SlideShare a Scribd company logo
 องค์ประกอบ

 ตัวแบบพื้นฐาน

 ระบบค้นคืนสารสนเทศ

 ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ   พฤติกรรมการแสวงหา
 สารสนเทศ
หากพิจารณาเชิงระบบ (สารสนเทศ) การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศเป็น
  การเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรสารสนเทศกับผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศ โดย
  มีฐานข้อมูลในฐานะเป็นแหล่งทีรวบรวมสารสนเทศประเภทใดหนึง
                               ่                              ่

 1.   ทรัพยากรสารสนเทศ (information resources)

 2.   ฐานข้อมูล (database)

 3.   ผู้ใช้ (user)
1. ทรัพยากรสารสนเทศ                            2. ฐานข้อมูล
                                                                    สารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ    3. ผู้ใช้



                                                                        ความต้องการของผู้ใช้

คือ                           หมายถึง                                             หมายถึง
สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์    -ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด                1. ผู้ปฏิบัติงานสารสนเทศ
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มี   - ฐานข้อมูลเฉพาะสาขาที่ห้องสมุดพัฒนาขึน
                                                                    ้             2. ผู้ใช้สารสนเทศ
ในห้องสมุด                       เอง
                              - ฐานข้อมูลซีดีรอม
                              - ฐานข้อมูลออนไลน์
 1.    ทรัพยากรสารสนเทศ (information resources)
         - คือ วัสดุที่บันทึกสารสนเทศ มีหลากหลายชนิด เช่น หนังสือ เอกสารเทปเสียง
  สารานุกรมบนแผ่นซีดี e-Journal สารสนเทศบน WWW ฯลฯ วัสดุเหล่านั้นถูก
  จัดเก็บและให้บริการในห้องสมุด เพื่อสนองความต้องการด้านต่าง ๆ ของผู้ใช้
         - การแบ่งประเภทของ IR ทาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง
                   1) แบ่งตามรูปลักษณ์ของสื่อที่ใช้จัดเก็บ คือ สื่อสิ่งพิมพ์
  สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
                   2) แบ่งตามสาขาวิชา เป็น มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์
  และเทคโนโลยี
                   3) แบ่งตามการจัดการด้วยคอมพิวเตอร์ คือ แอนะล็อก และดิจิทัล
4) แบ่งตามแหล่งสารสนเทศ หรือ แหล่งที่มา/การผลิต หรือ ตามความใหม่
เก่าของตัวเนื้อหา แบ่งออกเป็นแหล่งปฐมภูมิ แหล่งทุติยภูมิ และแหล่งตติยภูมิ
1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources)
     = งานที่เขียนขึนเป็นครั้งแรก ข้อเขียนใหม่เฉพาะเรื่อง รายงานการค้นพบใหม่ๆ
                    ้
   ไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน เช่น รายงานการวิจัย/ทดลอง วิทยานิพนธ์          งานวิจัย
   บทความในวารสาร สิทธิบัตร มาตรฐาน                 ฯลฯ
2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources)
     = งานที่ผ่านกระบวนการคัดเลือก ขัดเกลา ย่อ/สรุป วิจารณ์ -------> เรียบเรียงใหม่
   จัดอยู่ในรูปแบบใหม่ เช่น บทความในวารสาร        บทคัดย่อ    พจนานุกรม      สารานุกรม
   ดรรชนีและสาระสังเขป ฯลฯ
3. แหล่งข้อมูลตติยภูมิ (Tertiary Sources)
     = งานเขียนที่กลั่นกรอง และรวบรวมจาก 1 + 2        เช่น หนังสือตาราวิชาการ เป็นต้น
 2.    ฐานข้อมูล (database)
         คือ แหล่งสะสมข้อเท็จจริงต่าง ๆ โดยมีการรวบรวมข้อมูลทีมีความสัมพันธ์
                                                              ่
  กันไว้ด้วยกัน และมีโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS -- Database
  Management System) มาช่วยในการจัดเก็บ จัดเรียง และสืบค้นได้

       ในระบบสารสนเทศและห้องสมุด ฐานข้อมูลเป็นที่รวมของระเบียนทรัพยากร
  สารสนเทศต่าง ๆ ที่มีในห้องสมุด ซึ่งก็คือ “ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของ
  ห้องสมุด” และหมายรวมถึง “ฐานข้อมูลเฉพาะสาขาวิชาที่ห้องสมุดพัฒนาขึ้นเอง”
  “ฐานข้อมูลซีดีรอม” และ”ฐานข้อมูลออนไลน์” ด้วย
ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด   UTCC
ฐานข้อมูลที่ห้องสมุด   UTCC   พัฒนาขึ้นเอง
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุด   UTCC   บอกรับ
ฐานข้อมูลที่ห้องสมุด   UTCC   เป็นสมาชิก
 3.   ผู้ใช้   (User)

         ประเภทของผู้ใช้สามารถแบ่งได้หลายประเภท ขึนอยู่กับเกณฑ์ทใช้ในการแบ่ง
                                                  ้             ี่
  โดยทั่วไปแบ่งผู้ใช้ออกเป็นดังนี้
       3.1 แบ่งตามหน้าทีในหน่วยงานบริการสารสนเทศ
                        ่
       3.2 แบ่งตามความชานาญ หรือประสบการณ์ในการค้นหาสารสนเทศ
 3.    ผู้ใช้   (User) (ต่อ)
          3.1 แบ่งตามหน้าทีในหน่วยงานบริการสารสนเทศ คือ
                              ่
                   3.1.1 ผู้ใช้ที่เป็นตัวกลาง (intermediary/ mediator) หมายถึง
  ผู้ให้บริการค้นคืนสารสนเทศ อาทิ บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ เป็นต้น ซึ่ง
  ทาหน้าที่ค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้
                   3.1.2 ผู้ใช้ปลายทาง (end user) ได้แก่ ผู้ใช้ที่มีความต้องการ
  สารสนเทศของตนเอง อาจเป็นนักวิจัย ผู้บริหาร นักศึกษา อาจารย์ หรือ
  ประชาชนทั่วไป โดยมีการแสวงหาสารสนเทศด้วยตนเอง หรือขอความช่วยเหลือ
  จากผู้ให้บริการสารสนเทศ
 3.   ผู้ใช้   (User) (ต่อ)

        3.2 แบ่งตามความชานาญ หรือประสบการณ์ในการค้นหาสารสนเทศ
  เป็นการแบ่งผู้ใช้ที่เป็นตัวกลางและผู้ใช้ปลายทางออกเป็น
                   1) ผู้ใช้ที่มีความชานาญเป็นอย่างดี
                   2) ผู้ใช้ที่มีความชานาญระดับปานกลาง
                   3) ผู้ที่ไม่เคยใช้ระบบมาก่อน
 โมเดล IR


 เน้นกระบวนการในการจับคูระหว่างทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยูกบความต้องการ
                         ่                              ่ั
  สารสนเทศของผู้ใช้ หากจับคู่ได้ตรงกัน ย่อมได้ผลการค้นคืน หากจับคู่ ไม่ตรงกัน
  ผลจะเป็นศูนย์
องค์ประกอบของตัวแบบพื้นฐาน
 1. เอกสารที่ได้คัดเลือก หรือเรียกว่า “เอกสาร (document)”
    คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ที่ได้รับการคัดเลือก หรือคัดสรรตามนโยบายของหน่วยงานบริการ
    สารสนเทศแห่งนั้น
 2. ตัวแทนเอกสาร (document surrogate/ representation)
    คือ การสร้างตัวแทนเอกสารในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีมาตรฐาน แล้วจัดเก็บในรูปของฐานข้อมูล
    เช่น
           - การสร้างข้อมูลบรรณานุกรม เพื่อเป็นตัวแทนโครงสร้างเอกสาร เช่น ถ้าเป็น
    หนังสือ จะมีโครงสร้างของตัวแทนหนังสือ ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์
    สานักพิมพ์ ปีพิมพ์ หัวเรื่อง คาสาคัญ เป็นต้น
           - การกาหนดตัวแทนสาระ หรือดรรชนี
           - การสรุปย่อเนื้อหาสาคัญในรูปของสาระสังเขป
                                        ฯลฯ
3. ความต้องการสารสนเทศ (information need)
   - บางครั้งเรียกว่า “ความต้องการของผู้ใช้”
   - เป็นจุดเริ่มต้นที่ผลักดันให้ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศด้วยวิธีการต่างๆ
   - ลักษณะสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น เรื่องทั่วไป เรื่องใหม่ๆที่สนใจ เรื่องที่
          มีเนื้อหาครอบคลุมลุ่มลึก เป็นต้น
   - ความต้องการสารสนเทศจะเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัย และเวลา ไม่คงที่แน่นอน

