆ ประกอบ
ด้วยก็ยิ่งจะได้ผลดี เช่น การสังเกต การฟัง การใช้คำาถาม การพูด
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้สัมภาษณ์และผู้สัมภาษณ์ก็จะช่วย
ให้การสัมภาษณ์ได้ดำาเนินไปด้วยดี
5. การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใช้เครื่องมือที่มีเกณฑ์
ในการวัดลักษณะของพฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึ่ง หรือหลาย ๆ
พฤติกรรม โดยให้ผู้รับการทดสอบเป็นผู้ตอบสนองต่อแบบทดสอบซึ่ง
อาจเป็นแบบทดสอบภาษาและแบบปฏิบัติการหรือลงมือทำา ทั้งนี้เพื่อให้ได้
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลนั้นตามจุดมุ่งหมายที่ผู้ทดสอบวางไว้แบบทดสอบที่นำา
มาใช้ในการทดสอบหาข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบบุคลิกภาพ แบบ
ทดสอบความสนใจ เป็นต้น
การทดสอบก็มีสิ่งที่ควรคำานึงถึงเพื่อผลของข้อมูลที่ได้รับ
ซึ่งแบบทดสอบที่นำามาใช้ควรเป็นแบบทดสอบที่เชื่อถือได้เป็น
มาตรฐาน ตลอดจนการแปรผลได้อย่างถูกต้อง เป็นต้น
6. การทดสอบ (Experiment) หมายถึง วิธีการรวบรวม
ข้อมูลที่เป็นระบบ มีขั้นตอนและเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี
ลำาดับขั้นตอนดังนี้ ตั้งปัญหา ตั้งสมมุติฐาน การรวบรวมข้อมูล
การทดสอบสมมุติฐาน การแปลความหมายและรายงานผล ตลอด
จนการนำาผลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือส่งเสริมต่อไป การ
ทดลองจึงเป็นการจัดสภาพการณ์ขึ้นมาเพื่อดูผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกลุ่มหรือสถานการณ์ คือ
1. กลุ่มทดลอง (Experiment Group) คือ กลุ่มที่ได้รับการ
จัดสภาพการณ์ทดลองเพื่อศึกษาผลที่ปรากฏจากสภาพนั้นเช่นการสอน
ด้วยเทคนิคระดมพลังสมอง จะทำาให้กลุ่มเกิดความคิดสร้างสรรค์หรือไม่
2. กลุ่มควบคุม (Control Group) คือ กลุ่มที่ไม่ได้รับการ
จัดสภาพการณ์ใด ๆ ทุกอย่างถูกควบคุมให้คงภาพเดิม ใช้เพื่อเปรียบ
เทียบกับกลุ่มทดลอง สิ่งที่ผู้ทดลองต้องการศึกษาเรียกว่า ตัวแปร ซึ่งมี
ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable) และตัวแปร
ตาม ( Dependent Variable )
- 8 -
เจตคติ (Attitude)
ความหมายของเจตคติ
เจตคติ หมายถึงอะไร ขัตติยา กรรณสูต (2516:2) ให้ความ
หมายไว้ คือ ความรู้สึกที่คนเรามีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือหลายสิ่งในลักษณะที่
เป็นอัตวิสัย (Subjective) อันเป็นพื้นฐานเบื้องต้นหรือการแสดงออกที่
เรียกว่า พฤติกรรม
สุชา จันทร์เอม และ สุรางค์ จันทร์เอม (2520:104) ให้ความ
หมายเจตคติ คือความรู้สึก หรือท่าทีของบุคคลที่มีต่อบุคคล วัตถุสิ่งของ
หรือสถานการณ์ต่างๆ ความรู้สึก หรือท่าทีจะเป็นไปในทำานองที่พึงพอใจ
หรือไม่พอใจ เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้
สงวนศรี วิรัชชัย (2527:61) ให้ความหมายเจตคติ คือสภาพ
ความคิด ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงประเมินที่มีต่อสิ่งต่างๆ(วัตถุ
สถานการณ์ ความคิด ผู้คน ฯลฯ) ซึ่งทำาให้บุคคลมีแนวโน้มที่จะแสดง
พฤติกรรมต่อสิ่งนั้น ในลักษณะเฉพาะตัวตามทิศทางของทัศนคติที่มีอยู่
ชม ภูมิภาค (2516:64) ให้ความหมายเจตคติ คือวิถีทางที่บุคคล
เกิดความรู้สึกต่อบางสิ่งบางอย่าง คำาจำากัดความเช่นนี้มิใช่คำาจำากัดความ
เชิงวิชาการมากนักแต่หากเราจะพิจารณาโดยละเอียดแล้วเราก็พอจะมอง
เห็นความหมายของมันลึกซึ้งชัดเจนพอดู เมื่อพูดว่าคือความรู้สึกต่อสิ่ง
นั้นก็หมายความว่าเจตคตินั้นมีวัตถุ วัตถุที่เจคติจะมุ่งตรงต่อนั้นจะเป็น
อะไรก็ได้อาจจะเป็นบุคคล สิ่งของ สถานการณ์ นโยบายหรืออื่น ๆ อาจ
จะเป็นได้ทั้งนามธรรมและรูปธรรม ดังนั้น วัตถุแห่งเจตคตินั้นอาจจะเป็น
อะไรก็ได้ที่คนรับรู้หรือคิดถึงความรู้สึกเช่นนี้อาจจะเป็นในด้านการจูงใจ
หรืออารมณ์และเช่นเดียวกันแรงจูงใจแบบอื่นๆคือดูได้จากพฤติกรรม
ตัวอย่างเช่น เจคติต่อศาสนาหากเป็นเจตคติที่ดีเราจะเกิดความเคารพใน
วัดเราจะเกิดความรู้สึกว่าศาสนาหรือวัดนั้นจะเป็นสิ่งจรรโลงความสงบสุข
เรายินดีบริจาคทำาบุญร่วมกับวัดเราจะพูดได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความ
พร้อมที่จะถูกกระตุ้นด้วยวัตถุ การกระทำาต่างๆของคนนั้นมักถูก
กำาหนดด้วยเจตคติที่จะตัดสินใจว่าจะบริจาคเงินแก่วัดสักเท่าใดนั้นย่อมมี
ปัจจัยต่างๆเข้าเกี่ยวข้อง เช่น ชอบสมภาร รายได้ตนเองดีขึ้น เห็นความ
สำาคัญของวัด เห็นว่าสิ่งที่จะต้องบูรณะมาก
“เจตคติ” คือ สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจที่เกิดจาก
ประสบการณ์และการเรียนรู้ของบุคคลอันเป็นผลทำาให้เกิดมีท่าทีหรือมี
ความคิด เห็นรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในลักษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ เห็นหรือ
ไม่เห็นด้วย เจตคติมี ๒ ประเภทคือ เจตคติทั่วไป เจตคติเฉพาะอย่าง
COLLINS (1970:68) ให้ความหมายเจตคติ คือการที่บุคคล
ตัดสินในสิ่งต่างๆว่าดี –ไม่ดี เห็นด้วย-ไม่เห็นด้วย ยอมรับได้-ยอมรับไม่ได้
ROKEACH (1970:10) ให้ความหมายเจตคติ คือการผสม
ผสานหรือจัดระเบียบของความเชื่อที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือสถานการณ์
หนึ่งสถานการณ์ใด ผลรวมของความเชื่อนี้จะเป็นตัวกำาหนดแนวทาง
ของบุคคลในการที่จะมีปฏิกริยาตอบสนองในลักษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ
BELKIN และ HKYDELL (1979:13) ให้ความหมายเจตคติ
คือ แนวโน้มที่บุคคลจะตอบสนอง ในทางที่เป็นความพอใจ ไม่พอใจ ต่อ
ผู้คน เหตุการณ์ และสิ่งต่างๆอย่างสมำ่าเสมอและคงที่
- 9 -
ดังนั้นอาจสรุปความหมายของเจตคติ คือ ความรู้สึกของบุคคลที่มี
ต่อสิ่งใด ๆ ซึ่งแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมในลักษณะชอบ ไม่ชอบ อาจ
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย พอใจ ไม่พอใจ ต่อสิ่งใด ๆ ในลักษณะเฉพาะตัวตาม
ทิศทางของทัศนคติที่มีอยู่และทำาให้จะเป็นตัวกำาหนดแนวทางของบุคคล
ในการที่จะมีปฏิกริยาตอบสนอง
องค์ประกอบของเจตคติ
องค์ประกอบของเจตคติที่สำาคัญ 3 ประการ คือ
1. การรู้ (COGNITION) ประกอบด้วยความเชื่อของบุคคลที่มี
ต่อเป้าหมาย เจตคติ เช่น ทัศนคติต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ สิ่งสำาคัญขององค์
ประกอบนี้ ก็คือ จะประกอบด้วยความเชื่อที่ได้ประเมินค่าแล้วว่าน่าเชื่อ
ถือหรือไม่น่าเชื่อถือ ดีหรือไม่ดี และยังรวมไปถึงความเชื่อในใจว่า
ควรจะมีปฏิกริยาตอบโต้อย่างไรต่อเป้าหมายทัศนคติจึงจะเหมาะสมที่สุด
ดังนั้นการรู้และแนวโน้มพฤติกรรมจึงมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์อย่าง
ใกล้ชิด
2. ความรู้สึก (FEELING) หมายถึง อารมณ์ที่มีต่อเป้าหมาย
เจตคติ นั้น เป้าหมายจะถูกมองด้วยอารมณ์ชอบหรือไม่ชอบ ถูกใจหรือ
ไม่ถูกใจ ส่วนประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สึกนี้เองที่ทำาให้บุคคลเกิด
ความดื้อดึงยึดมั่น ซึ่งอาจกระตุ้นให้มีปฎิกริยาตอบโต้ได้หากมีสิ่งที่ขัด
กับความรู้สึกมากระทบ
3. แนวโน้มพฤติกรรม(ACTION TENDENCY) หมายถึง ความ
พร้อมที่จะมีพฤติกรรมที่สอดคล้อง กับเจตคติ ถ้าบุคคลมีเจตคติที่ดี
ต่อเป้าหมาย เขาจะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมช่วยเหลือหรือ
สนับสนุนเป้าหมายนั้น ถ้าบุคคลมีเจตคติในทางลบต่อเป้าหมาย เขาก็จะ
มีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมทำาลาย หรือทำาร้าย เป้าหมายนั้นเช่นกัน
การเกิดเจตคติ และเจตคติเกิดจากอะไร
เจตคติเกิดจากการเรียนรู้ของบุคคลไม่ใช่เป็นสิ่งมีติดตัวมา
แต่กำาเนิด หากแต่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบสิ่งใดต้องภายหลัง เมื่อตนเองได้มี
ประสบการณ์ในสิ่งนั้น ๆ แล้ว ดังนั้น จึงพอสรุปได้ว่า เจตคติเกิดขึ้นจาก
เรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. การรวบรวมความคิดอันเกิดจากประสบการณ์หลาย ๆ อย่าง
2. เกิดจากความรู้สึกที่รอยพิมพ์ใจ
3. เกิดจากการเห็นตามคนอื่น
ชม ภูมิภาค (2516:66-67) ได้อธิบายเรื่องการเกิดเจตคติว่าเกิด
จากการเรียนรู้และโดยมากก็เป็นการเรียนรู้ทางสังคม(social
learning)ดังนั้นปัจจัยที่ทำาให้เกิดเจตคติจึงมีหลายประการเช่น
1. ประสบการณ์เฉพาะ เมื่อคนเราได้รับประสบการณ์ต่อสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งอาจจะมีลักษณะในรูปแบบที่ผู้ได้รับรู้สึกว่าได้รางวัลหรือถูกลงโทษ
ประสบการณ์ที่ผู้รู้สึกเกิดความพึงพอใจย่อมจะทำาให้เกิดเจตคติที่ดีต่อสิ่ง
นั้นแต่ถ้าเป็นประสบการณ์ที่ไม่เป็นที่พึงพอใจก็ย่อมจะเกิดเจตคติที่ไม่ดี
2. การสอน การสอนนั้นอาจจะเป็นทั้งแบบที่เป็นแบบแผนหรือไม่
เป็นแบบแผนก็ได้ซึ่งเราได้รับจากคนอื่น องค์การที่ทำาหน้าที่สอนเรามี
มากมายอาทิเช่น บ้าน วัด โรงเรียน สื่อมวลชนต่าง ๆ เรามักจะได้รับ
เจตคติที่สังคมมีอยู่และนำามาขยายตามประสบการณ์ของเรา การสอน
ที่ไม่เป็นแบบแผนนั้นส่วนใหญ่เริ่มจาก
- 10 -
ครอบครัวตั้งแต่เด็ก ๆ มาแล้ว พ่อแม่พี่น้องมักจะบอกเราว่าสิ่ง
นั้นไม่ดีสิ่งนี้ไม่ดีหรือใครควรทำาอะไรมีความสำาคัญอย่างไร การสอนส่วน
มากเป็นแบบยัดทะนานและมักได้ผลดีเสียด้วยในรูปแบบการปลูกฝัง
เจตคติ
3. ตัวอย่าง (Model) เจตคติบางอย่างเกิดขึ้นจากการเลียน
แบบในสถานการณ์ต่าง ๆ เราเห็นคนอื่นประพฤติ เราเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมคนอื่นออกมาเป็นรูปของเจตคติถ้าเรายอมรับนับถือหรือเคารพ
คนๆนั้นเราก็มักยอมรับความคิดของเขาตามที่เราเข้าใจ เช่น เด็กชาย
แดงเห็นบิดาดูรายการกีฬาทางโทรทัศน์ประจำาเขาก็จะแปลความหมายว่า
กีฬานั้นเป็นเรื่องน่าสนใจและจะต้องดูหรือถ้าเขาเห็นพ่อแม่ระมัดระวังต่อ
ชุดรับแขกในบ้านมากกว่าของที่อยู่ในสนามหญ้าหลังบ้านเขาก็จะเกิด
ความรู้สึกว่าของในบ้านต้องระวังรักษาเป็นพิเศษ ซึ่งการเรียนรู้เช่นนี้
พ่อไม่ไม่จำาเป็นต้องพูดว่าอะไรเลย เด็กจะเฝ้าสังเกตการณ์ปฏิบัติของพ่อ
แม่ต่อบุคคลอื่นอย่างถี่ถ้วนจะเรียนรู้ว่าใครควรคบใครควรนับถือ ใครไม่
ควรนับถือ
4. ปัจจัยที่เกี่ยวกับสถาบัน ปัจจัยทางสถาบันมีอยู่เป็นอันมากที่มี
ส่วนสร้างสนับสนุนเจตคติของเราตัวอย่างเช่น การปฏิบัติตนในวัด ใน
โบสถ์ การแต่งกายของคนในสถานการณ์ทางสังคมต่าง ๆ เป็นสิ่งให้
แนวเจตคติของคนเราเป็นอันมาก
สภาวะที่มีผลต่อการก่อเกิดของเจตคตินั้นมีหลายอย่าง อาทิเช่น
ประการแรก ขึ้นอยู่กับการที่เราคิดว่าเราเป็นพวกเดียวกัน
(identification) เด็กที่ยอมรับว่าตนเองเป็นพวกเดียวกับพ่อแม่ย่อมจะ
รับเจตคติของพ่อแม่ง่ายขึ้น หรือที่โรงเรียนหากเด็กถือว่าครูเป็นพวกเดียว
กับตนเด็กย่อมจะรับความเชื่อถือหรือเจตคติของครู
ประการที่สอง ขึ้นอยู่กับว่า เจตคตินั้นคนอื่นๆเป็น
จำานวนมากเชื่ออย่างนั้นหรือคิดอย่างนั้น(uniformity) การที่เราจะมี
เจตคติเข้ากลมเกลียวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้นั้นอาจจะมีสาเหตุอื่นอีก
เช่นโอกาสที่จะได้รับเจตคติแตกต่างไปนั้นไม่มีประการหนึ่งอีกประการ
หนึ่งหากไม่เห็นด้วยกับส่วนใหญ่เราเกิดความรู้สึกว่าส่วนใหญ่ปฏิเสธเรา
นอกจากนี้ประการที่สามการที่เรามีเจตคติตรงกับคนอื่นทำาให้เราพูดติดต่อ
กับคนอื่นเข้าใจ เมื่อเราเจริญเติบโตจากเด็กเป็นผู้ใหญ่นั้นแน่ที่สุดที่เราจะ
พบความแตกต่างของเจตคติมากมาย ในบ้านนั้นนับว่าเป็นแหล่งเกิด
เจตคติตรงกันที่สุด แต่พอมีเพื่อนฝูงเราจะเห็นว่าเจตคติของเพื่อนฝูงและ
ของพ่อแม่ของเขาแตกต่างกันบ้าง ในโรงเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในระดับการศึกษาชั้นสูงเราจะพบความแตกต่างของเจตคติมากมาย ดัง
นั้นเราจะเห็นได้ว่าเจตคติแรกๆที่เราได้รับนั้นค่อนข้างจะคงทนถาวร
เจตคตินั้นจะสามารถนำาไปใช้กับสถานการณ์ใหม่ที่คล้ายกัน เช่น คนที่มี
พ่อดุดันเข้มงวดเขาจะเกิดความมุ่งร้ายต่อพ่อ อาจจะคิดว่าผู้
บังคับบัญชานั้นดุดันเข้มงวดและเกิดความรู้สึกมุ่งร้ายต่อผู้บังคับบัญชา
ก็ได้ หรือคนงานที่ไม่ชอบหัวหน้างานอาจจะนำาความไม่ชอบนั้นไปใช้ต่อ
บริษัทหรือเกลียดบริษัทไปด้วย
ลักษณะของเจตคติ
ทิตยา สุวรรรณชฎ (2520:602-603) กล่าวถึงลักษณะสำาคัญ
ของเจตคติ 4 ประการ คือ
1. เจตคติ เป็นสภาวะก่อนที่พฤติกรรมโต้ตอบ
(PREDISPOSITION TO RESPOND) ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งโดยเฉพาะหรือจะเรียกว่าสภาวะพร้อมที่จะมีพฤติกรรมจริง
2. เจตคติ จะมีความคงตัวอยู่ในช่วงระยะเวลา
(PERSISTENCE OVERTIME) แต่มิได้หมายความว่าจะไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง
- 11 -
3. เจตคติ เป็นตัวแปรหนึ่งนำาไปสู่ความสอดคล้องระหว่าง
พฤติกรรม ความรู้สึกนึกคิดไม่ว่าจะเป็นการแสดงออกโดยวาจา หรือการ
แสดงความรู้สึก ตลอดจนการที่จะต้องเผชิญหรือหลีกเลี่ยงต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
4. เจตคติ มีคุณสมบัติของแรงจูงใจ ในอันที่จะทำาให้บุคคล
ประเมินผล หรือเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งหมายความต่อไปถึงการกำาหนด
ทิศทางของพฤติกรรมจริงด้วย
เจตคตินับว่าเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญในการทำางาน
อย่างหนึ่ง นอกจากความพร้อมและการจูงใจ บุคคลที่มีเจตคติที่ดีต่อการ
ทำางานจะช่วยให้ทำางานได้ผลทั้งนี้เพราะเจตคติเป็นต้นกำาเนิดของความ
คิดและการแสดงการกระทำาออกมานั่นเอง
กล่าวโดยสรุป เจตคติ เป็นลักษณะทางจิตของบุคคลที่
เป็นแรงขับแรงจูงใจของบุคคล แสดงพฤติกรรมที่จะแสดงออกไปในทาง
ต่อต้านหรือสนับสนุนต่อสิ่งนั้นหรือสถานการณ์นั้น ถ้าทราบทัศนคติของ
บุคคลใดที่สามารถทำานายพฤติกรรมของบุคคลนั้นได้ โดย
ปกติคนเรามักแสดงพฤติกรรมในทิศทางที่สอดคล้องกับทัศนคติที่มีอยู่
อย่างไรก็ดีเจตคติเมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจจะมีลักษณะที่ค่อนข้าง
ถาวรและคงทน ความรังเกียจที่เรียนรู้ในวัยเด็กอาจจะคงอยู่ต่อไปจนชั่ว
ชีวิต เจตคติทางการเมือง ศาสนาและอื่นๆมักจะมีความคงทนเป็นอัน
มาก สาเหตุที่ทำาให้เจตคติบางอย่างมีความคงทนอาจมีสาเหตุดังต่อไปนี้
1. เนื่องจากเจตคตินั้นเป็นแนวทางปรับตัวได้อย่างพอเพียง
คือ ตราบใดที่สถานการณ์นั้นยังสามารถจะใช้เจตคติเช่นนั้นใน
การปรับตัวอยู่เจตคตินั้น ก็จะยังคงไม่เปลี่ยนแต่เนื่องจากไม่สามารถที่จะ
ใช้ได้เนื่องจากสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้วเจตคตินั้นก็มักจะ
เปลี่ยนแปลงไป เช่น ในสหรัฐอเมริกาคนส่วนใหญ่มักจะคัดค้านการช่วย
เหลือของรัฐบาลอย่างรุนแรง แต่พอเกิดเศรษฐกิจตกตำ่าอย่างรุนแรงก็อาจ
จะรับความช่วยเหลือของรัฐบาลมากขึ้น
2. เหตุที่เจตคติไม่เปลี่ยนแปลง่ายๆก็เพราะว่าผู้มีเตคตินั้นจะ
ไม่ยอมรับรู้สิ่งยกเว้นใด ๆ เหตุการณ์เช่นนี้เรียกว่า Selective
perception เช่น คนที่เกลียดยิว เกิดความคิดว่าพวกยิวนี้ขี้เหนียวเอา
รัดเอาเปรียบต่อมามียิวมาอยู่บ้านใกล้ ๆ ทั้ง ๆ ที่ยิวคนนั้นแสนจะดีเป็น
กันเองให้ความช่วยเหลือเราดีเจตคติของเรามีอยู่เดิมจะไม่ยอมรับรู้ความดี
ของยิวเช่นนั้น ดังนั้นเจตคติจึงไม่เปลี่ยน
3. สาเหตุอีกอย่างหนึ่งคือ ความภักดีต่อหมู่กลุ่มที่เราเป็น
สมาชิกคนเราไม่อยากได้ชื่อว่าทรยศต่อพวก ตั วอย่างเช่น หญิงสาวถูก
อบรมมาในครอบครัวซึ่งเคร่ง ไม่ยอมให้เล่นการพนัน สูบบุหรี่เพราะการก
ระทำาเช่นนั้นครอบครัวถือว่าเป็นการกระทำามิใช่วิสัยสตรีที่ดี ที่จะพึง
กระทำา ต่อมาแม้ว่าจะมีโอกาสที่จะกระทำาได้แต่ไม่ทำา เพราะเห็นว่าขัดต่อ
เจตคติของพ่อแม่ที่เคยสั่งสอนไว้
4. ความต้องการป้องกันตนเอง บุคคลที่ไม่ยอมเปลี่ยนเจตคติ
ที่เขามีอยู่เดิมนั้นอาจเนื่องจากเหตุผลว่าหากเขาเปลี่ยนแปลงแล้วจะทำาให้
