SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
การจัดการฐานข้ อมูล
(Database management)
การจัดการฐานข้อมูล

  การจัดการฐานข้อมูล(Database Management) คือ การบริ หาร
แหล่งข้อมูลที่ถกเก็บรวบรวมไว้ที่ศนย์กลาง เพื่อตอบสนองต่อการใช้ของ
               ู                  ู
โปรแกรมประยุกต์อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและลดการซ้ าซ้อนของข้อมูล รวมทั้ง
ความขัดแย้งของข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์การ
โครงสร้างฐานข้อมูล
1. บิต (Bit)
 บิต หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่เล็กที่สุดในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นสัญญาณดิจิตล ซึ่ ง
                                                                                  ั
ประกอบด้วยสัญญาณไฟฟ้ า 2 สถานะ ได้แก่ 0 กับ 1 หรื อ เปิ ดกับปิ ด หรื อ จริ งกับเท็จ
2.ไบต์ (Byte)
 ไบต์ หมายถึง การนาค่าบิตจานวน 8 บิต มาเรี ยงต่อกันตามมาตรฐานรหัส ASCII จะแทนค่าตัว
อักขระได้ 1ตัวอักษร เช่น01000001แทนตัวอักษร“A”เป็ นต้น แต่ตามมาตรฐาน Unicode จะใช้
จานวน 16 บิต
3. เขตข้ อมูล   (Field)

                                         ั
  เขตข้อมูล หมายถึง อักขระที่สมพันธ์กนจานวนตั้งแต่ 1 อักขระเป็ นต้นไป มารวมกันแล้วเกิด
                                 ั
ความหมาย แสดงลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง จากตารางที่ ข้อมูลในแถวที่ 1 มีค่า A- ประกอบด้วยตัว
อักขระ 2 ตัวคือ A และ – มีความหมายว่า หมู่โลหิ ต A ชนิด Rh Negative เป็ นต้น เขตข้อมูลบางครั้ง
เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า แอตทริ บิวต์
                       ตารางที่ แสดงแฟ้ มข้อมูลรายชื่อผูบริ จาคโลหิต
                                                        ้
4. ระเบียน(Record)
 ระเบียน หมายถึง กลุ่มของเขตข้อมูล ตั้งแต่ 1 เขตข้อมูลขึ้นไป มีความสัมพันธ์
ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกันรวมขึ้นมาเป็ น 1 ระเบียน ระเบียน
                                         ่
ประกอบด้วยเขตข้อมูล ต่างประเภทกันอยูรวมกันเป็ นชุด
5. แฟ้ มข้อมูล (File)
 แฟ้ มข้อมูล หมายถึง ตารางสาหรับการจัดเก็บข้อมูลหรื อชุดของข้อมูลที่มีความ
เกี่ยวข้องกัน จัดอยูรวมกันอย่างมีระเบียบ ในรู ปแบบแถวและสดมภ์
                    ่
ภาพที่ แสดงโครงสร้ างของข้ อมูล
การออกแบบข้อมูล
      การจาลองข้อมูลในระบบการจัดการฐานข้อมูล มีวตถุประสงค์เพื่อเป็ นเครื่ องมือ
                                                  ั
สื่ อสารระหว่างผูใช้ขอมูลสนเทศกับผูออกแบบฐานข้อมูล และผูออกแบบฐานข้อมูล
                 ้ ้               ้                     ้
กับโปรแกรมเมอร์ ให้เข้าใจตรงกัน การจาลองข้อมูลใช้เทคนิคการใช้รูปภาพ
ไดอะแกรมแทน ความหมาย การจาลองข้อมูลมี 3 ชนิด
1. ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)

    เป็ นการเก็บข้อมูลในรู ปแบบที่เป็ นตาราง (Table) หรื อเรี ยกว่า รี เลชัน (Relation) มีลกษณะเป็ น 2
                                                                           ่               ั
มิติ คือเป็ นแถว (row) และเป็ นคอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดย
ใช้แอททริ บิวต์ (attribute) หรื อคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็ นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูล
เชิงสัมพันธ์น้ ีจะเป็ นรู ปแบบของฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบน ดังตัวอย่าง
                                                                ั

                        รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน   ทีอยู่
                                                    ่           เงินเดือ   รหัส
                                                                น          แผนก
                        12501535     นายสมพงศ์    กรุ งเทพ      12000      VO
                        12534568     นายมนตรี     นครปฐม        12500      VN
                        12503452     นายเอก       กรุ งเทพ      13500      VO
                        12356892     นายบรรทัด    นนทบุรี       11500      VD
                        15689730     นายราชัน     สมุทรปราการ   12000      VA
2. ฐานข้ อมูลแบบเครือข่ าย (Network Database)

    ฐานข้อมูลแบบเครื อข่ายจะเป็ นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะ
ต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่
มีความสัมพันธ์กนจะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริ บิวต์ใดแอททริ บิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูล
                ั
แบบเครื อข่าย จะแสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น
3. ฐานข้ อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Database)

     ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น เป็ นโครงสร้างที่จดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก
                                                ั
(Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรื อเป็ นโครงสร้างรู ปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จดเก็บ
                                                                                              ั
ในที่น้ ี คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิต้ ีหนึ่ง ๆ
ประเภทของระบบฐานข้อมูล
แบ่งออกเป็ น 4 ประเภทใหญ่ ตามชนิด ต่าง ๆ ดังนี้
1.แบ่ งตามจานวนของผู้ใช้
 การแบ่งโดยใช้จานวนผูใช้เป็ นหลัก สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทได้แก่
                          ้
    1.1 ผูใช้คนเดียวเป็ นระบบฐานข้อมูลที่ใช้ภายในองค์กรขนาดเล็ก เช่น ระบบ Point of sale
          ้
ของร้านสะดวกซื้อ หรื อระบบบัญชีของร้านเล็ก ๆ ทัวไป เป็ นต้น มีเครื่ องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่ อง
                                                   ่
             ้                                             ั ้
เดียวและผูใช้เพียงคนเดียว ไม่มีการแบ่งฐานข้อมูลร่ วมกันใช้กบผูอื่น ถ้าผูใช้คนอื่นต้องการใช้ระบบ
                                                                        ้
นี้จะต้องรอให้ผใช้คนแรกเลิกใช้ก่อนจึงจะใช้ได้
                  ู้
1.2 ผูใช้หลายคน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทย่อย ๆ ได้แก่ ผูใช้เป็ นกลุ่ม หรื อ Workgroup database
       ้                                                  ้
และประเภทฐานข้อมูลขององค์กรขนาดใหญ่หรื อ Enterprise database
   ผูใช้เป็ นกลุ่ม เป็ นฐานข้อมูลที่มีผใช้หลายกลุ่มหรื อหลายแผนก และแต่ละกลุ่มอาจมีผใช้หลายคน
     ้                                 ู้                                           ู้
                                                                         ่
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันหรื ออาจจะใช้ฐานข้อมูลเดียวกันก็ได้ แต่จะอยูในองค์กรเดียวกันเท่านั้น
                                               ั
องค์การขนาดใหญ่ เป็ นระบบฐานข้อมูลที่ใช้กบองค์กรขนาดใหญ่ที่มีสาขาหลายสาขา ทั้งใน
ประเทศหรื อมีสาขาในต่างประเทศ จะใช้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ มีระบบสารอง การรักษาความ
ปลอดภัยเป็ นอย่างดี
2. แบ่ งโดยใช้ ขอบเขตของงาน
การแบ่งโดยใช้ขอบเขตของงาน แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภทผูใช้คนเดียว ประเภท
                                                                       ้
ผูใช้เป็ นกลุ่มและประเภทองค์การขนาดใหญ่ ดังได้กล่าวรายละเอียดในตอนต้นแล้ว
  ้

3. แบ่ งตามสถานทีต้ัง
                  ่
การแบ่งตามสถานที่ต้ง แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภท ศูนย์กลาง และประเภท
                      ั
กระจาย ทั้งสองประเภทมีรายละเอียดดังนี้
  3.1 ประเภทศูนย์กลาง เป็ นระบบฐานข้อมูลที่นาเอามาเก็บไว้ในตาแหน่งศูนย์กลาง ผูใช้ทุกแผนก
                                                                              ้
ทุกคนจะต้องมาใช้ขอมูลร่ วมกัน ตามสิ ทธิ์ของผูใช้แต่ละกลุ่มหรื อแต่ละคน
                    ้                        ้
3.2 ประเภทกระจาย เป็ นระบบฐานข้อมูลที่เก็บฐานข้อมูลไว้ ณ ตาแหน่งใด ๆ ของแผนก และแต่ละ
แผนกใช้ฐานข้อมูลร่ วมกันโดยผูมีสิทธิ์ใช้ตามสิ ทธิ์ที่ได้กาหนดจากผูมีอานาจ การเข้าถึงข้อมูล เช่น
                              ้                                   ้
ฐานข้อมูลของฝ่ ายบุคคลเก็บไว้ที่แผนกทรัพยากรบุคคล ยอมให้ฝ่ายบัญชีนารายชื่อของพนักงานไป
ใช้ร่วมกับฐานข้อมูลการจ่ายโบนัส และในขณะเดียวกันฝ่ ายบัญชีมีฐานข้อมูลเก็บเงินเดือน สวัสดิการ
และรายจ่ายต่าง ๆ ของพนักงานเพื่อให้แผนกอื่นๆ เข้ามาใช้ได้เช่นกัน

 4.แบ่ งตามการใช้ งาน
 การแบ่งตามการใช้งานแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน
ฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจ และเพื่อเป็ นคลังข้อมูล
    4.1 ฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน เป็ นระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในงานประจาวันของพนักงาน
ระดับปฏิบติการป้ อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ เช่น งานสิ นค้าคงคลัง งานระบบซื้อมาขายไป สาหรับร้าน
           ั
สะดวกซื้อ หรื อระบบงานขายของร้านค้าทัวไป เป็ นต้น ฐานข้อมูลประเภทนี้มีการนาข้อมูลเข้า
                                         ่
เปลี่ยนแปลงและลบออกตลอดทั้งวัน จึงทาให้ขอมูลเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
                                              ้
4.2 ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสิ นใจ ระบบฐานข้อมูลประเภทนี้มีไว้เพื่อใช้ในการสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจของผูใช้ระดับผูบริ หารระดับกลางขึ้นไป ข้อมูลที่นาเข้ามาในระบบได้จากการป้ อน
              ้         ้
ข้อมูลงานประจาวันของฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน ส่ วนใหญ่ฐานข้อมูลประเภทนี้
นาไปใช้ในงานวางแผนกลยุทธ์ในองค์กร