4. ตัวแทนความต้องการสารสนเทศ
   หมายถึงการสร้าง หรือกาหนดตัวแทนความต้องการสารสนเทศในรูปแบบของ
   “คาศัพท์” หรือคาค้นทีคิดว่าสามารถแทนความต้องการสารสนเทศได้ตรงและถูกต้อง
                        ่
   ที่สุด โดยใช้ Search Tips ช่วย
   หรือเรียกว่าเป็นการกาหนดกลยุทธ์การค้น (Search Strategy)
5. การจับคู่ระหว่างตัวแทนความต้องการสารสนเทศกับตัวแทนเอกสาร              (matching
  process)
  กล่าวคือ กระบวนการจับคู่เป็นกลไกสาคัญในการค้นคืนสารสนเทศ
  หากจับคู่ได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้จะได้ผลการค้นคืนทีเ่ ข้าเรื่อง   (relevant)
        หรือ ตรงกับความต้องการสารสนเทศของตน (pertinent)
  “จานวนรายการที่ค้นคืนได้ (retrieved item)” เป็นประเด็นสาคัญที่ต้องพิจารณา
         เช่นกัน
  ดังนั้นจึงควรมีการจัดอันดับรายการที่ค้นคืนได้ (ranking) เพือให้เอกสารที่คาดว่า
                                                                    ่
         เข้าเรื่องที่สุดอยู่ในอันดับต้น และเอกสารเข้าเรื่องน้อยกว่าอยู่ในอันดับรองลง
         มาตามลาดับ
(ตามแนวคิดของผู้สอน)
 เป็นกระบวนการในการจับคูระหว่างทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยูกับความต้องการสารสนเทศ
                         ่                              ่
  ของผู้ใช้
 เพื่อ
   ได้ผลการสืบค้นทีเข้าเรื่อง (ถูกต้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้)
                       ่
   สามารถจัดอันดับรายการที่ค้นคืนได้ (เอกสารที่เข้าเรื่องที่สุดอยู่ในอันดับต้น)

   สามารถค้นคืนได้อย่างรวดเร็ว

 ซึ่งการที่ระบบค้นคืนสารสนเทศจะมีประสิทธิภาพต้องมีการดาเนินการการจัดเก็บเอกสาร
  (document) การจัดทาระเบียนเอกสาร (โครงสร้างของเอกสาร) และ การจัดทาดรรชนี
  (เพื่อใช้เป็นตัวแทนเนื้อหาสาระของเอกสาร) อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน
 หมายรวมถึงผู้ใช้เองก็ต้องมีความสามารถในการกาหนดคาค้น และใช้เทคนิคการสืบค้นได้
  อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน
 หากพิจารณาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในเชิงระบบ
 ระบบค้นคืนสารสนเทศ (IR) หรือ ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
  (ISAR) มีองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญ คือ

      1.   ข้อมูลนาเข้า (Input)
      2.   การประมวลผล (Processing)
      3.   ผลลัพธ์ (Output)
      4.   ผลป้อนกลับ (Feedback)
ข้อมูล            การ          ผลลัพธ์           ผล
 นาเข้า          ประมวล           หรือ         ป้อนกลับ
                   ผล          ผลการค้น        • ความ
• 1. เอกสาร                                      คิดเห็น
  หรือ          • การจัด         คืน             ของผู้ใช้
  ตัวแทน          หมวดหมู่                       ต่อผลการ
  เอกสาร        • การแยก     • เอกสารที่เข้า     ค้นคืน
• 2. ข้อคาถาม     ประเภท       เรื่อง หรือ       และ
  ของผู้ใช้     • จัดเรียง     ตัวแทนเอกสาร      ปัญหาที่
                  ฯลฯ          ที่เข้าเรื่อง     พบ
                                                 ฯลฯ
ตามแนวคิดของรองศาสตราจารย์ ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล (2545:1: 44) กล่าวว่าระบบ
  ค้นคืนสารสนเทศมีหน้าที่สาคัญ 3 ประการ คือ
 1. การวิเคราะห์เนื้อหา หรือสาระของเอกสารที่ได้คัดเลือกมา
       เพื่อสร้าง -ตัวแทนเอกสาร -คาแทนสาระเอกสาร +Abstract +full-text
        (ให้อ่านย่อหน้าที่ 2 ของข้อ 1 ที่หน้า 44)
 2. การวิเคราะห์ข้อคาถาม หรือความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
        การสร้างกลยุทธ์การค้น-Search Strategy
        (= กาหนดคาค้น +ใช้ Search Tips +คาสั่งระบุภาษาเอกสาร หรือปีที่ระบุ)
 3. การจับคู่ระหว่างข้อคาถาม หรือตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
        กับเอกสาร และ/หรือตัวแทนเอกสาร
        เพื่อดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องออกมาเป็นผลการค้นคืน
ตามแนวคิดของรองศาสตราจารย์ ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล (2545:1: 44) กล่าวว่า
        ระบบค้นคืนสารสนเทศมีหน้าทีสาคัญ 3 ประการ คือ
                                         ่
  1. การวิเคราะห์เนื้อหา หรือสาระของเอกสารที่ได้คัดเลือกมา
         เพื่อสร้างตัวแทนเอกสาร และ คาแทนสาระของเอกสาร
         บางระบบอาจมีสาระสังเขปของเอกสาร หรือเอกสารฉบับเต็มด้วย
  2. การวิเคราะห์ข้อคาถาม หรือความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
         คือ การสร้างกลยุทธ์การสืบค้นเพื่อค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ โดยการใช้
                    - คาค้นเพียงคาเดียว
                    - ใช้คาสั่งระบุเขตข้อมูล (ให้ไปค้นหาคาค้นที่เขตข้อมูลหัวเรื่อง ผู้แต่ง ฯลฯ)
                    - ใช้ตรรกบูลเชือมคาค้นหลาย ๆ คา
                                    ่
                    - ระบุภาษา หรือ ปีค.ศ. ของเอกสาร
         โดยระบบค้นคืนสารสนเทศจะแปลงคาสั่งการสืบค้นของผูใช้ให้เป็นคาสั่ง หรือ
                                                                     ้
   ภาษาทีระบบนั้น ๆ เข้าใจเพื่อดาเนินการสืบค้นต่อไป
         ่
 3. การจับคู่ระหว่างข้อคาถาม หรือตัวแทนความต้องการสารสนเทศของ ผู้ใช้ กับ
        เอกสาร และ/หรือตัวแทนเอกสาร
        เพื่อดึงสารสนเทศเฉพาะรายการที่เข้าเรื่อง หรือตรงกับข้อคาถามของผู้ใช้ออกมา
                   เป็นผลการค้นคืน
จากหนังสือการค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval) ของอาจารย์เดชา นันทพิชย    ั
  (2546: 22-23) ได้อธิบายภารกิจและหน้าทีของระบบค้นคืนสารสนเทศว่าสรุปได้ ดังนี้
                                        ่
1. การวิเคราะห์เอกสารและการจัดระบบสารสนเทศ คือ การสร้างฐานข้อมูลเอกสาร
         ได้แก่ การจัดทาโครงสร้างเอกสาร และการกาหนดคาแทนสาระเอกสาร
2. การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ และเตรียมกลยุทธ์การสืบค้น (Search
         Strategy)
         ได้แก่ กาหนดคาค้น และใช้    Search Tips ช่วยค้น   (เขียนคาสั่งค้นคืน)
3. การสืบค้น (Searching) และการเปรียบเทียบความต้องการผู้ใช้กับฐานข้อมูล
        ได้แก่ ลงมือสืบค้นตามคาสั่งค้นคืนที่กาหนดไว้ในข้อ 2
4. การประเมินผลลัพธ์ที่ได้ ว่าเข้าเรื่อง (relevant) ตามที่ต้องการหรือไม่
(เดชา นันทพิชัย, 2546: 23)
                                                 1
Information   Analysis and        Organized
Sources       Representation      Information