คนอื่นเห็นว่าเขาอ่อนแอ เช่น คนขายของเสนอวิธีการขายใหญ่ให้
หัวหน้า หัวหน้าเห็นว่าดีเหมือนกันแต่ไม่ยอมรับเพราะเห็นว่าเป็นเรื่องที่
ทำาให้คนอื่นเห็นหัวหน้าไม่มีความสามารถ
5. การได้รับการสนับสนุนจากสังคมนั้นคือการที่เราเชื่ออย่าง
นั้นมีเจตคติอยู่อย่างนั้นเรายังได้รับการสนับสนุนกับคนที่มีความเชื่ออย่าง
เดียวกับเราอยู่
- 12 -
หน้าที่และประโยชน์ของเจตคติ
Katz (อ้างในนพมาศ 2534:130) มองว่าเจตคติมี
ประโยชน์และหน้าที่ คือ
1. เป็นประโยชน์โดยการเป็นเครื่องมือ ปรับตัว และเป็น
ประโยชน์ในการใช้เพื่อทำาการต่าง ๆ
2. ทำาประโยชน์โดยการใช้ป้องกันสภาวะจิตใจ หรือปกป้อง
สภาวะจิตของบุคคล (EGODEFENSIVE FUNCTION) เพราะความคิด
หรือความเชื่อบางอย่างสามารถทำาให้ผู้เชื่อหรือคิดสบายใจ ส่วนจะผิดจะ
ถูกเป็นอีกเรื่องหนึ่ง
3. เจตคติทำาหน้าที่แสดงค่านิยม ให้คนเห็นหรือรับรู้ (VALUE
EXPRESSIVE FUNCTION)
4. มีประโยชน์หรือให้คุณประโยชน์ทางความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว
กับผู้คนและสิ่งต่างๆ
5. ช่วยให้บุคคลมีหลักการและกฎเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรม
หรือช่วยพัฒนาค่านิยมให้กับบุคคล การที่บุคคลมีทัศนคติที่ดีต่อบุคคล
สถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคมจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลสามารถประเมินและ
ตัดสินได้ว่าควรจะเลือกประพฤติอย่างไรจึงจะเหมาะสมและดีงาม
ชม ภูมิภาค (2516:65) หน้าที่ของเจตคติ เจตคติทำา
หน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้อยู่มาก เจตคติมีส่วนกำาหนดการมองเห็นของคน
นอกจากนี้ยังทำาหน้าที่อื่น ๆ อีกเช่น
1. เตรียมบุคคลเพื่อให้พร้อมต่อการปฏิบัติการ
2. ช่วยให้บุคคลได้คาดคะเนล่วงหน้าว่าอะไรจะเกิดขึ้น
3. ทำาให้บุคคลได้รับความสำาเร็จตามหลักชัยที่วางไว้
การเปลี่ยนแปลงเจตคติ
สุชา จันเอม และสุรางค์ จันเอม (2520:110-111) กล่าวว่า
ทัศนคติของบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงได้เนื่องมาจาก
1) การชักชวน (PERSUASION) ทัศนคติจะเปลี่ยนแปลง
หรือปรับปรุงใหม่ได้หลังจากที่ได้รับคำาแนะนำา บอกเล่า หรือได้รับความรู้
เพิ่มพูนขึ้น
2) การเปลี่ยนแปลงกลุ่ม (GROUP CHANGE) ช่วย
เปลี่ยนทัศนคติของบุคคลได้
3) การโฆษณาชวนเชื่อ (PROPAGANDA) เป็นการ
ชักชวนให้บุคคลหันมาสนใจหรือรับรู้โดยการสร้างสิ่งแปลกๆใหม่ๆขึ้น
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อเจตคติ คือ
1. บิดา มารดา ของเด็ก
2. ระเบียบแบบแผน วัฒนธรรมของสังคม
3. การศึกษาเล่าเรียน
4. สิ่งแวดล้อมในสังคม
5. การพักผ่อนหย่อนใจที่แต่ละคนใช้ประจำาตัว
การแก้ไขเจตคติหรือวิธีสร้างเจตคติ
เจตคติเป็นเรื่องที่แก้ไขได้อยากถ้าจำาเป็นจะต้องช่วยแก้ไข
เปลี่ยนเจตคติของคนอาจใช้วิธีเหล่านั้น คือ
- 13 -
1. การค่อย ๆ ชื้นลงให้เข้าใจ
2. หาสิ่งเร้าและสิ่งจูงใจอย่างเข้มข้นมายั่วยุ
3. คบหาสมาคมกับเพื่อนดีดี
4. ให้อ่านหนังสือดีมีประโยชน์
5. ให้ลองทำาจนเห็นชอบแล้วกลับตัวดีเอง
ชม ภูมิภาค (2516:65) ได้อธิบายว่าเจตคติเปลี่ยนแปลงได้
ปัจจัยที่จะช่วยให้เจคติเปลี่ยนแปลงได้มีหลายประการเช่น
1. ความกดดันของกลุ่ม(Group pressure) หากกลุ่มจะ
สามารถให้รางวัลหรือลงโทษได้ย่อมจะมีแรงกดดันมากในการที่จะกดดัน
ทิศทางเจตคติของเราสิ่งยั่วยุที่เป็นรางวัลนั้น ได้แก่ ความเป็นผู้มีคนรู้จัก
มากการเลื่อนตำาแหน่งการงาน สัญลักษณ์ของการยอมรับนับถือเป็นต้น
ส่วนสิ่งยั่วยุที่เป็นการลงโทษก็เช่น การเสียเพื่อนฝูง เสียชื่อเสียง เสีย
ตำาแหน่ง เป็นต้น ยิ่งเรามีความผิดปกติไปจากกลุ่มเท่าใดแรงบีบบังคับของ
หมู่มีมากเท่าใดหรือยิ่งหมู่กลุ่มนั้น ยิ่งเราต้องการเป็นสมาชิกของหมู่ใด
แรงบีบบังคับของหมู่ย่อมมีมากเท่านั้นหรือยิ่งหมู่กลุ่มต้องการเรามาก
เท่าใดกลุ่มก็ยิ่งต้องการให้เราปฏิบัติตามมาตรฐานของกลุ่มเท่านั้น กลุ่ม
ที่มีเกียรติศักดิ์หรือศักดิ์ศรีตำ่าในหมู่อาจจะกระทำาผิดแปลกไปได้บ้าง
แต่ยิ่งมีตำาแหน่งสูงหรือศักดิ์ศรีสูงแล้วกระทำาผิดมาตรฐานเพียงนิดเดียว
แรงกดดันของหมู่จะเกิดขึ้นทันทีเพื่อให้ปฏิบัติอยู่ในแนว
นอกจากนี้แรงกดดันของกลุ่มจะมีมากก็คือ การที่ไม่มี
มาตรฐานอื่นที่จะปฏิบัติหรือมีน้อยทางที่จะเลือกหรือเราไม่มีความรู้มาก
มายนักในเรื่องนั้น บุคคลมักจะเปลี่ยนความคิดเห็นหรือเจตคติหากกลุ่ม
ของเขาที่ยึดอยู่เปลี่ยนแปลงไป ตัวอย่างเช่น กรรมกร แรกๆอาจไม่
สนใจกันรวมเป็นสมาคมแต่ต่อมาหากรู้ว่าคนอื่น ๆ ในกลุ่มรับฟังความคิด
เห็นนั้น เขาก็อาจเปลี่ยนความคิดยิ่งกลุ่มมีความเป็นเอกภาพเท่าใดแรง
กดดันของกลุ่มยิ่งมีผลเท่านั้นเรื่องอำานาจของความกดดันของกลุ่มอันมีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นอาจจะเป็นไปได้ 4 กรณีคือ
1.1 เราอาจปฏิเสธบรรทัดฐานของกลุ่มและยึดมั่นในเจตคติของ
เราและเราอาจจะก้าวร้าวยิ่งขึ้นหากเราเชื่อว่ากลุ่มไม่มีผลบีบบังคับเรามาก
นักหรือเรามีความภักดีต่อกลุ่มอื่นมากกว่า
1.2 เราอาจจะไม่เปลี่ยนแปลงต่อเจตคติของเราแต่เราปฏิบัติ
ตามกลุ่มเพราะเหตุผลภายนอกอย่างอื่นโดยถือว่าเป็นส่วนตัวและเราไม่
เห็นด้วยแต่ส่วนรวมทำาเช่นนั้นก็ต้องปฏิบัติตาม
1.3 เราอาจยอมรับบรรทัดฐานของกลุ่มเพียงผิวเผิน ภายใน
ส่วนลึกของจิตใจเราไม่ยอมเปลี่ยนแต่พอเราออกไปอยู่กลุ่มอื่นเราจะได้
เห็นว่าเราเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น
1.4 เราอาจจะนำาเอาบางส่วนของบรรทัดฐานของกลุ่มมาผนวก
กับความเชื่อของเราและปฏิเสธบางส่วน
2. ประสบการณ์ที่น่าพึงพอใจหรือไม่น่าพึงพอใจ เราอาจ
เปลี่ยนแปลงเจตคติไปได้เมื่อได้รับ
ประสบการณ์ที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจ เช่น นายแดงเข้าทำางานบริษัท
หนึ่งเพราะเขาเชื่อว่าจะมีความก้าวหน้าแต่พบว่า หัวหน้าของเขาเป็น
คนขี้อิจฉาเมื่อเขาเกิดเสนอความคิดเห็นดีๆเพื่อปฏิบัติหัวหน้าอาจจะเห็น
ว่าการเสนอแนะของเขาเช่นนั้นทำาให้ฐานะของเขาสั่นคลอนและนอกจาก
นั้นยังทราบดีว่าเพื่อนร่วมงานของเขาไป
- 14 -
ฟ้องแก่หัวหน้างานบ่อยๆเขาจึงอาจเปลี่ยนเจตคติไปอีกแบบหนึ่งคือมองไม่
เห็นความก้าวหน้าในการทำางานกับบริษัทนี้ เช่นนี้เป็นต้น
3. อิทธิพลของกลุ่มบุคคลที่มีชื่อเสียง บุคคลที่มีชื่อเสียงใน
ความหมายนี้อาจจะเป็นเพื่อนซึ่งเรานับถือความคิดของเขาหรืออาจจะเป็น
ผู้เชียวชาญทางด้านความพิเศษต่างๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในเรื่องนี้ก็คือ
การโฆษณา ซึ่งมักจะใช้คนมีชื่อเสียงไปยุ่งเกี่ยว เช่น ดาราภาพยนตร์ชื่อ
ดังคนนั้นใช้สบู่ยี่ห้อนั้น ๆ เป็นต้น
เจตคติเป็นความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ อันเป็นผล
เนื่องมาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดง
พฤติกรรมหรือแนวโน้มที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น ๆ ไปในทิศทางหนึ่ง
อาจเป็นไปในทางสนับสนุนหรือคัดค้านก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขบวนการ
การอบรมให้การเรียนรู้ระเบียบวิธีของสังคม ซึ่งเจตคตินี่จะแสดงออกหรือ
ปรากฏให้เห็นชัดในกรณีที่สิ่งเร้านั้นเป็นสิ่งเร้าทางสังคม
องค์ประกอบของเจตคติ
องค์ประกอบของเจตคติมี 3 ประการ ได้แก่
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1
1

More Related Content

Similar to 1

ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
noeiinoii
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
Ni Aslan
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
Wichai Likitponrak
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
Montree Jareeyanuwat
 

Similar to 1 (20)

ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวั...