4.3 ฐานข้อมูลเพื่อเป็ นคลังข้อมูล ฐานข้อมูลประเภทนี้เกิดจากการนาข้อมูลเข้ามาในระบบ
ทุก ๆ วันจึงทาให้เกิดมีขอมูลขนาดใหญ่ จึงนาเอาข้อมูลที่มีประโยชน์มาสร้างฟั งก์ชนหรื อ
                        ้                                                     ั
สมการต่างเพื่อประมวลผลหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ให้เป็ นประโยชน์กบองค์กร
                                                            ั
หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
1.หน้ าทีจัดการพจนานุกรมข้ อมูล
         ่
 ในการออกแบบฐานข้อมูลโดยปกติ ผูออกแบบได้เขียนพจนานุกรมข้อมูลในรู ปของเอกสารให้กบ
                                     ้                                                   ั
โปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอร์จะใช้ซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้างพจนานุกรมข้อมูล
ต่อไป และสามารถกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล
จาเป็ นต้องเปลี่ยนที่พจนานุกรมข้อมูลด้วย โปรแกรมเมอร์สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลได้
ทันที ต่อจากนั้นจึงให้พจนานุกรมข้อมูลพิมพ์รายงาน พจนานุกรมข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปแล้วเป็ น
เอกสารได้เลยทันที่ โดยไม่ตองแก้ไขที่เอกสาร
                            ้
2.หน้ าทีจัดการแหล่ งจัดเก็บข้ อมูล
         ่
 ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทนสมัยจะไม่ทาหน้าที่เพียงจัดการแหล่งจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น แต่
                                  ั
ยังเพิมหน้าที่ที่เกี่ยวกับการสร้างฟอร์มป้ อนข้อมูลเข้าหรื อกาหนดแบบจอภาพ แบบรายงาน
      ่
หรื อแม้แต่การตรวจสอบข้อมูลนาเข้าว่าถูกต้องหรื อไม่ และจัดการเรื่ องอื่น ๆ อีกหลายอย่าง

3.จัดการด้ านความปลอดภัยของข้ อมูล

 ระบบจัดการฐานข้อมูลทาหน้าที่รักษาความมันคง ความปลอดภัยของข้อมูล การไม่ยนยอม
                                                 ่                                 ิ
เข้าถึงข้อมูลจากผูใช้ที่ไม่มีสิทธิ์เข้าไปใช้ฐานข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิงฐานข้อมูลประเภทผูใช้
                  ้                                                  ่                 ้
หลายคน นอกจากนี้ยงสามารถกาหนดสิ ทธิ์ให้ผใช้แต่ละคนใช้คาสัง เพิ่ม หรื อลบ ปรับปรุ ง
                      ั                            ู้              ่
ข้อมูลได้เป็ นรายคนหรื อรายกลุ่ม
4.ควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลของผู้ใช้
 การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล เป็ นการทาหน้าที่ให้ผใช้เข้าใช้ได้หลาย ๆ คนในเวลาเดียวกันโดยไม่ทา
                                                ู้
ให้เกิดขัดข้องของข้อมูล ซึ่งจะเน้นกฎความสมบูรณ์ของข้อมูลและการใช้ขอมูลพร้อมกัน
                                                                      ้