                                      3
              Retrieval           Matching
              Information

Users         Query                Analyzed
              Analysis             Queries     2
                                  (search
                                  statement)
 จากภาพข้างต้นอาจารย์เดชา นันทพิชัย (2546: 23) สรุปว่าถ้าแบ่งภาระงาน (Task) ของ
  ระบบการค้นคืนสารสนเทศก็สามารถจาแนกออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
  1. งานที่เกียวกับการวิเคราะห์เนื้อหา และหัวเรื่อง
              ่
        ได้แก่ งานวิเคราะห์ จัดระบบ และจัดเก็บสารสนเทศที่เกียวข้อง
                                                            ่

  2. งานที่เกียวกับการสืบค้น และค้นคืน
              ่
        ได้แก่ งานเกียวกับกระบวนการค้นหาและค้นคืน รวมถึงงานวิเคราะห์คาร้อง
                       ่
                   ของผู้ใช้ สร้างสูตรการค้นคืน การค้นหา และการค้นคืนสารสนเทศ
                   ที่เกี่ยวข้อง
 Lancaster   (อ้างถึงในสมพร พุทธาพิทักษ์ผล, 2545: 1: 44-47) อธิบายระบบค้นคืน
 สารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบย่อย 6 ระบบ ได้แก่
 1. ระบบย่อยการคัดเลือกเอกสาร (Document Selection Subsystem)
 2. ระบบย่อยการจัดทาดรรชนี (Indexing Subsystem)
 3. ระบบย่อยคาศัพท์ (Vocabulary Subsystem)
 4. ระบบย่อยการสืบค้น (Searching Subsystem)
 5. ระบบย่อยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบค้นคืนสารสนเทศกับผู้ใช้ (Subsystem of
       Interaction Between the User and the System)
 6. ระบบย่อยการจับคู่ (Matching Subsystem)
 1. ระบบย่อยการคัดเลือกเอกสาร (Document Selection Subsystem)
        ทาหน้าทีในการคัดเลือกเอกสารตามนโยบายของหน่วยงานบริการสารสนเทศนั้น ๆ
                ่

 2. ระบบย่อยการจัดทาดรรชนี (Indexing Subsystem) (เดชา นันทพิสัย, 2546: 21)
        - สร้าง “ตัวแทนเอกสาร” หรือ “ระเบียน” หรือ “ระเบียนตัวแทนเอกสาร”
        - งานในระบบย่อยนี้ประกอบด้วย
                  -การจัดหมวดหมู่
                  -การทารายการ
                  -การทาดรรชนีช่วยค้น (ศัพท์ควบคุม/หัวเรื่อง หรือ ศัพท์ไม่ควบคุม/คาสาคัญ)
                  -การทาสาระสังเขป
 3. ระบบย่อยคาศัพท์ (Vocabulary Subsystem)
        ทาหน้าทีเ่ ป็นคลังศัพท์ดรรชนี หรือศัพท์สาคัญทีใช้ในการจัดทาดรรชนี (เพือสร้าง
                                                      ่                       ่
                   ตัวแทนเอกสาร และเพื่อการสืบค้น)
        ระบบย่อยนีมีประโยชน์ทงในการจัดทาดรรชนี และการค้น เพราะหากผู้ใช้
                     ้             ั้
                   กาหนดคาศัพท์ที่จะค้นได้ตรงกับศัพท์ที่ใช้ในการทาดรรชนี ย่อมได้ผล
                   การค้นคืนที่เข้าเรือง
                                      ่
 4. ระบบย่อยการสืบค้น (Searching Subsystem)
        เป็นการวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศของผูใช้ และกาหนดกลยุทธ์การค้น
                                                    ้
                  รวมถึงการแปลงกลยุทธ์การค้นให้อยูในรูปของคาสัง หรือภาษาที่ใช้ใน
                                                  ่           ่
                  ระบบค้นคืนสารสนเทศนั้น ๆ (มีการใช้เทคนิคการค้นคืนทีแตกต่างกัน)
                                                                      ่
        ในการสืบค้นอาจใช้คลังศัพท์ดรรชนี หรือศัพท์สาคัญของระบบฯ นันช่วยในการ
                                                                    ้
                  ค้นก็ได้
 5. ระบบย่อยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบค้นคืนสารสนเทศกับผู้ใช้ (Subsystem of
        Interaction Between the User and the System)
        หรือเรียกว่า ระบบเชื่อมต่อกับผู้ใช้ (User-System Interface)
        เป็นการสือสารระหว่างผูใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะทาการค้น
                 ่                   ้
        การปฏิสัมพันธ์อาจอยูในรูปแบบของการออกแบบหน้าจอ (Screen Design)
                                   ่
                   เพื่อให้ผใช้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
                              ู้
        มีข้อความทีช่วยแนะนาผูใช้หากกระทาผิดพลาด (Error Message)
                     ่                 ้
        มีสารสนเทศที่ชวยเหลือในด้านต่าง ๆ (Help Information)
                            ่
        มีทางเลือกให้ผู้ใช้สามารถออกคาสั่งได้ตามสะดวกด้วยตนเอง หรือด้วยการเลือก
                   ตัวเลือกทีหน้าจอ
                                 ่
        ระบบต้องช่วยผูใช้ให้ได้รับความสะดวก และง่ายที่จะสืบค้นด้วยตนเองมากที่สุด
                          ้
 6. ระบบย่อยการจับคู่ (Matching Subsystem)
        คือ การจับคูระหว่างตัวแทนเอกสารกับตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
                        ่
        โดยการจับคูย่อมขึนอยู่กับซอฟต์แวร์ทใช้กับโครงสร้างระบบฐานข้อมูลเป็นสาคัญ
                      ่   ้                ี่
        ผู้ใช้จะไม่เห็นการทางานของระบบย่อยนี้



การทางานของระบบย่อยทัง 6 ในระบบค้นคืนสารสนเทศจะสัมพันธ์กับหน้าที่ของระบบค้น
                       ้
  คืนสารสนเทศทั้ง 3 ประการคือ 1) การวิเคราะห์เนือหาของเอกสาร 2) การวิเคราะห์ขอ
                                                ้                            ้
  คาถามของผู้ใช้ และ 3) การจับคูระหว่างข้อคาถามกับเอกสาร หรือตัวแทนเอกสาร
                                ่
 ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ
 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสารสนเทศกับพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
 ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ (ตัวแบบแรกของวิลสัน)
 ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ (ตัวแบบที่สองของวิลสัน)
 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
 คือ
  พฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่งเชือมโยงบุคคลผู้นนให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
                                      ่             ั้
        ต่างๆ โดยใช้ชองทางในการเผยแพร่และในการได้สารสนเทศมาโดยตรง หรือ
                     ่
        ทางอ้อม
  พฤติกรรมสารสนเทศเป็นคาที่มีความหมายกว้าง ครอบคลุมพฤติกรรมการแสวงหา
        สารสนเทศ และพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ โดยลาดับ
(ตามแนวคิดของผู้สอน)