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 06/57
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
ชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทยชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทย
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
3 สุขอยู่ที่ ใจ ss
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 1
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
260112114701
260112114701260112114701
260112114701
 
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
หนังสืออ่าเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 3สุขอยู่ที่ ใจ
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
หนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 

1

  • 2. กิตติกรรมประกาศ การจัดทำาวิจัยฉบับนี้ ได้รับความร่วมมือและความช่วยเหลือเป็น อย่างดีจากคุณครูผู้สอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทุกท่าน ขอ ขอบคุณท่านเจ้าของเอกสาร บทความ ทฤษฎีและงานวิจัยต่าง ๆ ตลอดจนบรรณารักษ์ของห้องสมุดโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา ที่ ให้ความช่วยเหลือในการค้นคว้าเอกสารอ้างอิง พร้อมทั้งนักเรียน และผู้ ปกครอง ที่ให้การสนับสนุนในการจัดทำาวิจัย นางโสภา ธีร์จิรั ญญ์ 31 มีนาคม 2554 สารบัญ
  • 3. บทที่ 1 ความเป็นมาและความสำาคัญ ความสำาคัญของการศึกษา ...….. ……………………............................................. 1 วัตถุประสงค์. ………………………………………......................................... 2 สมมุติฐานการวิจัย. …………………….................................................................. ... 2 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า.. ………….................................................................... 2 นิยามศัพท์เฉพาะ.... ………………………………..................................................... . 2 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง จิตวิทยาการศึกษา …………………….. ………………………….............................. 3 เจตคติ (Attitude) …………………….. ………………………….............................. 8 ทฤษฎีแรงจูงใจ …………………….. …………………………................................. 14 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข แบบแบบการกระทำาของสกิน เนอร์………………… 15 บทที่ 3 วิธีการดำาเนินการศึกษาค้นคว้า ขั้นตอนการดำาเนินการวิจัย …... ……………………..................................... 16 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ………………………………………............................. 17 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ……………………………............................................. 17 การเก็บรวบรวมข้อมูล ……………………......................................................... 17 การวิเคราะห์ข้อมูล
  • 4. ……………………......................................................... 17 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ............................................................................... .......... 18 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ………………………........................................ 21 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ความมุ่งหมาย ……………………………………….............................. 23 ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง .. ……………………………........................................... 23 เครื่องที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ……………………………............................... 23 วิธีการดำาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล……….. ………………...................................... 23 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล ……………….. …......................................................... 23 ข้อเสนอแนะ ………………. …………………................................................. 25 บรรณานุกรม บทคัดย่อ งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการเรียนดีขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูล จากการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมูลด้านการเรียนของแต่ละวิชา และการ ตอบแบบสอบถามจากนักเรียน การใช้แรงจูงใจเสริมแรงโดยให้คำา ชมเชยแก่นักเรียน รวมทั้งดูแลด้านการเรียนให้มีความรับผิดชอบ สนใจ เรียน และติดตามจากผู้ปกครอง คุณครูที่เข้าสอนแต่ละวิชา ทำาให้ นักเรียนมีความกระตือรือร้นต่อการมาเรียนและการเรียนมากขึ้น มีความ เอาใจใส่ต่อการเรียน รับผิดชอบและสนใจเรียนมากขึ้น ทำาให้ บรรยากาศการเรียนภายในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความตั้งใจ
  • 5. เรียนมากขึ้น มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ไม่ขาดเรียนหรือมาสาย ทำางานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงกำาหนดเวลา รู้จักช่วยเหลือซึ่งกัน และกันด้วยความเต็มใจ บทที่ 1 ความเป็นมาและความสำาคัญ ปัจจุบันสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน ทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง จึงจำาเป็นต้องอาศัยองค์ ประกอบต่าง ๆ มาเกื้อหนุนกัน ซึ่งต้องมีการพัฒนาโดยต้องคำานึง ถึงทรัพยากรที่มีคุณภาพและสิ่งที่สำาคัญที่สุดคือทรัพยากรบุคคลที่มี คุณภาพ โดยจะต้องมีคุณสมบัติด้านสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจที่ดี มีสติปัญญา มีความรู้ความสามารถ มีความอดทน ขยันขันแข็ง ไม่ ย่อท้อต่อความยากลำาบาก กล้าเผชิญปัญหาและอุปสรรคด้วยความมุ่งมั่น ถ้ามนุษย์ทุกคนมีคุณสมบัติดังกล่าวก็จะเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ซึ่งจะเป็น วัฒนธรรมที่ทุกคนในสังคมต้องปฏิบัติ เพราะจะทำาให้สังคมอยู่ร่วมกัน
  • 6. อย่างมีความสุข วินัยจึงเป็นคุณธรรมที่ควรสร้างและปลูกฝังให้ทุกคนใช้ เป็นแนวทางสำาหรับบังคับพฤติกรรมของตนเอง ทำาให้บรรลุตามจุดหมาย ของชีวิตและประสบความสำาเร็จในชีวิต เพราะฉะนั้นครูควรสร้างสรรค์ วินัยให้เกิดแก่นักเรียน เมื่อนักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ของตนจะทำาให้สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนให้เป็นไปในทางที่ดีงาม จึงควรมีการปลูกฝังให้ยึดถือและปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ถ้าหากในสังคม ไม่มีการปลูกฝังและพัฒนาเด็กให้มีวินัยและมีคุณภาพแล้ว การพัฒนา สังคมและประเทศก็จะเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพจึงควรต้องปลูกฝัง วินัยในตนเองให้เป็นพื้นฐาน ในที่สุดก็จะสามารถพัฒนาประเทศชาติให้ มีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น ดังนั้น การศึกษาจึงเป็นสิ่งที่สำาคัญและมี ความจำาเป็นอย่างมากในการที่จะพัฒนาให้มนุษย์มีประสิทธิภาพและ ศักยภาพสูงสุด จากการเป็นคุณครูประจำาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/ 5 โรงเรียน เซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา ซึ่งมีหน้าที่ดูแลนักเรียนด้านพฤติกรรมและการ เรียนของนักเรียนทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน พบว่า พฤติกรรม การเรียนของนักเรียนบางคนในห้องเรียนไม่สนใจเรียน ขาดความรับผิด ชอบและระเบียบวินัย จึงทำาให้บรรยากาศการเรียนรู้ไม่เอื้อต่อการ เรียนการสอนและมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์จึงทำาให้เกิดปัญหาในการ เรียนรู้จะส่งผลต่อนักเรียนบางคนที่มีผลการเรียนค่อนข้างตำ่า จึงต้องใช้ กระบวนการวิจัยมาแก้ปัญหา โดยการนำาทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎี แรงจูงใจ และทฤษฎีการวางเงื่อนไข มาใช้กับนักเรียนเพื่อ เป็นการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนและส่งเสริมศักยภาพ ของนักเรียน ให้เกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพและความสามารถของ ตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีวินัย ความรับผิดชอบในหน้าที่ของ ตนเอง มีบรรยากาศการเรียนรู้ที่เหมาะสม เป็นการปลูกฝังระเบียบวินัย การรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ทำาให้สามารถพัฒนานักเรียนให้เกิด การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลการเรียนดีขึ้น ความสำาคัญของการศึกษา การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ทำาให้ทราบถึงด้านพฤติกรรมการเรียน เมื่อ นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นผู้ที่มีวินัยในตนเองและความรับ ผิดชอบ จะทำาให้นักเรียนสนใจเรียนและมีความขยันอดทน มีแรงจูงใจ - 2 - ทำาให้มีผลการเรียนดีขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน และครู ทุกท่านที่จะนำามาเสริมสร้าง พัฒนานักเรียนให้มีคุณค่ามีคุณประโยชน์ ต่อครอบครัว โรงเรียน สังคมและประเทศชาติต่อไป