5.การเปลียนรู ปแบบและการแสดงผลข้ อมูล
         ่
 การเปลี่ยนรู ปแบบและการแสดงผลข้อมูล เป็ นหน้าที่สาหรับเปลี่ยนข้อมูลที่ถูกป้ อนเข้าไปเป็ น
                                ่                                      ่
โครงสร้างข้อมูลจะจัดเก็บ ซึ่งอยูในมุมมองทางกายภาพ หรื ออาจจะกล่าวได้วา ระบบจัดการ
ฐานข้อมูลทาข้อมูลให้เป็ นอิสระจากโปรแกรมประยุกต์ได้
ตัวอย่างโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
โปรแกรม DBase
          เป็ นโปรแกรมจัดการฐานข้ อมูลที่ทางานบน DOS เป็ นโปรแกรมที่ใช้ งานง่าย มี
  เครื่ องมืออานวยความสะดวกต่อการเขียนโปรแกรม เช่น Report, Screen และ Label เป็ นต้ น
  และข้ อมูลรายงานที่อยู่ในไฟล์บน Dbase จะสามารถประมวลผลในโปรแกรม Word
  Processor   ได้ รวมถึง Excel ก็สามารถอ่านไฟล์ .DBF ที่สนร้ างขึ ้นโดยโปรแกรม Dbase ได้
  ด้ วย
โปรแกรม Microsoft Access
       เป็ นโปรแกรมที่ใช้ จดการกับฐานข้ อมูล สามารถจัดการกับข้ อมูลปริ มาณมากๆ ได้
                           ั
  อย่างง่ายดาย ทังในแง่การจัดเก็บข้ อมูล การค้ นหาข้ อมูล การจัดทารายงานข้ อมูล
                   ้
  การสารองข้ อมูล สามารถสร้ างแบบฟอร์ มที่ต้องการเรี ยกดูในฐานข้ อมูล หลังจากบันทึก
  ข้ อมูลในฐานข้ อมูลเรี ยบร้ อยแล้ ว สามารถค้ นหาหรื อเรี ยกดูข้อมูลใดก็ได้ นอกจากนี ้
  ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้ อมูล โดยการกาหนดรหัสผ่านเพื่อปองกันความ    ้
  ปลอดภัยของข้ อมูลในระบบได้ ด้วย
โปรแกรม Microsoft SQL Server
          เป็ นโปรแกรมจัดการฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ ใช้ ช่วยงานผู้บริ หารงานระบบ
  ฐานข้ อมูลให้ ทางานได้ ง่ายขึ ้น และรองรับการทางานกับระบบงานขนาดใหญ่ได้ อย่างมี
  ประสิทธิภาพ สามารถจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลที่มความยืดหยุ่นต่อการนาไปใช้ จึง
                                                        ี่
  เป็ นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ไม่วาจะเป็ นองค์กรธุรกิจขนาดกลาง หรื อขนาดใหญ่ทว
                                     ่                                          ั่
  โลก ซึงโปรแกรม Microsoft SQL Server นัน มีหลายเวอร์ ชนตามลักษณะการใช้ งาน
           ่                               ้                ั่
โปรแกรม FoxPro
        เป็ นโปรแกรมฐานข้ อมูลที่มีผ้ ใช้ งานมากที่สด เนื่องจากใช้ ง่ายทังวิธีการเรี ยกจากเมนูของ
                                      ู             ุ                    ้
  FoxPro และประยุกต์โปรแกรมขึ ้นใช้ งาน โปรแกรมที่เขียนด้ วย FoxPro จะสามารถใช้ กลับ
  dBase คาสังและฟั งก์ชนต่าง ๆ ใน dBase จะสามารถใช้ งานบน FoxPro ได้ นอกจากนี ้ใน
            ่          ั่
  FoxPro ยังมีเครื่ องมือช่วยในการเขียนโปรแกรม เช่น การสร้ างรายงาน
โปรแกรม Oracle
       Oracle คือ โปรแกรมจัดการฐานข้ อมูล ผลิตโดยบริ ษัทออราเคิล ซึงเป็ นโปรแกรม
                                                                             ่
จัดการฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ หรื อ DBMS (Relational Database Management
System) ตัวโปรแกรมนี ้จะทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางคอยติดต่อ ประสาน ระหว่างผู้ใช้ และ
ฐานข้ อมูล ทาให้ ผ้ ใช้ งานสามารถใช้ งานฐานข้ อมูลได้ สะดวกขึ ้น เช่นการค้ นหาข้ อมูลต่างๆ
                    ู
ภายในฐานข้ อมูลที่ง่ายและสะดวก โดยผู้ใช้ ไม่จาเป็ นต้ องทราบถึงโครงสร้ างภายในของ
ฐานข้ อมูลก็สามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูลนันได้
                                       ้
อ้างอิง
http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Database/database1.htm
18/01/2013
http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Database/database2.htm
18/01/2013
http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Database/database3.htm
18/01/2013
http://technology5lesson5.igetweb.com/index.php?mo=3&art=419928
18/01/2013
http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it04/page01.html
18/01/2013
http://www.thaiall.com/mis/mis07.htm
18/01/2013
จัดทาโดย
 นาย ยงยุทธ นิลทกาญจน์ เลขที่ 9
นางสาว ปฐมพร จิรวุฒิวรนาถ เลขที่15
 นางสาว พรทิพย์ ทิมทอง เลขที่ 16
  นางสาว รินพร เสดวงชัย เลขที่ 17
    นาย ศรัณย์ ศิรินิคม เลขที่ 27
    นาย พีรพล รัตนผล เลขที่ 35
       ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/3
         ้

More Related Content

What's hot

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูลpop Jaturong
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 

What's hot (19)

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 

Viewers also liked

Blood donation motivation
Blood donation motivationBlood donation motivation
Blood donation motivationSanjeew Yadav
 
Esercizi per addominali - la verità
Esercizi per addominali - la veritàEsercizi per addominali - la verità
Esercizi per addominali - la veritàeserciziperaddominali
 
Technology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property Portability
Technology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property PortabilityTechnology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property Portability
Technology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property Portabilityjgpecor
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกYongyut Nintakan
 
Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...
Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...
Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...CIBICAN - ULL
 
Internal quality control in blood bank testing
Internal quality control in blood bank testingInternal quality control in blood bank testing
Internal quality control in blood bank testingSanjeew Yadav
 

Viewers also liked (11)

เสนอAq
เสนอAqเสนอAq
เสนอAq
 
Blood donation motivation
Blood donation motivationBlood donation motivation
Blood donation motivation
 
Esercizi per addominali - la verità
Esercizi per addominali - la veritàEsercizi per addominali - la verità
Esercizi per addominali - la verità
 
Asean question mark
Asean question markAsean question mark
Asean question mark
 
Technology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property Portability
Technology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property PortabilityTechnology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property Portability
Technology Abstraction Eases Silicon Intellectual Property Portability
 
Asean question mark
Asean question markAsean question mark
Asean question mark
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...
Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...
Dr. David Guillespie - Identificación de dianas de daño en el DNA en la terap...
 