 คือ
  พฤติกรรมใดๆ ก็ตามที่เกียวข้องกับการแสวงหา และการค้นหาสารสนเทศ
                             ่
  โดยเริ่มจากผู้ใช้เกิดความต้องการสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ และได้เข้าถึงแหล่ง
          สารสนเทศต่างๆทังที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ที่คาดว่าจะให้คาตอบ
                               ้
          รวมถึงการได้รบสารสนเทศจากสือต่างๆโดยบังเอิญ
                         ั                ่
  การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศควรศึกษาตั้งแต่เมื่อผู้ใช้เกิดความต้องการ ไม่ใช่ดที่ผใช้ขณะ
                                                                            ู ู้
          แสวงหาสารสนเทศ และไม่ควรเน้นเฉพาะแง่มุมของระบบ แต่ควรหันมาสู่
          การศึกษาที่มผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง
                       ี
1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) แตกต่างจาก
        พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (Information Search Behavior) อย่างไร
 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) เป็นพฤติกรรมที่
  เกิดจากผู้ใช้มีความต้องการสารสนเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จึงเกิดการแสวงหา
  สารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ขึ้น ซึ่งพฤติกรรมข้างต้นกว้างกว่าและครอบคลุม
  พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศด้วย เช่น...
 พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (Information Search Behavior) เป็นพฤติกรรมทีผู้ใช้ ่
  มีปฏิสัมพันธ์กบระบบสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นในระดับปฏิบัติ (เช่น การใช้เม้าส์) หรือ
                  ั
  ในระดับการใช้ความคิด สติปัญญาและความรู้ (เช่น การใช้ตรรกบูล) หรือ การ
  ตัดสินใจเลือกสารสนเทศทีดีทสุด หรือการพิจารณาว่าสารสนเทศที่ได้มาตรงกับความ
                            ่ ี่
  ต้องการของตนหรือไม่ อย่างไร
1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (ก) แตกต่างจากพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (ข) อย่างไร

1. (ก) เกิดก่อน (ข)

2. (ก) ครอบคลุมกิจกรรม (ข) หรือ (ข) เป็นส่วนย่อยที่ต่อจาก (ก)

3. (ก) เกิด เพราะมีความต้องการสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์

4. (ข) เป็นการลงมือปฏิบัติ (= ค้น คิด พิจารณา ตัดสินใจ)

5. เมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศแล้ว อาจจะไม่เกิด (ก) ก็ได้ เพราะ????
2. จงอธิบายแผนภาพตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศในหน้า 54

        เป็นตัวแบบแรกที่วลสันพัฒนาขึ้นเพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศ (ดูหน้า 53
                          ิ
  และแผนภาพหน้า 54)
        ต่อมาได้ศึกษาวิจยและปรับปรุงจนได้ตัวแบบทีสองซึงเรียกว่า “ตัวแบบทัวไปของ
                        ั                           ่   ่                ่
  พฤติกรรมสารสนเทศ”
3. ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ (หน้า55-57) มีลักษณะแตกต่างจากตัวแบบ
         พฤติกรรมสารสนเทศ (หน้า 53-54) อย่างไร
ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศในด้านต่าง ๆ คือ ที่มาของ
   พฤติกรรมสารสนเทศมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึงส่งผลให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ ทัง
                                                          ่                       ้
   การค้นหา และการแลกเปลียนสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศด้วย
                              ่
ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ อธิบาย พฤติกรรมสารสนเทศในเชิงมหภาค ว่า
   พฤติกรรมสารสนเทศเป็นผลมาจากความต้องการสารสนเทศ และอาจมีกลไก หรือ
   ภาวะทีสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ ซึงการแสวงหา
          ่                                                      ่
   สารสนเทศผู้ใช้อาจริเริ่มด้วยตนเองหรือมิได้ริเริ่มด้วยตนเอง และมีการประมวลและการ
   นาสารสนเทศไปใช้ต่อไป ซึงเน้นผู้ใช้เป็นสาคัญ
                                ่
 ตัวอย่างกลไก หรือภาวะที่สนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ เช่น
  -   ระดับการศึกษา (ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก)
  -   ประสบการณ์
  -   อายุ
  -   การแข่งขันในการทางานสูง (ตัวแปรเชิงสังคม)
  -   ความยากง่ายในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ (คุณลักษณะแหล่งสารสนเทศ)
  -   ค่าใช้จ่ายในการค้นหาสารสนเทศจากฐานข้อมูล (ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล)
                            ฯลฯ
ครูต้องการสารสนเทศ เรื่อง ISAR

     กลไก หรือตัวแปรทีกระตุนให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ คือ
                      ่ ้
                - 1) หน้าที่ความรับผิดชอบของความเป็นครู              เป็นกลไกและ
           - 4) มีความสามารถในการสืบค้นสารสนเทศในขันสูง
                                                   ้                    ตัวแปรที่
        - 5) รู้จักแหล่งสารสนเทศทังทีเ่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการ
                                  ้                                   สนับสนุนให้
                - 2) ต้องหาสารสนเทศเพื่อใช้ในการสอน                 เกิดพฤติกรรม
               - 3) ต้องการให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาที่เรียน           การแสวงหา
                                                                      สารสนเทศ

       เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศซึ่งริเริมด้วยตนเอง
                                             ่

พบสารสนเทศที่ต้องการก็คัดเลือก รวบรวม เรียบเรียงเป็น PPT ใช้สอน
4. ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของวิลสันอธิบายขั้นตอนในการแสวงหา
สารสนเทศด้วยการท่องเว็บเพื่อค้นหาสารสนเทศเกี่ยวกับ Google Desktop Search ได้ดังนี้
 1.   การเริ่มต้น ด้วยการตัดสินใจท่อง WWW
 2.   การสารวจเลือกดู โดยการใช้เครืองมือช่วยค้นประเภท Search Tools เพื่อค้นหา
                                       ่
      เว็บไซต์ที่มีสารสนเทศที่เกียวกับ Google Desktop Search
                                 ่
 3.   การแยกแยะ ด้วยการพิจารณาว่าแหล่งใดจะมีความน่าเชื่อถือมากกว่า (โดยใช้
      เกณฑ์การประเมินค่า Internet Resources ช่วย)
 4.   การดึงสารสนเทศทีสามารถนาไปใช้ได้ทนทีออกมาจากตัวเอกสาร เช่น ความหมาย
                         ่                    ั
      ลักษณะ ขันตอนการใช้ Google Desktop Search เป็นต้น
                  ้
 5.   การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร โดยเปรียบเทียบกับเว็บไซต์ที่มีเนื้อหา
      เหมือนกัน หรือจากหนังสือวิชาการ หรือจากการสอบถามผู้รู้
 6.   การจบ เป็นการเก็บรวบรวมสารสนเทศทีแสวงหาทั้งหมดเข้าด้วยกัน เพราะแน่ใจ
                                                ่
      ว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการแล้ว
 ตัวแบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมุ่งเน้นไปที่การจับคู่ระหว่างทรัพยากร
  สารสนเทศที่มีอยู่กับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ คือ การค้น
  คืนสารสนเทศให้ได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด (เน้นที่ระบบ)
 แต่ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศอธิบายพฤติกรรมการแสวงหาและการใช้
  สารสนเทศโดยเน้นที่ผู้ใช้เป็นสาคัญ เพราะผู้ใช้มีพฤติกรรมสารสนเทศที่หลากหลาย ซึ่ง
  ขึ้นอยู่กับสภาวะ หรือกลไกที่มีผลต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เช่น สภาวะทาง
  อารมณ์- - ทางสติปัญญา ตัวแปรทางสังคมที่มีการแข่งขันในที่ทางานสูง หน้าที่การงาน
  ความสามารถในการสืบค้นสารสนเทศ ฯลฯ
 ดังนั้นระบบค้นคืนสารสนเทศควรให้ความสาคัญกับสภาวะ หรือกลไกที่มีผลต่อพฤติกรรม
  การแสวงหาสารสนเทศของผู้ใช้ด้วย เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ได้สารสนเทศตามที่ต้องการอย่าง
  แท้จริง
เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval).
        พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชา
        สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2545. แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืน
        สารสนเทศ (Information Storage and Retrieval) หน่วยที่ 1-15. นนทบุร:ี
        สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมพร พุทธาพิทักษ์ผล. 2545. “ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืน
        สารสนเทศ.” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
        (Information Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 31-62.
        นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติ
Teetut Tresirichod
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
การอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้นการอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้น
Krapom Jiraporn
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
Srion Janeprapapong
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
gchom
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
bensee
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
พัน พัน
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdatenonny_taneo
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
แซ่บ' เว่อร์
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
Watcharapol Wiboolyasarin
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติ
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
การอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้นการอ้างอิงและการสืบค้น
การอ้างอิงและการสืบค้น
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 