  • 7. วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัยและ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และการเรียนดีขึ้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/5 ปีการศึกษา 2553 ของโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา สมมุติฐานการวิจัย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้มีวินัยและความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ของนักเรียน ทำาให้สามารถพัฒนาศักยภาพด้านพฤติกรรมและ การเรียนให้ดีขึ้น ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. ประชากร ในการศึกษาค้นคว้าเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/5 ของโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา จำานวน 43 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ พฤติกรรมด้านวินัยและความรับผิดชอบ ต่อตนเองได้แก่ วินัยในตนเอง ความรับผิดชอบ แรงจูงใจในการเรียน 2.2 ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมด้านความมีวินัยใน ตนเอง นิยามศัพท์เฉพาะ ความมีวินัยในตนเอง หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและไม่ทำาผิดต่อกฎระเบียบในการเป็นนักเรียน ความรับผิดชอบ หมายถึง ความมุ่งมั่นของนักเรียนที่จะงานที่ได้ รับมอบหมายให้สำาเร็จลุล่วงด้วยดี และตั้งใจเรียนอย่างเต็มความสามารถ แรงจูงใจในการเรียน หมายถึง การแสดงพฤติกรรมเมื่อถูกกระตุ้น จากสิ่งเร้า เช่น คำาชมเชย การให้รางวัล ฯลฯ แล้วสามารถประพฤติตน ได้บรรลุเป้าหมายโดยการเรียนรู้ของแต่ละคน - 3 - บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
  • 8. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการจัดทำางานวิจัย มีดังนี้ จิตวิทยาการศึกษา เจตคติ (Attitude) ทฤษฎีแรงจูงใจ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข แบบแบบการกระทำาของสกิน เนอร์ จิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาการศึกษา มีบทบาทสำาคัญในการจัดการศึกษา การสร้าง หลักสูตรและการเรียนการสอนโดยคำานึงถึงความแตกต่างของบุคคล นักศึกษาและครู จำาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางจิตวิทยาการศึกษา เพื่อ จะได้เข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนถึง ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับการเรียนการ ความสำาคัญของการศึกษาจิตวิทยาการศึกษา ความสำาคัญของวัตถุประสงค์ของการศึกษาและบทเรียน นัก จิตวิทยาการศึกษาได้เน้นความสำาคัญของความชัดเจนของการระบุ วัตถุประสงค์ของการศึกษาบทเรียนตลอดจนถึงหน่วยการเรียน เนื่องจากวัตถุประสงค์จะเป็นตัวกำาหนดการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎี พัฒนาการ และทฤษฎีบุคลิกภาพ เป็นเรื่องที่นักการศึกษาและครูจะต้อง มีความรู้เพราะจะช่วยให้เข้าใจเอกลักษณ์ของผู้เรียนในวัยต่าง ๆ โดยเฉพาะวัยอนุบาล วัยเด็ก และวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่กำาลังศึกษาใน โรงเรียน ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่ม นอกจากมีความเข้าใจ พัฒนาการของเด็กวัยต่าง ๆ แล้ว นักการศึกษาและครูจะต้องเรียนรู้ถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่มทางด้านระดับเชาวน์ปัญญา ความ คิดสร้างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนักจิตวิทยาได้คิด วิธีการวิจัยที่จะช่วยชี้ให้เห็นว่า ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นตัวแปร ที่สำาคัญในการเลือกวิธีสอนและในการสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม ทฤษฎี การเรียนรู้ นักจิตวิทยาที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ นอกจากจะ สนใจว่าทฤษฎีการเรียนรู้จะช่วยนักเรียนให้เรียนรู้และจดจำาอย่างมี ประสิทธิภาพได้อย่างไรแล้ว ยังสนใจองค์ประกอบเกี่ยวกับตัวของ ผู้เรียน เช่น แรงจูงใจว่ามีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้อย่างไร ความรู้ เหล่านี้ก็มีความสำาคัญต่อการเรียนการสอน ทฤษฎีการสอนและ เทคโนโลยีทางการศึกษา นักจิตวิทยาการศึกษาได้เป็นผู้นำาในการ บุกเบิกตั้งทฤษฎีการสอน ซึ่งมีความสำาคัญและมีประโยชน์เท่า เทียมกับทฤษฎีการเรียนรู้และพัฒนาการในการช่วยนักการศึกษาและครู เกี่ยวกับการเรียนการสอน สำาหรับเทคโนโลยีในการสอนที่จะช่วยครูได้ มากก็คือ คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน หลักการสอนและวิธีสอน นัก จิตวิทยาการศึกษาได้เสนอหลักการสอนและวิธีการสอนตามทฤษฎีทาง
  • 9. จิตวิทยาที่แต่ละท่านยึดถือ เช่น หลักการสอนและวิธีสอนตามทัศนะนัก จิตวิทยาพฤติกรรมนิยม ปัญญานิยม และมนุษยนิยม หลักการวัดผลและ ประเมินผลการศึกษา ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องนี้จะช่วยให้นักการ ศึกษา และครูทราบว่า การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพหรือไม่ หรือผู้ เรียนได้ -4- สัมฤทธิผลตามวัตถุประสงค์เฉพาะของแต่ละวิชาหรือหน่วยเรียนหรือไม่ เพราะถ้าผู้เรียนมีสัมฤทธิผลสูง ก็จะเป็นผลสะท้อนว่าโปรแกรมการศึกษามี ประสิทธิภาพและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน เพื่อเอื้อการเรียนรู้ และช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน ความสำาคัญของจิตวิทยาการ ศึกษาต่ออาชีพครูมีความสำาคัญในเรื่องต่อไปนี้ 1. ช่วยให้ครูรู้จักลักษณะนิสัยของนักเรียนที่ครูต้องสอนโดย ทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ บุคลิกภาพเป็นส่วนรวม 2. ช่วยให้ครูมีความเข่าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการ ของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร และเรียนรู้ถึงบทบาท ของครูในการที่ช่วยนักเรียนให้มีอัตมโนทัศน์ที่ดีและถูกต้องได้อย่างไร 3. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อจะ ได้ช่วยนักเรียนเป็นรายบุคคลให้พัฒนาตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 4. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก้ วัยและขั้นพัฒนาการของนักเรียน เพื่อจูงใจให้นักเรียนมีความสนใจและมีความที่อยากจะเรียนรู้ 5. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของ นักเรียนเช่นแรงจูงใจอัตมโนทัศน์ และการตั้งความคาดหวังของครูที่มีต่อ นักเรียน 6. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพื่อทำาให้ การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วยให้นักเรียนทุกคนเรียนตามศักยภาพ ของแต่ละบุคคล โดยคำานึงถึงหัวข้อต่อไปนี้ 6.1 ช่วยครูเลือกวัตถุประสงค์ของบทเรียนโดยคำานึงถึงลักษณะ นิสัยและความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียนที่จะต้องสอนและ สามารถที่จะเขียนวัตถุประสงค์ให้นักเรียนเข้าใจว่าสิ่งคาดหวังให้นักเรียน รู้มีอะไรบ้าง โดยถือว่าวัตถุประสงค์ของบทเรียนคือสิ่งที่จะช่วยให้ นักเรียนทราบ เมื่อจบบทเรียนแล้วนักเรียนสามารถทำาอะไรได้บ้าง 6.2 ช่วยครูในการเลือกหลักการสอนและวิธีสอนที่เหมาะสม โดยคำานึงลักษณะนิสัยของนักเรียนและวิชาที่สอน และกระบวนการเรียนรู้ ของนักเรียน 6.3 ช่วยครูในการประเมินไม่เพียงแต่เฉพาะเวลาครูได้สอนจน จบบทเรียนเท่านั้นแต่ใช้ประเมินความพร้อมของนักเรียนก่อนสอน ใน
  • 10. ระหว่างที่ทำาการสอน เพื่อทราบว่านักเรียนมีความก้าวหน้าหรือมีปัญหา ในการเรียนรู้อะไรบ้าง 7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ที่นัก ได้ พิสูจน์แล้วว่าได้ผลดี เช่น การเรียนจากการสังเกตหรือการเลียนแบบ 8. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งพฤติกรรมของครูที่มีการสอนอย่างมีประสิทธิภาพว่ามีอะไรบ้าง เช่น การใช้คำาถาม การให้แรงเสริม และการทำาตนเป็นต้นแบบ 9. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดีไม่ได้เป็นเพราะ ระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว แต่มีองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น แรงจูงใจ ทัศนคติหรืออัตมโนทัศน์ของ นักเรียนและความคาดหวังของครูที่มีต่อนักเรียน - 5 - 10. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของ ห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้และเสริมสร้างบุคลิกภาพของนักเรียน ครู และนักเรียนมีความรักและไว้วางใจซึ่งกันและกันนักเรียน ต่างก็ช่วยเหลือ กันและกัน ทำาให้ห้องเรียนเป็นสถานที่ที่ทุกคนมีความสุขและนักเรียนรัก โรงเรียน อยากมาโรงเรียน เนื่องจากการศึกษามีบทบาทสำาคัญในการช่วยให้เยาวชน พัฒนาการทั้งทางด้านเชาวน์ปัญญา และทางบุคลิกภาพ เพื่อช่วยให้ เยาวชนมีความสำาเร็จในชีวิต ทุกประเทศจึงหาทางส่งเสริมการศึกษาให้ มีคุณภาพ มีมาตรฐานความเป็นเลิศ ความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการ ศึกษาจึงสำาคัญในการช่วยทั้งครูและนักศึกษาผู้มีความรับผิดชอบในการ ปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน พัฒนาการจิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยา เป็นศาสตร์ที่มีคนสนใจมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณก่อน คริสต์กาล มีนักปรัชญาชื่อ พลาโต (Plato 427 – 347 ก่อนคริสต์กาล) อริสโตเติล (Aristotle 384 – 322 ก่อนคริสต์กาล) ได้กล่าวถึงธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ในเชิงปรัชญามากกว่า แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาในยุคนั้นเป็นแบบเก้าอี้โต๊ะกลมหรือ เรียกว่า Arm Chair Method เรียกจิตวิทยาในยุคนั้นว่า จิตวิทยายุคเก่าเพราะนักจิตวิทยานั่งศึกษาอยู่กับโต๊ะทำางาน โดยใช้ความ คิดเห็นของตนเองเพียงอย่างเดียวไม่มีการทดลอง ไม่มีการวิเคราะห์ใด ๆ ทั้งสิ้น ต่อมาอริสโตเติลได้สนใจจิตวิทยาได้ทำาการศึกษาและได้เขียน ตำาราเล่มแรกของโลกเป็นตำาราที่ว่าด้วยเรื่อง วิญญาณชื่อ De Anima แปลว่า ชีวิต เขากล่าวว่า วิญญาณเป็นต้นเหตุให้คนต้องการเรียน จิตวิทยา คนในสมัยโบราณจึงศึกษาจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับวิญญาณ โดยมีความเชื่อว่าวิญญาณจะสิงอยู่ในร่างกายของมนุษย์ขณะมีชีวิตอยู่ เมื่อคนสิ้นชีวิตก็หมายถึงร่างกายปราศจากวิญญาณและวิญญาณออกจาก