Yogi goddess ii 2013 linkedin
Yogi goddess ii 2013 linkedinYogi goddess ii 2013 linkedin
Yogi goddess ii 2013 linkedin
 
Anatomy organs.
Anatomy organs.Anatomy organs.
Anatomy organs.
 
Internal quality control in blood bank testing
Internal quality control in blood bank testingInternal quality control in blood bank testing
Internal quality control in blood bank testing
 

Similar to การจัดการฐานข้อมูล

Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลwarathip-por
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลwarathip-por
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 

Similar to การจัดการฐานข้อมูล (20)

Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 

More from Yongyut Nintakan

การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกYongyut Nintakan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกYongyut Nintakan
 
งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1Yongyut Nintakan
 
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมทซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมทYongyut Nintakan
 
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมทซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมทYongyut Nintakan
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการYongyut Nintakan
 

More from Yongyut Nintakan (16)

Methods
MethodsMethods
Methods
 
ปฐมพร 63
ปฐมพร 63ปฐมพร 63
ปฐมพร 63
 
เสนอAq
เสนอAqเสนอAq
เสนอAq
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
แผนผัง
แผนผังแผนผัง
แผนผัง
 
งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1
 
ข่าว
ข่าวข่าว
ข่าว
 
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมทซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
 
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมทซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
ซีอีโอยาฮูเตรียมออกระเบียบบังคับให้พนักงานต้องเข้ามาทำงานในสำนักงาน ห้ามรีโมท
 
จัดการ
จัดการจัดการ
จัดการ
 
จัดการ
จัดการจัดการ
จัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
จัดการ
จัดการจัดการ
จัดการ
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 