Viewers also liked

การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
non_master
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
Srion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
อาจารย์ผจงจิตต์ ประทุมชาติ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
Srion Janeprapapong
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
Boonlert Aroonpiboon
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
Boonlert Aroonpiboon
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
Boonlert Aroonpiboon
 

Viewers also liked (20)

การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 

Similar to บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
fac. of hu.&so sc khon kaen univ
 
Collection Development
Collection DevelopmentCollection Development
Collection Development
fac. of hu.&so sc khon kaen univ
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1dechathon
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
rilerilept
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Nattanan Rassameepak
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
Srion Janeprapapong
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
Praphaphun Kaewmuan
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 

Similar to บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
 
Collection Development
Collection DevelopmentCollection Development
Collection Development
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
สัมนา1
สัมนา1สัมนา1
สัมนา1
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 

More from Srion Janeprapapong

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (10)

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ

  • 1.
  • 2.  องค์ประกอบ  ตัวแบบพื้นฐาน  ระบบค้นคืนสารสนเทศ  ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ พฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ
  • 3. หากพิจารณาเชิงระบบ (สารสนเทศ) การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศเป็น การเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรสารสนเทศกับผู้ใช้ซึ่งมีความต้องการสารสนเทศ โดย มีฐานข้อมูลในฐานะเป็นแหล่งทีรวบรวมสารสนเทศประเภทใดหนึง ่ ่  1. ทรัพยากรสารสนเทศ (information resources)  2. ฐานข้อมูล (database)  3. ผู้ใช้ (user)
  • 4. 1. ทรัพยากรสารสนเทศ 2. ฐานข้อมูล สารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ 3. ผู้ใช้ ความต้องการของผู้ใช้ คือ หมายถึง หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ -ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด 1. ผู้ปฏิบัติงานสารสนเทศ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มี - ฐานข้อมูลเฉพาะสาขาที่ห้องสมุดพัฒนาขึน ้ 2. ผู้ใช้สารสนเทศ ในห้องสมุด เอง - ฐานข้อมูลซีดีรอม - ฐานข้อมูลออนไลน์
  • 5.  1. ทรัพยากรสารสนเทศ (information resources) - คือ วัสดุที่บันทึกสารสนเทศ มีหลากหลายชนิด เช่น หนังสือ เอกสารเทปเสียง สารานุกรมบนแผ่นซีดี e-Journal สารสนเทศบน WWW ฯลฯ วัสดุเหล่านั้นถูก จัดเก็บและให้บริการในห้องสมุด เพื่อสนองความต้องการด้านต่าง ๆ ของผู้ใช้ - การแบ่งประเภทของ IR ทาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง 1) แบ่งตามรูปลักษณ์ของสื่อที่ใช้จัดเก็บ คือ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2) แบ่งตามสาขาวิชา เป็น มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3) แบ่งตามการจัดการด้วยคอมพิวเตอร์ คือ แอนะล็อก และดิจิทัล
  • 6. 4) แบ่งตามแหล่งสารสนเทศ หรือ แหล่งที่มา/การผลิต หรือ ตามความใหม่ เก่าของตัวเนื้อหา แบ่งออกเป็นแหล่งปฐมภูมิ แหล่งทุติยภูมิ และแหล่งตติยภูมิ 1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) = งานที่เขียนขึนเป็นครั้งแรก ข้อเขียนใหม่เฉพาะเรื่อง รายงานการค้นพบใหม่ๆ ้ ไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน เช่น รายงานการวิจัย/ทดลอง วิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความในวารสาร สิทธิบัตร มาตรฐาน ฯลฯ 2. แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources) = งานที่ผ่านกระบวนการคัดเลือก ขัดเกลา ย่อ/สรุป วิจารณ์ -------> เรียบเรียงใหม่ จัดอยู่ในรูปแบบใหม่ เช่น บทความในวารสาร บทคัดย่อ พจนานุกรม สารานุกรม ดรรชนีและสาระสังเขป ฯลฯ 3. แหล่งข้อมูลตติยภูมิ (Tertiary Sources) = งานเขียนที่กลั่นกรอง และรวบรวมจาก 1 + 2 เช่น หนังสือตาราวิชาการ เป็นต้น
  • 7.  2. ฐานข้อมูล (database) คือ แหล่งสะสมข้อเท็จจริงต่าง ๆ โดยมีการรวบรวมข้อมูลทีมีความสัมพันธ์ ่ กันไว้ด้วยกัน และมีโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS -- Database Management System) มาช่วยในการจัดเก็บ จัดเรียง และสืบค้นได้ ในระบบสารสนเทศและห้องสมุด ฐานข้อมูลเป็นที่รวมของระเบียนทรัพยากร สารสนเทศต่าง ๆ ที่มีในห้องสมุด ซึ่งก็คือ “ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของ ห้องสมุด” และหมายรวมถึง “ฐานข้อมูลเฉพาะสาขาวิชาที่ห้องสมุดพัฒนาขึ้นเอง” “ฐานข้อมูลซีดีรอม” และ”ฐานข้อมูลออนไลน์” ด้วย
  • 9. ฐานข้อมูลที่ห้องสมุด UTCC พัฒนาขึ้นเอง
  • 12.  3. ผู้ใช้ (User) ประเภทของผู้ใช้สามารถแบ่งได้หลายประเภท ขึนอยู่กับเกณฑ์ทใช้ในการแบ่ง ้ ี่ โดยทั่วไปแบ่งผู้ใช้ออกเป็นดังนี้ 3.1 แบ่งตามหน้าทีในหน่วยงานบริการสารสนเทศ ่ 3.2 แบ่งตามความชานาญ หรือประสบการณ์ในการค้นหาสารสนเทศ
  • 13.  3. ผู้ใช้ (User) (ต่อ) 3.1 แบ่งตามหน้าทีในหน่วยงานบริการสารสนเทศ คือ ่ 3.1.1 ผู้ใช้ที่เป็นตัวกลาง (intermediary/ mediator) หมายถึง ผู้ให้บริการค้นคืนสารสนเทศ อาทิ บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ เป็นต้น ซึ่ง ทาหน้าที่ค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ 3.1.2 ผู้ใช้ปลายทาง (end user) ได้แก่ ผู้ใช้ที่มีความต้องการ สารสนเทศของตนเอง อาจเป็นนักวิจัย ผู้บริหาร นักศึกษา อาจารย์ หรือ ประชาชนทั่วไป โดยมีการแสวงหาสารสนเทศด้วยตนเอง หรือขอความช่วยเหลือ จากผู้ให้บริการสารสนเทศ
  • 14.  3. ผู้ใช้ (User) (ต่อ) 3.2 แบ่งตามความชานาญ หรือประสบการณ์ในการค้นหาสารสนเทศ เป็นการแบ่งผู้ใช้ที่เป็นตัวกลางและผู้ใช้ปลายทางออกเป็น 1) ผู้ใช้ที่มีความชานาญเป็นอย่างดี 2) ผู้ใช้ที่มีความชานาญระดับปานกลาง 3) ผู้ที่ไม่เคยใช้ระบบมาก่อน