  • 11. ร่างล่องลอยไปชั่วระยะหนึ่งแล้วอาจจะกลับสู่ร่างกายคืนอีกได้ และเมื่อ นั้นคน ๆ นั้นก็จะฟื้นคืนชีพขึ้นมาอีก ชาวกรีกจึงมีการคิดค้นวิธีการ ป้องกันศพไม่ให้เน่าเปื่อยที่เรียกว่า มัมมี่ เพื่อคอยการกลับมาของ วิญญาณ ต่อมาประมาณศตวรรษที่ 11 - 12 ได้เกิดลัทธิความจริง (Realism) เป็นลัทธิที่เชื่อสภาพความ เป็นจริงของสิ่งต่าง ๆ และลัทธิความคิดรวบยอด (Conceptualism) ที่กล่าวถึงความคิดที่เกิดหลังจากได้วิเคราะห์พิจารณาสิ่งต่าง ๆ ถี่ถ้วน แล้ว จากลัทธิทั้งสองนี้เองทำาให้ผู้คนมีความคิดมากขึ้นมีการคิด วิเคราะห์ ไตร่ตรอง จึงเป็นเหตุให้ผู้คนเริ่มหันมาสนใจในทาง วิทยาศาสตร์ และจึงเริ่มมาสนใจในเรื่องจิตวิทยาในเชิงวิทยาศาสตร์มาก ขึ้น ในขณะเดียวกันก็ยังสนใจศึกษาเรื่องจิตมากขึ้นด้วย รวมทั้งให้ ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับเรื่องจิตสำานึก (Conscious) อันได้แก่ การมีสมาธิ การมีสติสัมปชัญญะ และเชื่อว่าจะเป็นมนุษย์ได้จะต้อง ประกอบไปด้วย ร่างกายกับจิตใจ จึงมีคำาพูดติดปากว่า “A Sound mind is in a sound body” จิตที่ผ่องใสอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์ ความสนใจเรื่องจิตจึงมีมากขึ้นตามลำาดับ นอกจากนี้ยังเชื่อว่า จิต แบ่ง สามารถเป็นส่วนๆ ได้แก่ ความคิด (Idea) จินตนาการ (Imagine) ความจำา (Memory) การรับรู้ (Concept) ส่วนที่สำาคัญที่สุดเรียกว่า Faculty of will เป็นส่วนหนึ่งของจิตที่สามารถสั่งการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายต่อมา Norman L. Mumm มีความสนใจเรื่องจิต เขา กล่าวว่า จิตวิทยา คือ การศึกษาเรื่องจิต ในปี ค.ศ. 1590 คำาว่า Psychology จึงเป็นที่รู้จักและสนใจของคนทั่วไป - 6 - จอห์น ลอค (John Locke ค.ศ. 1632 - 1704) ได้ชื่อว่า เป็น บิดาจิตวิทยาแผนใหม่ เขาเชื่อว่า ความรู้สึกตัว ( Conscious ) และสิ่งแวดล้อมเป็นตัวที่มีอิทธิพลต่อจิต วิธีการศึกษาทางจิตวิทยา การศึกษาทางจิตวิทยาใช้หลาย ๆ วิธีการมาผสมผสานและทำาการวิเคราะห์บนสมมุติฐาน นักจิตวิทยาจะ ใช้วิธีการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น การตรวจสอบตนเอง การสังเกต การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี การสัมภาษณ์ การทดสอบ ดั งจะอธิบาย เรียงตามลำาดับต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบตนเอง (Introspection) หมายถึง วิธีการ ให้บุคคลสำารวจ ตรวจสอบตนเองด้วยการย้อนทบทวนการกระทำาและ ความรู้สึกนึกคิดของตนเองในอดีต ที่ผ่านมา แล้วบอกความรู้สึกออกมา โดยการอธิบายถึงสาเหตุและผลของการกระทำาในเรื่องต่าง ๆ เช่น ต้องการทราบว่าทำาไมเด็กนักเรียนคนหนึ่งจึงชอบพูดปดเสมอ ๆ ก็ให้เล่า
  • 12. เหตุหรือเหตุการณ์ในอดีต ที่เป็นสาเหตุให้มีพฤติกรรมเช่นนั้นก็จะทำาให้ ทราบที่มาของพฤติกรรมและได้แนวทางในการที่จะช่วยเหลือแก้ไข พฤติกรรมดังกล่าวได้ การตรวจสอบตนเองจะได้รับข้อมูลตรงตามความเป็นจริงและเป็น ประโยชน์ เพราะผู้รายงานที่มีประสบการณ์และอยู่ในเหตุการณ์นั้นจริง ๆ แต่หากผู้รายงานจดจำาเหตุการณ์ได้แม่นยำา และมีความจริงใจในการ รายงานอย่างซื่อสัตย์ไม่ปิดบังและบิดเบือนความจริง แต่หากผู้ รายงานจำาเหตุการณ์หรือเรื่องราวไม่ได้หรือไม่ต้องการรายงานข้อมูล ที่แท้จริงให้ทราบก็จะทำาให้การตีความหมายของเรื่องราวต่าง ๆ หรือ เหตุการณ์ผิดพลาดไม่ตรงตามข้อเท็จจริง 2. การสังเกต (Observation) หมายถึง การเฝ้าดูพฤติกรรม ในสถานการณ์ที่เป็นจริง อย่างมีจุดมุ่งหมาย โดยไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว การสังเกตแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ 2.1 การสังเกตอย่างมีแบบแผน ( Formal Observation ) หมายถึง การสังเกตที่มีการเตรียมการล่วงหน้า มีการวางแผน มีกำาหนด เวลา สถานการณ์ สถานที่ พฤติกรรมและบุคคลที่จะสังเกต ไว้เรียบร้อย เมื่อถึงเวลาที่นักจิตวิทยาวางแผน ก็จะเริ่มทำาการสังเกต พฤติกรรมตามที่กำาหนดและผู้สังเกตพฤติกรรมจะจดพฤติกรรมทุกอย่างใน ช่วงเวลานั้นอย่างตรงไปตรงมา 2.2 การสังเกตอย่างไม่มีแบบแผน ( Informal Observation ) หมายถึง การสังเกตโดยไม่ต้องมีการเตรียมการล่วง หน้าหรือวางแผนล่วงหน้า แต่สังเกตตามความสะดวกของผู้สังเกตคือจะ สังเกตช่วงเวลาใดก็ได้แล้วทำาการจดบันทึกพฤติกรรมที่ตนเห็นอย่างตรง ไปตรงมา การสังเกตช่วยให้ได้ข้อมูลละเอียด ชัดเจนและตรงไปตรงมา เช่น การสังเกต อารมณ์ ความรู้สึก ของบุคคลต่อสถานการณ์ต่าง ๆ จะทำาให้เห็นพฤติกรรมได้ชัดเจนกว่าการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการอื่น ๆ แต่ การสังเกตที่ดีมีคุณภาพมีส่วนประกอบหลายอย่าง เช่น ผู้สังเกตจะต้องมี ใจเป็นกลางไม่อคติหรือลำาเอียงอย่างหนึ่งอย่างใด และสังเกตได้ทั่วถึง ครอบคลุม สังเกตหลาย ๆ สถานการณ์หลาย ๆ หรือหลายๆ พฤติกรรม และใช้เวลาในการสังเกต ตลอดจนการจดบันทึกการสังเกตอย่างตรง ไปตรงมาและแยกการบันทึกพฤติกรรมจากการตีความไม่ปะปนกัน ก็จะ ทำาให้การสังเกตได้ข้อมูลตรงตามความเป็นจริงและนำามาใช้ประโยชน์ ตามจุดมุ่งหมาย 3. การศึกษาบุคคลเป็นรายกรณี (Case Study) หมายถึง การศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ที่สำาคัญของบุคคล แต่ต้องใช้เวลาศึกษา ติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณา ตีความเพื่อให้
  • 13. - 7 - เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษที่ผู้ศึกษาต้องการทราบ ทั้งนี้เพื่อจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง ตลอดจนส่งเสริม พฤติกรรมให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์ที่สำาคัญของบุคคลแต่ต้องใช้เวลา ศึกษาติดต่อกันเป็นระยะหนึ่ง แล้วรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณา ตีความเพื่อให้เข้าใจถึงสาเหตุของพฤติกรรม หรือลักษณะพิเศษที่ผู้ศึกษา ต้องการทราบ ทั้งนี้ เพื่อจะได้หาทางช่วยเหลือแก้ไข ปรับปรุง ตลอด จนส่งเสริมพฤติกรรมให้เป็นไปในทางสร้างสรรค์ 4. การสัมภาษณ์ (Interview) หมายถึง การสนทนากัน ระหว่างบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมาย ซึ่งการสัมภาษณ์ก็ มีหลายจุดมุ่งหมาย เช่น การสัมภาษณ์เพื่อความคุ้นเคย สัมภาษณ์เพื่อ คัดเลือกบุคคลเข้าทำางาน สัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ ตลอดจนสัมภาษณ์เพื่อการแนะแนวและการให้คำาปรึกษา เป็นต้น แต่ทั้ง การสัมภาษณ์ก็เพื่อให้ได้ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพื่อใช้ในการ ตัดสินใจ การสัมภาษณ์ที่ดี จำาเป็นต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า วางแผน กำาหนดสถานที่ เวลาและเตรียมหัวข้อหรือคำาถามในการสัมภาษณ์ และ นอกจากนั้นในขณะสัมภาษณ์ผู้สัมภาษณ์ควรจะใช้เทคนิคอื่น ๆ ประกอบ ด้วยก็ยิ่งจะได้ผลดี เช่น การสังเกต การฟัง การใช้คำาถาม การพูด การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้สัมภาษณ์และผู้สัมภาษณ์ก็จะช่วย ให้การสัมภาษณ์ได้ดำาเนินไปด้วยดี 5. การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใช้เครื่องมือที่มีเกณฑ์ ในการวัดลักษณะของพฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึ่ง หรือหลาย ๆ พฤติกรรม โดยให้ผู้รับการทดสอบเป็นผู้ตอบสนองต่อแบบทดสอบซึ่ง อาจเป็นแบบทดสอบภาษาและแบบปฏิบัติการหรือลงมือทำา ทั้งนี้เพื่อให้ได้ ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลนั้นตามจุดมุ่งหมายที่ผู้ทดสอบวางไว้แบบทดสอบที่นำา มาใช้ในการทดสอบหาข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบบุคลิกภาพ แบบ ทดสอบความสนใจ เป็นต้น การทดสอบก็มีสิ่งที่ควรคำานึงถึงเพื่อผลของข้อมูลที่ได้รับ ซึ่งแบบทดสอบที่นำามาใช้ควรเป็นแบบทดสอบที่เชื่อถือได้เป็น มาตรฐาน ตลอดจนการแปรผลได้อย่างถูกต้อง เป็นต้น 6. การทดสอบ (Experiment) หมายถึง วิธีการรวบรวม ข้อมูลที่เป็นระบบ มีขั้นตอนและเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี ลำาดับขั้นตอนดังนี้ ตั้งปัญหา ตั้งสมมุติฐาน การรวบรวมข้อมูล การทดสอบสมมุติฐาน การแปลความหมายและรายงานผล ตลอด จนการนำาผลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือส่งเสริมต่อไป การ ทดลองจึงเป็นการจัดสภาพการณ์ขึ้นมาเพื่อดูผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกลุ่มหรือสถานการณ์ คือ
  • 14. 1. กลุ่มทดลอง (Experiment Group) คือ กลุ่มที่ได้รับการ จัดสภาพการณ์ทดลองเพื่อศึกษาผลที่ปรากฏจากสภาพนั้นเช่นการสอน ด้วยเทคนิคระดมพลังสมอง จะทำาให้กลุ่มเกิดความคิดสร้างสรรค์หรือไม่ 2. กลุ่มควบคุม (Control Group) คือ กลุ่มที่ไม่ได้รับการ จัดสภาพการณ์ใด ๆ ทุกอย่างถูกควบคุมให้คงภาพเดิม ใช้เพื่อเปรียบ เทียบกับกลุ่มทดลอง สิ่งที่ผู้ทดลองต้องการศึกษาเรียกว่า ตัวแปร ซึ่งมี ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable) และตัวแปร ตาม ( Dependent Variable ) - 8 - เจตคติ (Attitude) ความหมายของเจตคติ เจตคติ หมายถึงอะไร ขัตติยา กรรณสูต (2516:2) ให้ความ หมายไว้ คือ ความรู้สึกที่คนเรามีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือหลายสิ่งในลักษณะที่ เป็นอัตวิสัย (Subjective) อันเป็นพื้นฐานเบื้องต้นหรือการแสดงออกที่ เรียกว่า พฤติกรรม สุชา จันทร์เอม และ สุรางค์ จันทร์เอม (2520:104) ให้ความ หมายเจตคติ คือความรู้สึก หรือท่าทีของบุคคลที่มีต่อบุคคล วัตถุสิ่งของ หรือสถานการณ์ต่างๆ ความรู้สึก หรือท่าทีจะเป็นไปในทำานองที่พึงพอใจ หรือไม่พอใจ เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ได้ สงวนศรี วิรัชชัย (2527:61) ให้ความหมายเจตคติ คือสภาพ ความคิด ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงประเมินที่มีต่อสิ่งต่างๆ(วัตถุ สถานการณ์ ความคิด ผู้คน ฯลฯ) ซึ่งทำาให้บุคคลมีแนวโน้มที่จะแสดง พฤติกรรมต่อสิ่งนั้น ในลักษณะเฉพาะตัวตามทิศทางของทัศนคติที่มีอยู่ ชม ภูมิภาค (2516:64) ให้ความหมายเจตคติ คือวิถีทางที่บุคคล เกิดความรู้สึกต่อบางสิ่งบางอย่าง คำาจำากัดความเช่นนี้มิใช่คำาจำากัดความ เชิงวิชาการมากนักแต่หากเราจะพิจารณาโดยละเอียดแล้วเราก็พอจะมอง เห็นความหมายของมันลึกซึ้งชัดเจนพอดู เมื่อพูดว่าคือความรู้สึกต่อสิ่ง นั้นก็หมายความว่าเจตคตินั้นมีวัตถุ วัตถุที่เจคติจะมุ่งตรงต่อนั้นจะเป็น อะไรก็ได้อาจจะเป็นบุคคล สิ่งของ สถานการณ์ นโยบายหรืออื่น ๆ อาจ จะเป็นได้ทั้งนามธรรมและรูปธรรม ดังนั้น วัตถุแห่งเจตคตินั้นอาจจะเป็น อะไรก็ได้ที่คนรับรู้หรือคิดถึงความรู้สึกเช่นนี้อาจจะเป็นในด้านการจูงใจ หรืออารมณ์และเช่นเดียวกันแรงจูงใจแบบอื่นๆคือดูได้จากพฤติกรรม ตัวอย่างเช่น เจคติต่อศาสนาหากเป็นเจตคติที่ดีเราจะเกิดความเคารพใน วัดเราจะเกิดความรู้สึกว่าศาสนาหรือวัดนั้นจะเป็นสิ่งจรรโลงความสงบสุข เรายินดีบริจาคทำาบุญร่วมกับวัดเราจะพูดได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความ พร้อมที่จะถูกกระตุ้นด้วยวัตถุ การกระทำาต่างๆของคนนั้นมักถูก