การจัดการฐานข้อมูล

  • 2. การจัดการฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล(Database Management) คือ การบริ หาร แหล่งข้อมูลที่ถกเก็บรวบรวมไว้ที่ศนย์กลาง เพื่อตอบสนองต่อการใช้ของ ู ู โปรแกรมประยุกต์อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและลดการซ้ าซ้อนของข้อมูล รวมทั้ง ความขัดแย้งของข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์การ
  • 3. โครงสร้างฐานข้อมูล 1. บิต (Bit) บิต หมายถึง หน่วยเก็บข้อมูลที่เล็กที่สุดในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นสัญญาณดิจิตล ซึ่ ง ั ประกอบด้วยสัญญาณไฟฟ้ า 2 สถานะ ได้แก่ 0 กับ 1 หรื อ เปิ ดกับปิ ด หรื อ จริ งกับเท็จ 2.ไบต์ (Byte) ไบต์ หมายถึง การนาค่าบิตจานวน 8 บิต มาเรี ยงต่อกันตามมาตรฐานรหัส ASCII จะแทนค่าตัว อักขระได้ 1ตัวอักษร เช่น01000001แทนตัวอักษร“A”เป็ นต้น แต่ตามมาตรฐาน Unicode จะใช้ จานวน 16 บิต
  • 4. 3. เขตข้ อมูล (Field) ั เขตข้อมูล หมายถึง อักขระที่สมพันธ์กนจานวนตั้งแต่ 1 อักขระเป็ นต้นไป มารวมกันแล้วเกิด ั ความหมาย แสดงลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง จากตารางที่ ข้อมูลในแถวที่ 1 มีค่า A- ประกอบด้วยตัว อักขระ 2 ตัวคือ A และ – มีความหมายว่า หมู่โลหิ ต A ชนิด Rh Negative เป็ นต้น เขตข้อมูลบางครั้ง เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า แอตทริ บิวต์ ตารางที่ แสดงแฟ้ มข้อมูลรายชื่อผูบริ จาคโลหิต ้
  • 5. 4. ระเบียน(Record) ระเบียน หมายถึง กลุ่มของเขตข้อมูล ตั้งแต่ 1 เขตข้อมูลขึ้นไป มีความสัมพันธ์ ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกันรวมขึ้นมาเป็ น 1 ระเบียน ระเบียน ่ ประกอบด้วยเขตข้อมูล ต่างประเภทกันอยูรวมกันเป็ นชุด 5. แฟ้ มข้อมูล (File) แฟ้ มข้อมูล หมายถึง ตารางสาหรับการจัดเก็บข้อมูลหรื อชุดของข้อมูลที่มีความ เกี่ยวข้องกัน จัดอยูรวมกันอย่างมีระเบียบ ในรู ปแบบแถวและสดมภ์ ่
  • 7. การออกแบบข้อมูล การจาลองข้อมูลในระบบการจัดการฐานข้อมูล มีวตถุประสงค์เพื่อเป็ นเครื่ องมือ ั สื่ อสารระหว่างผูใช้ขอมูลสนเทศกับผูออกแบบฐานข้อมูล และผูออกแบบฐานข้อมูล ้ ้ ้ ้ กับโปรแกรมเมอร์ ให้เข้าใจตรงกัน การจาลองข้อมูลใช้เทคนิคการใช้รูปภาพ ไดอะแกรมแทน ความหมาย การจาลองข้อมูลมี 3 ชนิด
  • 8. 1. ฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็ นการเก็บข้อมูลในรู ปแบบที่เป็ นตาราง (Table) หรื อเรี ยกว่า รี เลชัน (Relation) มีลกษณะเป็ น 2 ่ ั มิติ คือเป็ นแถว (row) และเป็ นคอลัมน์ (column) การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดย ใช้แอททริ บิวต์ (attribute) หรื อคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็ นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์น้ ีจะเป็ นรู ปแบบของฐานข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบน ดังตัวอย่าง ั รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ทีอยู่ ่ เงินเดือ รหัส น แผนก 12501535 นายสมพงศ์ กรุ งเทพ 12000 VO 12534568 นายมนตรี นครปฐม 12500 VN 12503452 นายเอก กรุ งเทพ 13500 VO 12356892 นายบรรทัด นนทบุรี 11500 VD 15689730 นายราชัน สมุทรปราการ 12000 VA
  • 9. 2. ฐานข้ อมูลแบบเครือข่ าย (Network Database) ฐานข้อมูลแบบเครื อข่ายจะเป็ นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะ ต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่ มีความสัมพันธ์กนจะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริ บิวต์ใดแอททริ บิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูล ั แบบเครื อข่าย จะแสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น
  • 10. 3. ฐานข้ อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Database) ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น เป็ นโครงสร้างที่จดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก ั (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรื อเป็ นโครงสร้างรู ปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จดเก็บ ั ในที่น้ ี คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิต้ ีหนึ่ง ๆ