  • 15.  โมเดล IR  เน้นกระบวนการในการจับคูระหว่างทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยูกบความต้องการ ่ ่ั สารสนเทศของผู้ใช้ หากจับคู่ได้ตรงกัน ย่อมได้ผลการค้นคืน หากจับคู่ ไม่ตรงกัน ผลจะเป็นศูนย์
  • 16. องค์ประกอบของตัวแบบพื้นฐาน 1. เอกสารที่ได้คัดเลือก หรือเรียกว่า “เอกสาร (document)” คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ที่ได้รับการคัดเลือก หรือคัดสรรตามนโยบายของหน่วยงานบริการ สารสนเทศแห่งนั้น 2. ตัวแทนเอกสาร (document surrogate/ representation) คือ การสร้างตัวแทนเอกสารในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีมาตรฐาน แล้วจัดเก็บในรูปของฐานข้อมูล เช่น - การสร้างข้อมูลบรรณานุกรม เพื่อเป็นตัวแทนโครงสร้างเอกสาร เช่น ถ้าเป็น หนังสือ จะมีโครงสร้างของตัวแทนหนังสือ ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์ ปีพิมพ์ หัวเรื่อง คาสาคัญ เป็นต้น - การกาหนดตัวแทนสาระ หรือดรรชนี - การสรุปย่อเนื้อหาสาคัญในรูปของสาระสังเขป ฯลฯ
  • 17. 3. ความต้องการสารสนเทศ (information need) - บางครั้งเรียกว่า “ความต้องการของผู้ใช้” - เป็นจุดเริ่มต้นที่ผลักดันให้ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศด้วยวิธีการต่างๆ - ลักษณะสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น เรื่องทั่วไป เรื่องใหม่ๆที่สนใจ เรื่องที่ มีเนื้อหาครอบคลุมลุ่มลึก เป็นต้น - ความต้องการสารสนเทศจะเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัย และเวลา ไม่คงที่แน่นอน 4. ตัวแทนความต้องการสารสนเทศ หมายถึงการสร้าง หรือกาหนดตัวแทนความต้องการสารสนเทศในรูปแบบของ “คาศัพท์” หรือคาค้นทีคิดว่าสามารถแทนความต้องการสารสนเทศได้ตรงและถูกต้อง ่ ที่สุด โดยใช้ Search Tips ช่วย หรือเรียกว่าเป็นการกาหนดกลยุทธ์การค้น (Search Strategy)
  • 18. 5. การจับคู่ระหว่างตัวแทนความต้องการสารสนเทศกับตัวแทนเอกสาร (matching process) กล่าวคือ กระบวนการจับคู่เป็นกลไกสาคัญในการค้นคืนสารสนเทศ หากจับคู่ได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้จะได้ผลการค้นคืนทีเ่ ข้าเรื่อง (relevant) หรือ ตรงกับความต้องการสารสนเทศของตน (pertinent) “จานวนรายการที่ค้นคืนได้ (retrieved item)” เป็นประเด็นสาคัญที่ต้องพิจารณา เช่นกัน ดังนั้นจึงควรมีการจัดอันดับรายการที่ค้นคืนได้ (ranking) เพือให้เอกสารที่คาดว่า ่ เข้าเรื่องที่สุดอยู่ในอันดับต้น และเอกสารเข้าเรื่องน้อยกว่าอยู่ในอันดับรองลง มาตามลาดับ
  • 19. (ตามแนวคิดของผู้สอน)  เป็นกระบวนการในการจับคูระหว่างทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยูกับความต้องการสารสนเทศ ่ ่ ของผู้ใช้  เพื่อ  ได้ผลการสืบค้นทีเข้าเรื่อง (ถูกต้องตรงตามความต้องการของผู้ใช้) ่  สามารถจัดอันดับรายการที่ค้นคืนได้ (เอกสารที่เข้าเรื่องที่สุดอยู่ในอันดับต้น)  สามารถค้นคืนได้อย่างรวดเร็ว  ซึ่งการที่ระบบค้นคืนสารสนเทศจะมีประสิทธิภาพต้องมีการดาเนินการการจัดเก็บเอกสาร (document) การจัดทาระเบียนเอกสาร (โครงสร้างของเอกสาร) และ การจัดทาดรรชนี (เพื่อใช้เป็นตัวแทนเนื้อหาสาระของเอกสาร) อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน  หมายรวมถึงผู้ใช้เองก็ต้องมีความสามารถในการกาหนดคาค้น และใช้เทคนิคการสืบค้นได้ อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน
  • 20.
  • 21.  หากพิจารณาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในเชิงระบบ  ระบบค้นคืนสารสนเทศ (IR) หรือ ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (ISAR) มีองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญ คือ 1. ข้อมูลนาเข้า (Input) 2. การประมวลผล (Processing) 3. ผลลัพธ์ (Output) 4. ผลป้อนกลับ (Feedback)
  • 22. ข้อมูล การ ผลลัพธ์ ผล นาเข้า ประมวล หรือ ป้อนกลับ ผล ผลการค้น • ความ • 1. เอกสาร คิดเห็น หรือ • การจัด คืน ของผู้ใช้ ตัวแทน หมวดหมู่ ต่อผลการ เอกสาร • การแยก • เอกสารที่เข้า ค้นคืน • 2. ข้อคาถาม ประเภท เรื่อง หรือ และ ของผู้ใช้ • จัดเรียง ตัวแทนเอกสาร ปัญหาที่ ฯลฯ ที่เข้าเรื่อง พบ ฯลฯ
  • 23. ตามแนวคิดของรองศาสตราจารย์ ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล (2545:1: 44) กล่าวว่าระบบ ค้นคืนสารสนเทศมีหน้าที่สาคัญ 3 ประการ คือ  1. การวิเคราะห์เนื้อหา หรือสาระของเอกสารที่ได้คัดเลือกมา เพื่อสร้าง -ตัวแทนเอกสาร -คาแทนสาระเอกสาร +Abstract +full-text (ให้อ่านย่อหน้าที่ 2 ของข้อ 1 ที่หน้า 44)  2. การวิเคราะห์ข้อคาถาม หรือความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ การสร้างกลยุทธ์การค้น-Search Strategy (= กาหนดคาค้น +ใช้ Search Tips +คาสั่งระบุภาษาเอกสาร หรือปีที่ระบุ)  3. การจับคู่ระหว่างข้อคาถาม หรือตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ กับเอกสาร และ/หรือตัวแทนเอกสาร เพื่อดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องออกมาเป็นผลการค้นคืน
  • 24. ตามแนวคิดของรองศาสตราจารย์ ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล (2545:1: 44) กล่าวว่า ระบบค้นคืนสารสนเทศมีหน้าทีสาคัญ 3 ประการ คือ ่  1. การวิเคราะห์เนื้อหา หรือสาระของเอกสารที่ได้คัดเลือกมา เพื่อสร้างตัวแทนเอกสาร และ คาแทนสาระของเอกสาร บางระบบอาจมีสาระสังเขปของเอกสาร หรือเอกสารฉบับเต็มด้วย  2. การวิเคราะห์ข้อคาถาม หรือความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ คือ การสร้างกลยุทธ์การสืบค้นเพื่อค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ โดยการใช้ - คาค้นเพียงคาเดียว - ใช้คาสั่งระบุเขตข้อมูล (ให้ไปค้นหาคาค้นที่เขตข้อมูลหัวเรื่อง ผู้แต่ง ฯลฯ) - ใช้ตรรกบูลเชือมคาค้นหลาย ๆ คา ่ - ระบุภาษา หรือ ปีค.ศ. ของเอกสาร โดยระบบค้นคืนสารสนเทศจะแปลงคาสั่งการสืบค้นของผูใช้ให้เป็นคาสั่ง หรือ ้ ภาษาทีระบบนั้น ๆ เข้าใจเพื่อดาเนินการสืบค้นต่อไป ่
  • 25.  3. การจับคู่ระหว่างข้อคาถาม หรือตัวแทนความต้องการสารสนเทศของ ผู้ใช้ กับ เอกสาร และ/หรือตัวแทนเอกสาร เพื่อดึงสารสนเทศเฉพาะรายการที่เข้าเรื่อง หรือตรงกับข้อคาถามของผู้ใช้ออกมา เป็นผลการค้นคืน