  • 15. กำาหนดด้วยเจตคติที่จะตัดสินใจว่าจะบริจาคเงินแก่วัดสักเท่าใดนั้นย่อมมี ปัจจัยต่างๆเข้าเกี่ยวข้อง เช่น ชอบสมภาร รายได้ตนเองดีขึ้น เห็นความ สำาคัญของวัด เห็นว่าสิ่งที่จะต้องบูรณะมาก “เจตคติ” คือ สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจที่เกิดจาก ประสบการณ์และการเรียนรู้ของบุคคลอันเป็นผลทำาให้เกิดมีท่าทีหรือมี ความคิด เห็นรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งในลักษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ เห็นหรือ ไม่เห็นด้วย เจตคติมี ๒ ประเภทคือ เจตคติทั่วไป เจตคติเฉพาะอย่าง COLLINS (1970:68) ให้ความหมายเจตคติ คือการที่บุคคล ตัดสินในสิ่งต่างๆว่าดี –ไม่ดี เห็นด้วย-ไม่เห็นด้วย ยอมรับได้-ยอมรับไม่ได้ ROKEACH (1970:10) ให้ความหมายเจตคติ คือการผสม ผสานหรือจัดระเบียบของความเชื่อที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดหรือสถานการณ์ หนึ่งสถานการณ์ใด ผลรวมของความเชื่อนี้จะเป็นตัวกำาหนดแนวทาง ของบุคคลในการที่จะมีปฏิกริยาตอบสนองในลักษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ BELKIN และ HKYDELL (1979:13) ให้ความหมายเจตคติ คือ แนวโน้มที่บุคคลจะตอบสนอง ในทางที่เป็นความพอใจ ไม่พอใจ ต่อ ผู้คน เหตุการณ์ และสิ่งต่างๆอย่างสมำ่าเสมอและคงที่ - 9 - ดังนั้นอาจสรุปความหมายของเจตคติ คือ ความรู้สึกของบุคคลที่มี ต่อสิ่งใด ๆ ซึ่งแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมในลักษณะชอบ ไม่ชอบ อาจ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย พอใจ ไม่พอใจ ต่อสิ่งใด ๆ ในลักษณะเฉพาะตัวตาม ทิศทางของทัศนคติที่มีอยู่และทำาให้จะเป็นตัวกำาหนดแนวทางของบุคคล ในการที่จะมีปฏิกริยาตอบสนอง องค์ประกอบของเจตคติ องค์ประกอบของเจตคติที่สำาคัญ 3 ประการ คือ 1. การรู้ (COGNITION) ประกอบด้วยความเชื่อของบุคคลที่มี ต่อเป้าหมาย เจตคติ เช่น ทัศนคติต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ สิ่งสำาคัญขององค์ ประกอบนี้ ก็คือ จะประกอบด้วยความเชื่อที่ได้ประเมินค่าแล้วว่าน่าเชื่อ ถือหรือไม่น่าเชื่อถือ ดีหรือไม่ดี และยังรวมไปถึงความเชื่อในใจว่า ควรจะมีปฏิกริยาตอบโต้อย่างไรต่อเป้าหมายทัศนคติจึงจะเหมาะสมที่สุด ดังนั้นการรู้และแนวโน้มพฤติกรรมจึงมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์อย่าง ใกล้ชิด 2. ความรู้สึก (FEELING) หมายถึง อารมณ์ที่มีต่อเป้าหมาย เจตคติ นั้น เป้าหมายจะถูกมองด้วยอารมณ์ชอบหรือไม่ชอบ ถูกใจหรือ ไม่ถูกใจ ส่วนประกอบด้านอารมณ์ ความรู้สึกนี้เองที่ทำาให้บุคคลเกิด ความดื้อดึงยึดมั่น ซึ่งอาจกระตุ้นให้มีปฎิกริยาตอบโต้ได้หากมีสิ่งที่ขัด กับความรู้สึกมากระทบ 3. แนวโน้มพฤติกรรม(ACTION TENDENCY) หมายถึง ความ พร้อมที่จะมีพฤติกรรมที่สอดคล้อง กับเจตคติ ถ้าบุคคลมีเจตคติที่ดี
  • 16. ต่อเป้าหมาย เขาจะมีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมช่วยเหลือหรือ สนับสนุนเป้าหมายนั้น ถ้าบุคคลมีเจตคติในทางลบต่อเป้าหมาย เขาก็จะ มีความพร้อมที่จะมีพฤติกรรมทำาลาย หรือทำาร้าย เป้าหมายนั้นเช่นกัน การเกิดเจตคติ และเจตคติเกิดจากอะไร เจตคติเกิดจากการเรียนรู้ของบุคคลไม่ใช่เป็นสิ่งมีติดตัวมา แต่กำาเนิด หากแต่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบสิ่งใดต้องภายหลัง เมื่อตนเองได้มี ประสบการณ์ในสิ่งนั้น ๆ แล้ว ดังนั้น จึงพอสรุปได้ว่า เจตคติเกิดขึ้นจาก เรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. การรวบรวมความคิดอันเกิดจากประสบการณ์หลาย ๆ อย่าง 2. เกิดจากความรู้สึกที่รอยพิมพ์ใจ 3. เกิดจากการเห็นตามคนอื่น ชม ภูมิภาค (2516:66-67) ได้อธิบายเรื่องการเกิดเจตคติว่าเกิด จากการเรียนรู้และโดยมากก็เป็นการเรียนรู้ทางสังคม(social learning)ดังนั้นปัจจัยที่ทำาให้เกิดเจตคติจึงมีหลายประการเช่น 1. ประสบการณ์เฉพาะ เมื่อคนเราได้รับประสบการณ์ต่อสิ่งใดสิ่ง หนึ่งอาจจะมีลักษณะในรูปแบบที่ผู้ได้รับรู้สึกว่าได้รางวัลหรือถูกลงโทษ ประสบการณ์ที่ผู้รู้สึกเกิดความพึงพอใจย่อมจะทำาให้เกิดเจตคติที่ดีต่อสิ่ง นั้นแต่ถ้าเป็นประสบการณ์ที่ไม่เป็นที่พึงพอใจก็ย่อมจะเกิดเจตคติที่ไม่ดี 2. การสอน การสอนนั้นอาจจะเป็นทั้งแบบที่เป็นแบบแผนหรือไม่ เป็นแบบแผนก็ได้ซึ่งเราได้รับจากคนอื่น องค์การที่ทำาหน้าที่สอนเรามี มากมายอาทิเช่น บ้าน วัด โรงเรียน สื่อมวลชนต่าง ๆ เรามักจะได้รับ เจตคติที่สังคมมีอยู่และนำามาขยายตามประสบการณ์ของเรา การสอน ที่ไม่เป็นแบบแผนนั้นส่วนใหญ่เริ่มจาก - 10 - ครอบครัวตั้งแต่เด็ก ๆ มาแล้ว พ่อแม่พี่น้องมักจะบอกเราว่าสิ่ง นั้นไม่ดีสิ่งนี้ไม่ดีหรือใครควรทำาอะไรมีความสำาคัญอย่างไร การสอนส่วน มากเป็นแบบยัดทะนานและมักได้ผลดีเสียด้วยในรูปแบบการปลูกฝัง เจตคติ 3. ตัวอย่าง (Model) เจตคติบางอย่างเกิดขึ้นจากการเลียน แบบในสถานการณ์ต่าง ๆ เราเห็นคนอื่นประพฤติ เราเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมคนอื่นออกมาเป็นรูปของเจตคติถ้าเรายอมรับนับถือหรือเคารพ คนๆนั้นเราก็มักยอมรับความคิดของเขาตามที่เราเข้าใจ เช่น เด็กชาย แดงเห็นบิดาดูรายการกีฬาทางโทรทัศน์ประจำาเขาก็จะแปลความหมายว่า กีฬานั้นเป็นเรื่องน่าสนใจและจะต้องดูหรือถ้าเขาเห็นพ่อแม่ระมัดระวังต่อ ชุดรับแขกในบ้านมากกว่าของที่อยู่ในสนามหญ้าหลังบ้านเขาก็จะเกิด ความรู้สึกว่าของในบ้านต้องระวังรักษาเป็นพิเศษ ซึ่งการเรียนรู้เช่นนี้ พ่อไม่ไม่จำาเป็นต้องพูดว่าอะไรเลย เด็กจะเฝ้าสังเกตการณ์ปฏิบัติของพ่อ
  • 17. แม่ต่อบุคคลอื่นอย่างถี่ถ้วนจะเรียนรู้ว่าใครควรคบใครควรนับถือ ใครไม่ ควรนับถือ 4. ปัจจัยที่เกี่ยวกับสถาบัน ปัจจัยทางสถาบันมีอยู่เป็นอันมากที่มี ส่วนสร้างสนับสนุนเจตคติของเราตัวอย่างเช่น การปฏิบัติตนในวัด ใน โบสถ์ การแต่งกายของคนในสถานการณ์ทางสังคมต่าง ๆ เป็นสิ่งให้ แนวเจตคติของคนเราเป็นอันมาก สภาวะที่มีผลต่อการก่อเกิดของเจตคตินั้นมีหลายอย่าง อาทิเช่น ประการแรก ขึ้นอยู่กับการที่เราคิดว่าเราเป็นพวกเดียวกัน (identification) เด็กที่ยอมรับว่าตนเองเป็นพวกเดียวกับพ่อแม่ย่อมจะ รับเจตคติของพ่อแม่ง่ายขึ้น หรือที่โรงเรียนหากเด็กถือว่าครูเป็นพวกเดียว กับตนเด็กย่อมจะรับความเชื่อถือหรือเจตคติของครู ประการที่สอง ขึ้นอยู่กับว่า เจตคตินั้นคนอื่นๆเป็น จำานวนมากเชื่ออย่างนั้นหรือคิดอย่างนั้น(uniformity) การที่เราจะมี เจตคติเข้ากลมเกลียวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้นั้นอาจจะมีสาเหตุอื่นอีก เช่นโอกาสที่จะได้รับเจตคติแตกต่างไปนั้นไม่มีประการหนึ่งอีกประการ หนึ่งหากไม่เห็นด้วยกับส่วนใหญ่เราเกิดความรู้สึกว่าส่วนใหญ่ปฏิเสธเรา นอกจากนี้ประการที่สามการที่เรามีเจตคติตรงกับคนอื่นทำาให้เราพูดติดต่อ กับคนอื่นเข้าใจ เมื่อเราเจริญเติบโตจากเด็กเป็นผู้ใหญ่นั้นแน่ที่สุดที่เราจะ พบความแตกต่างของเจตคติมากมาย ในบ้านนั้นนับว่าเป็นแหล่งเกิด เจตคติตรงกันที่สุด แต่พอมีเพื่อนฝูงเราจะเห็นว่าเจตคติของเพื่อนฝูงและ ของพ่อแม่ของเขาแตกต่างกันบ้าง ในโรงเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระดับการศึกษาชั้นสูงเราจะพบความแตกต่างของเจตคติมากมาย ดัง นั้นเราจะเห็นได้ว่าเจตคติแรกๆที่เราได้รับนั้นค่อนข้างจะคงทนถาวร เจตคตินั้นจะสามารถนำาไปใช้กับสถานการณ์ใหม่ที่คล้ายกัน เช่น คนที่มี พ่อดุดันเข้มงวดเขาจะเกิดความมุ่งร้ายต่อพ่อ อาจจะคิดว่าผู้ บังคับบัญชานั้นดุดันเข้มงวดและเกิดความรู้สึกมุ่งร้ายต่อผู้บังคับบัญชา ก็ได้ หรือคนงานที่ไม่ชอบหัวหน้างานอาจจะนำาความไม่ชอบนั้นไปใช้ต่อ บริษัทหรือเกลียดบริษัทไปด้วย ลักษณะของเจตคติ ทิตยา สุวรรรณชฎ (2520:602-603) กล่าวถึงลักษณะสำาคัญ ของเจตคติ 4 ประการ คือ 1. เจตคติ เป็นสภาวะก่อนที่พฤติกรรมโต้ตอบ (PREDISPOSITION TO RESPOND) ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งใดสิ่ง หนึ่งโดยเฉพาะหรือจะเรียกว่าสภาวะพร้อมที่จะมีพฤติกรรมจริง 2. เจตคติ จะมีความคงตัวอยู่ในช่วงระยะเวลา (PERSISTENCE OVERTIME) แต่มิได้หมายความว่าจะไม่มีการ เปลี่ยนแปลง - 11 -