  • 11. ประเภทของระบบฐานข้อมูล แบ่งออกเป็ น 4 ประเภทใหญ่ ตามชนิด ต่าง ๆ ดังนี้ 1.แบ่ งตามจานวนของผู้ใช้ การแบ่งโดยใช้จานวนผูใช้เป็ นหลัก สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทได้แก่ ้ 1.1 ผูใช้คนเดียวเป็ นระบบฐานข้อมูลที่ใช้ภายในองค์กรขนาดเล็ก เช่น ระบบ Point of sale ้ ของร้านสะดวกซื้อ หรื อระบบบัญชีของร้านเล็ก ๆ ทัวไป เป็ นต้น มีเครื่ องคอมพิวเตอร์เพียงเครื่ อง ่ ้ ั ้ เดียวและผูใช้เพียงคนเดียว ไม่มีการแบ่งฐานข้อมูลร่ วมกันใช้กบผูอื่น ถ้าผูใช้คนอื่นต้องการใช้ระบบ ้ นี้จะต้องรอให้ผใช้คนแรกเลิกใช้ก่อนจึงจะใช้ได้ ู้
  • 12. 1.2 ผูใช้หลายคน แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทย่อย ๆ ได้แก่ ผูใช้เป็ นกลุ่ม หรื อ Workgroup database ้ ้ และประเภทฐานข้อมูลขององค์กรขนาดใหญ่หรื อ Enterprise database ผูใช้เป็ นกลุ่ม เป็ นฐานข้อมูลที่มีผใช้หลายกลุ่มหรื อหลายแผนก และแต่ละกลุ่มอาจมีผใช้หลายคน ้ ู้ ู้ ่ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันหรื ออาจจะใช้ฐานข้อมูลเดียวกันก็ได้ แต่จะอยูในองค์กรเดียวกันเท่านั้น ั องค์การขนาดใหญ่ เป็ นระบบฐานข้อมูลที่ใช้กบองค์กรขนาดใหญ่ที่มีสาขาหลายสาขา ทั้งใน ประเทศหรื อมีสาขาในต่างประเทศ จะใช้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ มีระบบสารอง การรักษาความ ปลอดภัยเป็ นอย่างดี
  • 13. 2. แบ่ งโดยใช้ ขอบเขตของงาน การแบ่งโดยใช้ขอบเขตของงาน แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภทผูใช้คนเดียว ประเภท ้ ผูใช้เป็ นกลุ่มและประเภทองค์การขนาดใหญ่ ดังได้กล่าวรายละเอียดในตอนต้นแล้ว ้ 3. แบ่ งตามสถานทีต้ัง ่ การแบ่งตามสถานที่ต้ง แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภท ศูนย์กลาง และประเภท ั กระจาย ทั้งสองประเภทมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ประเภทศูนย์กลาง เป็ นระบบฐานข้อมูลที่นาเอามาเก็บไว้ในตาแหน่งศูนย์กลาง ผูใช้ทุกแผนก ้ ทุกคนจะต้องมาใช้ขอมูลร่ วมกัน ตามสิ ทธิ์ของผูใช้แต่ละกลุ่มหรื อแต่ละคน ้ ้
  • 14. 3.2 ประเภทกระจาย เป็ นระบบฐานข้อมูลที่เก็บฐานข้อมูลไว้ ณ ตาแหน่งใด ๆ ของแผนก และแต่ละ แผนกใช้ฐานข้อมูลร่ วมกันโดยผูมีสิทธิ์ใช้ตามสิ ทธิ์ที่ได้กาหนดจากผูมีอานาจ การเข้าถึงข้อมูล เช่น ้ ้ ฐานข้อมูลของฝ่ ายบุคคลเก็บไว้ที่แผนกทรัพยากรบุคคล ยอมให้ฝ่ายบัญชีนารายชื่อของพนักงานไป ใช้ร่วมกับฐานข้อมูลการจ่ายโบนัส และในขณะเดียวกันฝ่ ายบัญชีมีฐานข้อมูลเก็บเงินเดือน สวัสดิการ และรายจ่ายต่าง ๆ ของพนักงานเพื่อให้แผนกอื่นๆ เข้ามาใช้ได้เช่นกัน 4.แบ่ งตามการใช้ งาน การแบ่งตามการใช้งานแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน ฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจ และเพื่อเป็ นคลังข้อมูล 4.1 ฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน เป็ นระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในงานประจาวันของพนักงาน ระดับปฏิบติการป้ อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ เช่น งานสิ นค้าคงคลัง งานระบบซื้อมาขายไป สาหรับร้าน ั สะดวกซื้อ หรื อระบบงานขายของร้านค้าทัวไป เป็ นต้น ฐานข้อมูลประเภทนี้มีการนาข้อมูลเข้า ่ เปลี่ยนแปลงและลบออกตลอดทั้งวัน จึงทาให้ขอมูลเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ้
  • 15. 4.2 ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสิ นใจ ระบบฐานข้อมูลประเภทนี้มีไว้เพื่อใช้ในการสนับสนุนการ ตัดสิ นใจของผูใช้ระดับผูบริ หารระดับกลางขึ้นไป ข้อมูลที่นาเข้ามาในระบบได้จากการป้ อน ้ ้ ข้อมูลงานประจาวันของฐานข้อมูลสาหรับงานประจาวัน ส่ วนใหญ่ฐานข้อมูลประเภทนี้ นาไปใช้ในงานวางแผนกลยุทธ์ในองค์กร 4.3 ฐานข้อมูลเพื่อเป็ นคลังข้อมูล ฐานข้อมูลประเภทนี้เกิดจากการนาข้อมูลเข้ามาในระบบ ทุก ๆ วันจึงทาให้เกิดมีขอมูลขนาดใหญ่ จึงนาเอาข้อมูลที่มีประโยชน์มาสร้างฟั งก์ชนหรื อ ้ ั สมการต่างเพื่อประมวลผลหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ให้เป็ นประโยชน์กบองค์กร ั
  • 16. หน้าที่ของระบบการจัดการฐานข้อมูล 1.หน้ าทีจัดการพจนานุกรมข้ อมูล ่ ในการออกแบบฐานข้อมูลโดยปกติ ผูออกแบบได้เขียนพจนานุกรมข้อมูลในรู ปของเอกสารให้กบ ้ ั โปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอร์จะใช้ซอฟต์แวร์ระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้างพจนานุกรมข้อมูล ต่อไป และสามารถกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล จาเป็ นต้องเปลี่ยนที่พจนานุกรมข้อมูลด้วย โปรแกรมเมอร์สามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลได้ ทันที ต่อจากนั้นจึงให้พจนานุกรมข้อมูลพิมพ์รายงาน พจนานุกรมข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปแล้วเป็ น เอกสารได้เลยทันที่ โดยไม่ตองแก้ไขที่เอกสาร ้