  • 26. จากหนังสือการค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval) ของอาจารย์เดชา นันทพิชย ั (2546: 22-23) ได้อธิบายภารกิจและหน้าทีของระบบค้นคืนสารสนเทศว่าสรุปได้ ดังนี้ ่ 1. การวิเคราะห์เอกสารและการจัดระบบสารสนเทศ คือ การสร้างฐานข้อมูลเอกสาร ได้แก่ การจัดทาโครงสร้างเอกสาร และการกาหนดคาแทนสาระเอกสาร 2. การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ และเตรียมกลยุทธ์การสืบค้น (Search Strategy) ได้แก่ กาหนดคาค้น และใช้ Search Tips ช่วยค้น (เขียนคาสั่งค้นคืน) 3. การสืบค้น (Searching) และการเปรียบเทียบความต้องการผู้ใช้กับฐานข้อมูล ได้แก่ ลงมือสืบค้นตามคาสั่งค้นคืนที่กาหนดไว้ในข้อ 2 4. การประเมินผลลัพธ์ที่ได้ ว่าเข้าเรื่อง (relevant) ตามที่ต้องการหรือไม่
  • 27. (เดชา นันทพิชัย, 2546: 23) 1 Information Analysis and Organized Sources Representation Information 3 Retrieval Matching Information Users Query Analyzed Analysis Queries 2 (search statement)
  • 28.  จากภาพข้างต้นอาจารย์เดชา นันทพิชัย (2546: 23) สรุปว่าถ้าแบ่งภาระงาน (Task) ของ ระบบการค้นคืนสารสนเทศก็สามารถจาแนกออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ 1. งานที่เกียวกับการวิเคราะห์เนื้อหา และหัวเรื่อง ่ ได้แก่ งานวิเคราะห์ จัดระบบ และจัดเก็บสารสนเทศที่เกียวข้อง ่ 2. งานที่เกียวกับการสืบค้น และค้นคืน ่ ได้แก่ งานเกียวกับกระบวนการค้นหาและค้นคืน รวมถึงงานวิเคราะห์คาร้อง ่ ของผู้ใช้ สร้างสูตรการค้นคืน การค้นหา และการค้นคืนสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง
  • 29.  Lancaster (อ้างถึงในสมพร พุทธาพิทักษ์ผล, 2545: 1: 44-47) อธิบายระบบค้นคืน สารสนเทศว่าประกอบด้วยระบบย่อย 6 ระบบ ได้แก่ 1. ระบบย่อยการคัดเลือกเอกสาร (Document Selection Subsystem) 2. ระบบย่อยการจัดทาดรรชนี (Indexing Subsystem) 3. ระบบย่อยคาศัพท์ (Vocabulary Subsystem) 4. ระบบย่อยการสืบค้น (Searching Subsystem) 5. ระบบย่อยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบค้นคืนสารสนเทศกับผู้ใช้ (Subsystem of Interaction Between the User and the System) 6. ระบบย่อยการจับคู่ (Matching Subsystem)
  • 30.  1. ระบบย่อยการคัดเลือกเอกสาร (Document Selection Subsystem) ทาหน้าทีในการคัดเลือกเอกสารตามนโยบายของหน่วยงานบริการสารสนเทศนั้น ๆ ่  2. ระบบย่อยการจัดทาดรรชนี (Indexing Subsystem) (เดชา นันทพิสัย, 2546: 21) - สร้าง “ตัวแทนเอกสาร” หรือ “ระเบียน” หรือ “ระเบียนตัวแทนเอกสาร” - งานในระบบย่อยนี้ประกอบด้วย -การจัดหมวดหมู่ -การทารายการ -การทาดรรชนีช่วยค้น (ศัพท์ควบคุม/หัวเรื่อง หรือ ศัพท์ไม่ควบคุม/คาสาคัญ) -การทาสาระสังเขป
  • 31.  3. ระบบย่อยคาศัพท์ (Vocabulary Subsystem) ทาหน้าทีเ่ ป็นคลังศัพท์ดรรชนี หรือศัพท์สาคัญทีใช้ในการจัดทาดรรชนี (เพือสร้าง ่ ่ ตัวแทนเอกสาร และเพื่อการสืบค้น) ระบบย่อยนีมีประโยชน์ทงในการจัดทาดรรชนี และการค้น เพราะหากผู้ใช้ ้ ั้ กาหนดคาศัพท์ที่จะค้นได้ตรงกับศัพท์ที่ใช้ในการทาดรรชนี ย่อมได้ผล การค้นคืนที่เข้าเรือง ่  4. ระบบย่อยการสืบค้น (Searching Subsystem) เป็นการวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศของผูใช้ และกาหนดกลยุทธ์การค้น ้ รวมถึงการแปลงกลยุทธ์การค้นให้อยูในรูปของคาสัง หรือภาษาที่ใช้ใน ่ ่ ระบบค้นคืนสารสนเทศนั้น ๆ (มีการใช้เทคนิคการค้นคืนทีแตกต่างกัน) ่ ในการสืบค้นอาจใช้คลังศัพท์ดรรชนี หรือศัพท์สาคัญของระบบฯ นันช่วยในการ ้ ค้นก็ได้
  • 32.  5. ระบบย่อยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบค้นคืนสารสนเทศกับผู้ใช้ (Subsystem of Interaction Between the User and the System) หรือเรียกว่า ระบบเชื่อมต่อกับผู้ใช้ (User-System Interface) เป็นการสือสารระหว่างผูใช้กับระบบค้นคืนสารสนเทศในขณะทาการค้น ่ ้ การปฏิสัมพันธ์อาจอยูในรูปแบบของการออกแบบหน้าจอ (Screen Design) ่ เพื่อให้ผใช้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ู้ มีข้อความทีช่วยแนะนาผูใช้หากกระทาผิดพลาด (Error Message) ่ ้ มีสารสนเทศที่ชวยเหลือในด้านต่าง ๆ (Help Information) ่ มีทางเลือกให้ผู้ใช้สามารถออกคาสั่งได้ตามสะดวกด้วยตนเอง หรือด้วยการเลือก ตัวเลือกทีหน้าจอ ่ ระบบต้องช่วยผูใช้ให้ได้รับความสะดวก และง่ายที่จะสืบค้นด้วยตนเองมากที่สุด ้
  • 33.  6. ระบบย่อยการจับคู่ (Matching Subsystem) คือ การจับคูระหว่างตัวแทนเอกสารกับตัวแทนความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ ่ โดยการจับคูย่อมขึนอยู่กับซอฟต์แวร์ทใช้กับโครงสร้างระบบฐานข้อมูลเป็นสาคัญ ่ ้ ี่ ผู้ใช้จะไม่เห็นการทางานของระบบย่อยนี้ การทางานของระบบย่อยทัง 6 ในระบบค้นคืนสารสนเทศจะสัมพันธ์กับหน้าที่ของระบบค้น ้ คืนสารสนเทศทั้ง 3 ประการคือ 1) การวิเคราะห์เนือหาของเอกสาร 2) การวิเคราะห์ขอ ้ ้ คาถามของผู้ใช้ และ 3) การจับคูระหว่างข้อคาถามกับเอกสาร หรือตัวแทนเอกสาร ่
  • 34.  ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ  ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมสารสนเทศกับพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง  ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ (ตัวแบบแรกของวิลสัน)  ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ (ตัวแบบที่สองของวิลสัน)  แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
  • 35.  คือ พฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซึ่งเชือมโยงบุคคลผู้นนให้เข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ่ ั้ ต่างๆ โดยใช้ชองทางในการเผยแพร่และในการได้สารสนเทศมาโดยตรง หรือ ่ ทางอ้อม พฤติกรรมสารสนเทศเป็นคาที่มีความหมายกว้าง ครอบคลุมพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ และพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ โดยลาดับ
  • 36. (ตามแนวคิดของผู้สอน)  คือ พฤติกรรมใดๆ ก็ตามที่เกียวข้องกับการแสวงหา และการค้นหาสารสนเทศ ่ โดยเริ่มจากผู้ใช้เกิดความต้องการสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ และได้เข้าถึงแหล่ง สารสนเทศต่างๆทังที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ที่คาดว่าจะให้คาตอบ ้ รวมถึงการได้รบสารสนเทศจากสือต่างๆโดยบังเอิญ ั ่ การศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศควรศึกษาตั้งแต่เมื่อผู้ใช้เกิดความต้องการ ไม่ใช่ดที่ผใช้ขณะ ู ู้ แสวงหาสารสนเทศ และไม่ควรเน้นเฉพาะแง่มุมของระบบ แต่ควรหันมาสู่ การศึกษาที่มผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง ี