  • 18. 3. เจตคติ เป็นตัวแปรหนึ่งนำาไปสู่ความสอดคล้องระหว่าง พฤติกรรม ความรู้สึกนึกคิดไม่ว่าจะเป็นการแสดงออกโดยวาจา หรือการ แสดงความรู้สึก ตลอดจนการที่จะต้องเผชิญหรือหลีกเลี่ยงต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 4. เจตคติ มีคุณสมบัติของแรงจูงใจ ในอันที่จะทำาให้บุคคล ประเมินผล หรือเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งหมายความต่อไปถึงการกำาหนด ทิศทางของพฤติกรรมจริงด้วย เจตคตินับว่าเป็นส่วนประกอบที่สำาคัญในการทำางาน อย่างหนึ่ง นอกจากความพร้อมและการจูงใจ บุคคลที่มีเจตคติที่ดีต่อการ ทำางานจะช่วยให้ทำางานได้ผลทั้งนี้เพราะเจตคติเป็นต้นกำาเนิดของความ คิดและการแสดงการกระทำาออกมานั่นเอง กล่าวโดยสรุป เจตคติ เป็นลักษณะทางจิตของบุคคลที่ เป็นแรงขับแรงจูงใจของบุคคล แสดงพฤติกรรมที่จะแสดงออกไปในทาง ต่อต้านหรือสนับสนุนต่อสิ่งนั้นหรือสถานการณ์นั้น ถ้าทราบทัศนคติของ บุคคลใดที่สามารถทำานายพฤติกรรมของบุคคลนั้นได้ โดย ปกติคนเรามักแสดงพฤติกรรมในทิศทางที่สอดคล้องกับทัศนคติที่มีอยู่ อย่างไรก็ดีเจตคติเมื่อเกิดขึ้นแล้วอาจจะมีลักษณะที่ค่อนข้าง ถาวรและคงทน ความรังเกียจที่เรียนรู้ในวัยเด็กอาจจะคงอยู่ต่อไปจนชั่ว ชีวิต เจตคติทางการเมือง ศาสนาและอื่นๆมักจะมีความคงทนเป็นอัน มาก สาเหตุที่ทำาให้เจตคติบางอย่างมีความคงทนอาจมีสาเหตุดังต่อไปนี้ 1. เนื่องจากเจตคตินั้นเป็นแนวทางปรับตัวได้อย่างพอเพียง คือ ตราบใดที่สถานการณ์นั้นยังสามารถจะใช้เจตคติเช่นนั้นใน การปรับตัวอยู่เจตคตินั้น ก็จะยังคงไม่เปลี่ยนแต่เนื่องจากไม่สามารถที่จะ ใช้ได้เนื่องจากสถานการณ์ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้วเจตคตินั้นก็มักจะ เปลี่ยนแปลงไป เช่น ในสหรัฐอเมริกาคนส่วนใหญ่มักจะคัดค้านการช่วย เหลือของรัฐบาลอย่างรุนแรง แต่พอเกิดเศรษฐกิจตกตำ่าอย่างรุนแรงก็อาจ จะรับความช่วยเหลือของรัฐบาลมากขึ้น 2. เหตุที่เจตคติไม่เปลี่ยนแปลง่ายๆก็เพราะว่าผู้มีเตคตินั้นจะ ไม่ยอมรับรู้สิ่งยกเว้นใด ๆ เหตุการณ์เช่นนี้เรียกว่า Selective perception เช่น คนที่เกลียดยิว เกิดความคิดว่าพวกยิวนี้ขี้เหนียวเอา รัดเอาเปรียบต่อมามียิวมาอยู่บ้านใกล้ ๆ ทั้ง ๆ ที่ยิวคนนั้นแสนจะดีเป็น กันเองให้ความช่วยเหลือเราดีเจตคติของเรามีอยู่เดิมจะไม่ยอมรับรู้ความดี ของยิวเช่นนั้น ดังนั้นเจตคติจึงไม่เปลี่ยน 3. สาเหตุอีกอย่างหนึ่งคือ ความภักดีต่อหมู่กลุ่มที่เราเป็น สมาชิกคนเราไม่อยากได้ชื่อว่าทรยศต่อพวก ตั วอย่างเช่น หญิงสาวถูก อบรมมาในครอบครัวซึ่งเคร่ง ไม่ยอมให้เล่นการพนัน สูบบุหรี่เพราะการก ระทำาเช่นนั้นครอบครัวถือว่าเป็นการกระทำามิใช่วิสัยสตรีที่ดี ที่จะพึง กระทำา ต่อมาแม้ว่าจะมีโอกาสที่จะกระทำาได้แต่ไม่ทำา เพราะเห็นว่าขัดต่อ เจตคติของพ่อแม่ที่เคยสั่งสอนไว้
  • 19. 4. ความต้องการป้องกันตนเอง บุคคลที่ไม่ยอมเปลี่ยนเจตคติ ที่เขามีอยู่เดิมนั้นอาจเนื่องจากเหตุผลว่าหากเขาเปลี่ยนแปลงแล้วจะทำาให้ คนอื่นเห็นว่าเขาอ่อนแอ เช่น คนขายของเสนอวิธีการขายใหญ่ให้ หัวหน้า หัวหน้าเห็นว่าดีเหมือนกันแต่ไม่ยอมรับเพราะเห็นว่าเป็นเรื่องที่ ทำาให้คนอื่นเห็นหัวหน้าไม่มีความสามารถ 5. การได้รับการสนับสนุนจากสังคมนั้นคือการที่เราเชื่ออย่าง นั้นมีเจตคติอยู่อย่างนั้นเรายังได้รับการสนับสนุนกับคนที่มีความเชื่ออย่าง เดียวกับเราอยู่ - 12 - หน้าที่และประโยชน์ของเจตคติ Katz (อ้างในนพมาศ 2534:130) มองว่าเจตคติมี ประโยชน์และหน้าที่ คือ 1. เป็นประโยชน์โดยการเป็นเครื่องมือ ปรับตัว และเป็น ประโยชน์ในการใช้เพื่อทำาการต่าง ๆ 2. ทำาประโยชน์โดยการใช้ป้องกันสภาวะจิตใจ หรือปกป้อง สภาวะจิตของบุคคล (EGODEFENSIVE FUNCTION) เพราะความคิด หรือความเชื่อบางอย่างสามารถทำาให้ผู้เชื่อหรือคิดสบายใจ ส่วนจะผิดจะ ถูกเป็นอีกเรื่องหนึ่ง 3. เจตคติทำาหน้าที่แสดงค่านิยม ให้คนเห็นหรือรับรู้ (VALUE EXPRESSIVE FUNCTION) 4. มีประโยชน์หรือให้คุณประโยชน์ทางความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว กับผู้คนและสิ่งต่างๆ 5. ช่วยให้บุคคลมีหลักการและกฎเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรม หรือช่วยพัฒนาค่านิยมให้กับบุคคล การที่บุคคลมีทัศนคติที่ดีต่อบุคคล สถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคมจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลสามารถประเมินและ ตัดสินได้ว่าควรจะเลือกประพฤติอย่างไรจึงจะเหมาะสมและดีงาม ชม ภูมิภาค (2516:65) หน้าที่ของเจตคติ เจตคติทำา หน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้อยู่มาก เจตคติมีส่วนกำาหนดการมองเห็นของคน นอกจากนี้ยังทำาหน้าที่อื่น ๆ อีกเช่น 1. เตรียมบุคคลเพื่อให้พร้อมต่อการปฏิบัติการ 2. ช่วยให้บุคคลได้คาดคะเนล่วงหน้าว่าอะไรจะเกิดขึ้น 3. ทำาให้บุคคลได้รับความสำาเร็จตามหลักชัยที่วางไว้ การเปลี่ยนแปลงเจตคติ สุชา จันเอม และสุรางค์ จันเอม (2520:110-111) กล่าวว่า ทัศนคติของบุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงได้เนื่องมาจาก 1) การชักชวน (PERSUASION) ทัศนคติจะเปลี่ยนแปลง หรือปรับปรุงใหม่ได้หลังจากที่ได้รับคำาแนะนำา บอกเล่า หรือได้รับความรู้ เพิ่มพูนขึ้น
  • 20. 2) การเปลี่ยนแปลงกลุ่ม (GROUP CHANGE) ช่วย เปลี่ยนทัศนคติของบุคคลได้ 3) การโฆษณาชวนเชื่อ (PROPAGANDA) เป็นการ ชักชวนให้บุคคลหันมาสนใจหรือรับรู้โดยการสร้างสิ่งแปลกๆใหม่ๆขึ้น สิ่งที่มีอิทธิพลต่อเจตคติ คือ 1. บิดา มารดา ของเด็ก 2. ระเบียบแบบแผน วัฒนธรรมของสังคม 3. การศึกษาเล่าเรียน 4. สิ่งแวดล้อมในสังคม 5. การพักผ่อนหย่อนใจที่แต่ละคนใช้ประจำาตัว การแก้ไขเจตคติหรือวิธีสร้างเจตคติ เจตคติเป็นเรื่องที่แก้ไขได้อยากถ้าจำาเป็นจะต้องช่วยแก้ไข เปลี่ยนเจตคติของคนอาจใช้วิธีเหล่านั้น คือ - 13 - 1. การค่อย ๆ ชื้นลงให้เข้าใจ 2. หาสิ่งเร้าและสิ่งจูงใจอย่างเข้มข้นมายั่วยุ 3. คบหาสมาคมกับเพื่อนดีดี 4. ให้อ่านหนังสือดีมีประโยชน์ 5. ให้ลองทำาจนเห็นชอบแล้วกลับตัวดีเอง ชม ภูมิภาค (2516:65) ได้อธิบายว่าเจตคติเปลี่ยนแปลงได้ ปัจจัยที่จะช่วยให้เจคติเปลี่ยนแปลงได้มีหลายประการเช่น 1. ความกดดันของกลุ่ม(Group pressure) หากกลุ่มจะ สามารถให้รางวัลหรือลงโทษได้ย่อมจะมีแรงกดดันมากในการที่จะกดดัน ทิศทางเจตคติของเราสิ่งยั่วยุที่เป็นรางวัลนั้น ได้แก่ ความเป็นผู้มีคนรู้จัก มากการเลื่อนตำาแหน่งการงาน สัญลักษณ์ของการยอมรับนับถือเป็นต้น ส่วนสิ่งยั่วยุที่เป็นการลงโทษก็เช่น การเสียเพื่อนฝูง เสียชื่อเสียง เสีย ตำาแหน่ง เป็นต้น ยิ่งเรามีความผิดปกติไปจากกลุ่มเท่าใดแรงบีบบังคับของ หมู่มีมากเท่าใดหรือยิ่งหมู่กลุ่มนั้น ยิ่งเราต้องการเป็นสมาชิกของหมู่ใด แรงบีบบังคับของหมู่ย่อมมีมากเท่านั้นหรือยิ่งหมู่กลุ่มต้องการเรามาก เท่าใดกลุ่มก็ยิ่งต้องการให้เราปฏิบัติตามมาตรฐานของกลุ่มเท่านั้น กลุ่ม ที่มีเกียรติศักดิ์หรือศักดิ์ศรีตำ่าในหมู่อาจจะกระทำาผิดแปลกไปได้บ้าง แต่ยิ่งมีตำาแหน่งสูงหรือศักดิ์ศรีสูงแล้วกระทำาผิดมาตรฐานเพียงนิดเดียว แรงกดดันของหมู่จะเกิดขึ้นทันทีเพื่อให้ปฏิบัติอยู่ในแนว นอกจากนี้แรงกดดันของกลุ่มจะมีมากก็คือ การที่ไม่มี มาตรฐานอื่นที่จะปฏิบัติหรือมีน้อยทางที่จะเลือกหรือเราไม่มีความรู้มาก มายนักในเรื่องนั้น บุคคลมักจะเปลี่ยนความคิดเห็นหรือเจตคติหากกลุ่ม ของเขาที่ยึดอยู่เปลี่ยนแปลงไป ตัวอย่างเช่น กรรมกร แรกๆอาจไม่ สนใจกันรวมเป็นสมาคมแต่ต่อมาหากรู้ว่าคนอื่น ๆ ในกลุ่มรับฟังความคิด
  • 21. เห็นนั้น เขาก็อาจเปลี่ยนความคิดยิ่งกลุ่มมีความเป็นเอกภาพเท่าใดแรง กดดันของกลุ่มยิ่งมีผลเท่านั้นเรื่องอำานาจของความกดดันของกลุ่มอันมีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นอาจจะเป็นไปได้ 4 กรณีคือ 1.1 เราอาจปฏิเสธบรรทัดฐานของกลุ่มและยึดมั่นในเจตคติของ เราและเราอาจจะก้าวร้าวยิ่งขึ้นหากเราเชื่อว่ากลุ่มไม่มีผลบีบบังคับเรามาก นักหรือเรามีความภักดีต่อกลุ่มอื่นมากกว่า 1.2 เราอาจจะไม่เปลี่ยนแปลงต่อเจตคติของเราแต่เราปฏิบัติ ตามกลุ่มเพราะเหตุผลภายนอกอย่างอื่นโดยถือว่าเป็นส่วนตัวและเราไม่ เห็นด้วยแต่ส่วนรวมทำาเช่นนั้นก็ต้องปฏิบัติตาม 1.3 เราอาจยอมรับบรรทัดฐานของกลุ่มเพียงผิวเผิน ภายใน ส่วนลึกของจิตใจเราไม่ยอมเปลี่ยนแต่พอเราออกไปอยู่กลุ่มอื่นเราจะได้ เห็นว่าเราเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น 1.4 เราอาจจะนำาเอาบางส่วนของบรรทัดฐานของกลุ่มมาผนวก กับความเชื่อของเราและปฏิเสธบางส่วน 2. ประสบการณ์ที่น่าพึงพอใจหรือไม่น่าพึงพอใจ เราอาจ เปลี่ยนแปลงเจตคติไปได้เมื่อได้รับ ประสบการณ์ที่น่าพอใจหรือไม่น่าพอใจ เช่น นายแดงเข้าทำางานบริษัท หนึ่งเพราะเขาเชื่อว่าจะมีความก้าวหน้าแต่พบว่า หัวหน้าของเขาเป็น คนขี้อิจฉาเมื่อเขาเกิดเสนอความคิดเห็นดีๆเพื่อปฏิบัติหัวหน้าอาจจะเห็น ว่าการเสนอแนะของเขาเช่นนั้นทำาให้ฐานะของเขาสั่นคลอนและนอกจาก นั้นยังทราบดีว่าเพื่อนร่วมงานของเขาไป - 14 - ฟ้องแก่หัวหน้างานบ่อยๆเขาจึงอาจเปลี่ยนเจตคติไปอีกแบบหนึ่งคือมองไม่ เห็นความก้าวหน้าในการทำางานกับบริษัทนี้ เช่นนี้เป็นต้น 3. อิทธิพลของกลุ่มบุคคลที่มีชื่อเสียง บุคคลที่มีชื่อเสียงใน ความหมายนี้อาจจะเป็นเพื่อนซึ่งเรานับถือความคิดของเขาหรืออาจจะเป็น ผู้เชียวชาญทางด้านความพิเศษต่างๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในเรื่องนี้ก็คือ การโฆษณา ซึ่งมักจะใช้คนมีชื่อเสียงไปยุ่งเกี่ยว เช่น ดาราภาพยนตร์ชื่อ ดังคนนั้นใช้สบู่ยี่ห้อนั้น ๆ เป็นต้น เจตคติเป็นความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ อันเป็นผล เนื่องมาจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดง พฤติกรรมหรือแนวโน้มที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น ๆ ไปในทิศทางหนึ่ง อาจเป็นไปในทางสนับสนุนหรือคัดค้านก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขบวนการ การอบรมให้การเรียนรู้ระเบียบวิธีของสังคม ซึ่งเจตคตินี่จะแสดงออกหรือ ปรากฏให้เห็นชัดในกรณีที่สิ่งเร้านั้นเป็นสิ่งเร้าทางสังคม องค์ประกอบของเจตคติ องค์ประกอบของเจตคติมี 3 ประการ ได้แก่