  • 17. 2.หน้ าทีจัดการแหล่ งจัดเก็บข้ อมูล ่ ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่ทนสมัยจะไม่ทาหน้าที่เพียงจัดการแหล่งจัดเก็บข้อมูลเท่านั้น แต่ ั ยังเพิมหน้าที่ที่เกี่ยวกับการสร้างฟอร์มป้ อนข้อมูลเข้าหรื อกาหนดแบบจอภาพ แบบรายงาน ่ หรื อแม้แต่การตรวจสอบข้อมูลนาเข้าว่าถูกต้องหรื อไม่ และจัดการเรื่ องอื่น ๆ อีกหลายอย่าง 3.จัดการด้ านความปลอดภัยของข้ อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลทาหน้าที่รักษาความมันคง ความปลอดภัยของข้อมูล การไม่ยนยอม ่ ิ เข้าถึงข้อมูลจากผูใช้ที่ไม่มีสิทธิ์เข้าไปใช้ฐานข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิงฐานข้อมูลประเภทผูใช้ ้ ่ ้ หลายคน นอกจากนี้ยงสามารถกาหนดสิ ทธิ์ให้ผใช้แต่ละคนใช้คาสัง เพิ่ม หรื อลบ ปรับปรุ ง ั ู้ ่ ข้อมูลได้เป็ นรายคนหรื อรายกลุ่ม
  • 18. 4.ควบคุมการเข้ าถึงข้ อมูลของผู้ใช้ การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล เป็ นการทาหน้าที่ให้ผใช้เข้าใช้ได้หลาย ๆ คนในเวลาเดียวกันโดยไม่ทา ู้ ให้เกิดขัดข้องของข้อมูล ซึ่งจะเน้นกฎความสมบูรณ์ของข้อมูลและการใช้ขอมูลพร้อมกัน ้ 5.การเปลียนรู ปแบบและการแสดงผลข้ อมูล ่ การเปลี่ยนรู ปแบบและการแสดงผลข้อมูล เป็ นหน้าที่สาหรับเปลี่ยนข้อมูลที่ถูกป้ อนเข้าไปเป็ น ่ ่ โครงสร้างข้อมูลจะจัดเก็บ ซึ่งอยูในมุมมองทางกายภาพ หรื ออาจจะกล่าวได้วา ระบบจัดการ ฐานข้อมูลทาข้อมูลให้เป็ นอิสระจากโปรแกรมประยุกต์ได้
  • 19. ตัวอย่างโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล โปรแกรม DBase เป็ นโปรแกรมจัดการฐานข้ อมูลที่ทางานบน DOS เป็ นโปรแกรมที่ใช้ งานง่าย มี เครื่ องมืออานวยความสะดวกต่อการเขียนโปรแกรม เช่น Report, Screen และ Label เป็ นต้ น และข้ อมูลรายงานที่อยู่ในไฟล์บน Dbase จะสามารถประมวลผลในโปรแกรม Word Processor ได้ รวมถึง Excel ก็สามารถอ่านไฟล์ .DBF ที่สนร้ างขึ ้นโดยโปรแกรม Dbase ได้ ด้ วย
  • 20. โปรแกรม Microsoft Access เป็ นโปรแกรมที่ใช้ จดการกับฐานข้ อมูล สามารถจัดการกับข้ อมูลปริ มาณมากๆ ได้ ั อย่างง่ายดาย ทังในแง่การจัดเก็บข้ อมูล การค้ นหาข้ อมูล การจัดทารายงานข้ อมูล ้ การสารองข้ อมูล สามารถสร้ างแบบฟอร์ มที่ต้องการเรี ยกดูในฐานข้ อมูล หลังจากบันทึก ข้ อมูลในฐานข้ อมูลเรี ยบร้ อยแล้ ว สามารถค้ นหาหรื อเรี ยกดูข้อมูลใดก็ได้ นอกจากนี ้ ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยของข้ อมูล โดยการกาหนดรหัสผ่านเพื่อปองกันความ ้ ปลอดภัยของข้ อมูลในระบบได้ ด้วย
  • 21. โปรแกรม Microsoft SQL Server เป็ นโปรแกรมจัดการฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ ใช้ ช่วยงานผู้บริ หารงานระบบ ฐานข้ อมูลให้ ทางานได้ ง่ายขึ ้น และรองรับการทางานกับระบบงานขนาดใหญ่ได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลที่มความยืดหยุ่นต่อการนาไปใช้ จึง ี่ เป็ นที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย ไม่วาจะเป็ นองค์กรธุรกิจขนาดกลาง หรื อขนาดใหญ่ทว ่ ั่ โลก ซึงโปรแกรม Microsoft SQL Server นัน มีหลายเวอร์ ชนตามลักษณะการใช้ งาน ่ ้ ั่
  • 22. โปรแกรม FoxPro เป็ นโปรแกรมฐานข้ อมูลที่มีผ้ ใช้ งานมากที่สด เนื่องจากใช้ ง่ายทังวิธีการเรี ยกจากเมนูของ ู ุ ้ FoxPro และประยุกต์โปรแกรมขึ ้นใช้ งาน โปรแกรมที่เขียนด้ วย FoxPro จะสามารถใช้ กลับ dBase คาสังและฟั งก์ชนต่าง ๆ ใน dBase จะสามารถใช้ งานบน FoxPro ได้ นอกจากนี ้ใน ่ ั่ FoxPro ยังมีเครื่ องมือช่วยในการเขียนโปรแกรม เช่น การสร้ างรายงาน
  • 23. โปรแกรม Oracle Oracle คือ โปรแกรมจัดการฐานข้ อมูล ผลิตโดยบริ ษัทออราเคิล ซึงเป็ นโปรแกรม ่ จัดการฐานข้ อมูลเชิงสัมพันธ์ หรื อ DBMS (Relational Database Management System) ตัวโปรแกรมนี ้จะทาหน้ าที่เป็ นตัวกลางคอยติดต่อ ประสาน ระหว่างผู้ใช้ และ ฐานข้ อมูล ทาให้ ผ้ ใช้ งานสามารถใช้ งานฐานข้ อมูลได้ สะดวกขึ ้น เช่นการค้ นหาข้ อมูลต่างๆ ู ภายในฐานข้ อมูลที่ง่ายและสะดวก โดยผู้ใช้ ไม่จาเป็ นต้ องทราบถึงโครงสร้ างภายในของ ฐานข้ อมูลก็สามารถเข้ าใช้ ฐานข้ อมูลนันได้ ้
  • 25. จัดทาโดย นาย ยงยุทธ นิลทกาญจน์ เลขที่ 9 นางสาว ปฐมพร จิรวุฒิวรนาถ เลขที่15 นางสาว พรทิพย์ ทิมทอง เลขที่ 16 นางสาว รินพร เสดวงชัย เลขที่ 17 นาย ศรัณย์ ศิรินิคม เลขที่ 27 นาย พีรพล รัตนผล เลขที่ 35 ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/3 ้