  • 37. 1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) แตกต่างจาก พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (Information Search Behavior) อย่างไร  พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking Behavior) เป็นพฤติกรรมที่ เกิดจากผู้ใช้มีความต้องการสารสนเทศในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จึงเกิดการแสวงหา สารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ขึ้น ซึ่งพฤติกรรมข้างต้นกว้างกว่าและครอบคลุม พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศด้วย เช่น...  พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (Information Search Behavior) เป็นพฤติกรรมทีผู้ใช้ ่ มีปฏิสัมพันธ์กบระบบสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นในระดับปฏิบัติ (เช่น การใช้เม้าส์) หรือ ั ในระดับการใช้ความคิด สติปัญญาและความรู้ (เช่น การใช้ตรรกบูล) หรือ การ ตัดสินใจเลือกสารสนเทศทีดีทสุด หรือการพิจารณาว่าสารสนเทศที่ได้มาตรงกับความ ่ ี่ ต้องการของตนหรือไม่ อย่างไร
  • 38. 1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (ก) แตกต่างจากพฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (ข) อย่างไร 1. (ก) เกิดก่อน (ข) 2. (ก) ครอบคลุมกิจกรรม (ข) หรือ (ข) เป็นส่วนย่อยที่ต่อจาก (ก) 3. (ก) เกิด เพราะมีความต้องการสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ 4. (ข) เป็นการลงมือปฏิบัติ (= ค้น คิด พิจารณา ตัดสินใจ) 5. เมื่อเกิดความต้องการสารสนเทศแล้ว อาจจะไม่เกิด (ก) ก็ได้ เพราะ????
  • 39. 2. จงอธิบายแผนภาพตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศในหน้า 54 เป็นตัวแบบแรกที่วลสันพัฒนาขึ้นเพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศ (ดูหน้า 53 ิ และแผนภาพหน้า 54) ต่อมาได้ศึกษาวิจยและปรับปรุงจนได้ตัวแบบทีสองซึงเรียกว่า “ตัวแบบทัวไปของ ั ่ ่ ่ พฤติกรรมสารสนเทศ”
  • 40. 3. ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ (หน้า55-57) มีลักษณะแตกต่างจากตัวแบบ พฤติกรรมสารสนเทศ (หน้า 53-54) อย่างไร ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศในด้านต่าง ๆ คือ ที่มาของ พฤติกรรมสารสนเทศมาจากความต้องการสารสนเทศ ซึงส่งผลให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ ทัง ่ ้ การค้นหา และการแลกเปลียนสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศด้วย ่ ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ อธิบาย พฤติกรรมสารสนเทศในเชิงมหภาค ว่า พฤติกรรมสารสนเทศเป็นผลมาจากความต้องการสารสนเทศ และอาจมีกลไก หรือ ภาวะทีสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ ซึงการแสวงหา ่ ่ สารสนเทศผู้ใช้อาจริเริ่มด้วยตนเองหรือมิได้ริเริ่มด้วยตนเอง และมีการประมวลและการ นาสารสนเทศไปใช้ต่อไป ซึงเน้นผู้ใช้เป็นสาคัญ ่
  • 41.  ตัวอย่างกลไก หรือภาวะที่สนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสวงหาสารสนเทศ เช่น - ระดับการศึกษา (ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก) - ประสบการณ์ - อายุ - การแข่งขันในการทางานสูง (ตัวแปรเชิงสังคม) - ความยากง่ายในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ (คุณลักษณะแหล่งสารสนเทศ) - ค่าใช้จ่ายในการค้นหาสารสนเทศจากฐานข้อมูล (ทฤษฎีความเสี่ยงและรางวัล) ฯลฯ
  • 42. ครูต้องการสารสนเทศ เรื่อง ISAR กลไก หรือตัวแปรทีกระตุนให้เกิดการแสวงหาสารสนเทศ คือ ่ ้ - 1) หน้าที่ความรับผิดชอบของความเป็นครู เป็นกลไกและ - 4) มีความสามารถในการสืบค้นสารสนเทศในขันสูง ้ ตัวแปรที่ - 5) รู้จักแหล่งสารสนเทศทังทีเ่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการ ้ สนับสนุนให้ - 2) ต้องหาสารสนเทศเพื่อใช้ในการสอน เกิดพฤติกรรม - 3) ต้องการให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหาที่เรียน การแสวงหา สารสนเทศ เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศซึ่งริเริมด้วยตนเอง ่ พบสารสนเทศที่ต้องการก็คัดเลือก รวบรวม เรียบเรียงเป็น PPT ใช้สอน
  • 43. 4. ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของวิลสันอธิบายขั้นตอนในการแสวงหา สารสนเทศด้วยการท่องเว็บเพื่อค้นหาสารสนเทศเกี่ยวกับ Google Desktop Search ได้ดังนี้ 1. การเริ่มต้น ด้วยการตัดสินใจท่อง WWW 2. การสารวจเลือกดู โดยการใช้เครืองมือช่วยค้นประเภท Search Tools เพื่อค้นหา ่ เว็บไซต์ที่มีสารสนเทศที่เกียวกับ Google Desktop Search ่ 3. การแยกแยะ ด้วยการพิจารณาว่าแหล่งใดจะมีความน่าเชื่อถือมากกว่า (โดยใช้ เกณฑ์การประเมินค่า Internet Resources ช่วย) 4. การดึงสารสนเทศทีสามารถนาไปใช้ได้ทนทีออกมาจากตัวเอกสาร เช่น ความหมาย ่ ั ลักษณะ ขันตอนการใช้ Google Desktop Search เป็นต้น ้ 5. การตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร โดยเปรียบเทียบกับเว็บไซต์ที่มีเนื้อหา เหมือนกัน หรือจากหนังสือวิชาการ หรือจากการสอบถามผู้รู้ 6. การจบ เป็นการเก็บรวบรวมสารสนเทศทีแสวงหาทั้งหมดเข้าด้วยกัน เพราะแน่ใจ ่ ว่าได้สารสนเทศในระดับที่ต้องการแล้ว
  • 44.  ตัวแบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมุ่งเน้นไปที่การจับคู่ระหว่างทรัพยากร สารสนเทศที่มีอยู่กับความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ คือ การค้น คืนสารสนเทศให้ได้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด (เน้นที่ระบบ)  แต่ตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศอธิบายพฤติกรรมการแสวงหาและการใช้ สารสนเทศโดยเน้นที่ผู้ใช้เป็นสาคัญ เพราะผู้ใช้มีพฤติกรรมสารสนเทศที่หลากหลาย ซึ่ง ขึ้นอยู่กับสภาวะ หรือกลไกที่มีผลต่อพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เช่น สภาวะทาง อารมณ์- - ทางสติปัญญา ตัวแปรทางสังคมที่มีการแข่งขันในที่ทางานสูง หน้าที่การงาน ความสามารถในการสืบค้นสารสนเทศ ฯลฯ  ดังนั้นระบบค้นคืนสารสนเทศควรให้ความสาคัญกับสภาวะ หรือกลไกที่มีผลต่อพฤติกรรม การแสวงหาสารสนเทศของผู้ใช้ด้วย เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ได้สารสนเทศตามที่ต้องการอย่าง แท้จริง
  • 45. เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval). พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชา สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2545. แนวการศึกษาชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศ (Information Storage and Retrieval) หน่วยที่ 1-15. นนทบุร:ี สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล. 2545. “ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศ.” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 31-62. นนทบุรี: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.