SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
รายงานทางวิชาการ

           การศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
           การประมวลความรู้ ทฤษฎี หลักวิชาการ และ
            ประสบการณ์
           การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ข้อมูล
           การนาเสนอเนื้อหาอย่างมีระบบ
           การใช้ภาษาวิชาการ
           การอ้างอิงตามแบบแผน




2 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างรายงานทางวิชาการ

            รายงานการศึกษา
            รายงานการวิเคราะห์
            รายงานทางเทคนิค
            รายการวิจัย
            กรณีศึกษา
            วิทยานิพนธ์
            การศึกษาค้นคว้าอิสระ




3 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การเขียนรายงานจากค้นคว้า
               เป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
               สาคัญ จาเป็นสาหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
               ฝึกให้คิดอย่างมีเหตุผล
               ฝึกความสามารถในการใช้ภาษา




4 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การค้นคว้าด้วยตนเอง
          การศึกษาหาความรู้ นอกจากครูจะเป็นผู้บอกแล้ว
          หาความรู้ได้จากแหล่งอื่น ๆ อีก เช่น จากหนังสือ
          บทความในวารสาร หนังสือพิมพ์ ซีดีรอม
          ชมนิทรรศการ ฟังวิทยุ ฯลฯ




5 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
รายงาน (Report) ภาคนิพนธ์ (Term paper)
       เป็นงานเขียนของนิสิต นักศึกษา ที่เรียบเรียงขึ้นจาก
        การศึกษาค้นคว้า ในเรื่องต่าง ๆ ตามหัวข้อที่กาหนด เพื่อ
        เสนอต่อผู้สอน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน
        วิชานั้น ๆ
       ผู้เขียนจะต้องเขียนรายงานตามรูปแบบที่สถานศึกษา
        กาหนดไว้
       รายงานที่ดีควรใช้เป็นแหล่งค้นคว้าของผู้อื่นได้




6 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วัตถุประสงค์ของการทารายงาน
               ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
               เพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ทางวิชาการอย่าง
                กว้างขวางและลึกซึ้ง
               พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ
               พัฒนาทักษะการค้นคว้าและการเขียนรายงานทางวิชาการ




7 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ขั้นตอนการทารายงาน
          1.   เลือกเรื่องและตั้งชื่อเรื่อง
          2.   สารวจแหล่งความรู้ ค้นหาข้อมูลอย่างคร่าว ๆ
          3.   วางโครงเรื่อง
          4.   ค้นคว้าตามโครงเรื่อง อ่านและจดบันทึก
          5.   วิเคราะห์ สังเคราะห์ เรียบเรียงเนื้อเรื่อง และเขียนการอ้างอิง
          6.   เขียนบรรณานุกรม
          7.   ทาส่วนประกอบของรายงาน
          8.   ตรวจสอบความถูกต้องและจัดทารูปเล่ม




8 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การกาหนดเรื่องของรายงาน

    1. อาจารย์ผู้สอนกาหนดให้


    2. เรื่องที่เลือกเองได้ ผู้เขียนรายงานมีอิสระ
       แต่เรื่องที่เลือกทาควรมีขอบเขตเนื้อหาที่มีความ
       สอดคล้องกับรายวิชาที่เรียน




9 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หลักของการเลือกเรื่อง

    ลักษณะของเรื่อง
     ผู้ทามีความรู้ ความชานาญ หรือ ประสบการณ์
     มีคุณค่า น่าสนใจ ทันสมัย
     มีประโยชน์
     หาเอกสารข้อมูลได้ง่าย และมากพอ

    ขอบเขตของเรื่อง
     ไม่กว้างหรือแคบเกินไป
     เหมาะสมกับเวลาที่กาหนด




10 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างขอบเขตของเรื่อง

    กว้างมาก                  การเลี้ยงปลา
    กว้าง                     การเลี้ยงปลาสวยงาม
    แคบ                       การเลี้ยงปลากัด
                                   ...................
    กว้างมาก                  สมุนไพร
    กว้าง                     สมุนไพรกับการรักษาโรค
    แคบ                       สมุนไพรกับการรักษาโรคเอดส์




11 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วิธีกาหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลง

       ใช้แง่มุมที่เหมาะสมของเรื่อง
        ปัญหาสังคม       ปัญหายาเสพติด
                         ปัญหาโสเภณีเด็ก
                         ปัญหาชุมชนแออัด
        เด็ก             การให้ภูมิคุ้มกันสาหรับเด็ก
                         เพลงกล่อมเด็ก
        ปุ๋ย             การทาปุ๋ยหมัก
        ปลา              การเลี้ยงปลาสวยงาม




12 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วิธีกาหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลง

  ใช้ยุคหรือสมัยเป็นตัวกาหนด            เพลงกล่อมเด็กในสมัยปัจจุบัน
  ใช้ขอบเขตภูมิศาสตร์กาหนด              การเลี้ยงโคนมทางภาคใต้
  ใช้กลุ่มบุคคลเป็นตัวกาหนด             ปัญหายาเสพติดในเด็กมัธยมต้น
                                         การเมืองไทยในทรรศนะนักธุรกิจ
  ใช้ บางประการ แนวโน้ม                 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2550




13 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การหาหัวข้อเรื่อง
         จากอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาที่ได้รับมอบหมายให้ทารายงาน
         ศึกษาจากแนวการสอน (Course outline)
         แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในชั้นเรียนเดียวกัน
         อ่านจากเอกสารต่าง ๆ ที่อาจารย์ผู้สอนแนะนาให้ค้นคว้าเพิ่มเติม
         ขอคาแนะนาจากบรรณารักษ์บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า
         การรับรู้สารสนเทศจากสื่อต่าง ๆ
         ค้นหาหัวข้อจากสารานุกรมทั่วไปและสารานุกรมเฉพาะวิชา




14 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การเลือกเรื่องจะง่ายและคล่องตัว


           น.ส.พ.                     วารสาร   หนังสือ   อินเตอร์เน็ต
               จะได้เรื่องราว ข้อมูลและแง่คิดกว้างขวางขึ้น สามารถจะ
               เลือกหยิบเอามากาหนดเป็นเรื่องที่จะเขียนได้




15 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ข้อสังเกตการตั้งชื่อเรื่อง
    ชื่อเรื่อง กาหนดทิศทาง ขอบเขตของเรื่อง อาจตังตาม
        จุดมุ่งหมายที่สาคัญที่สุด หรือปัญหาสาคัญ โดยใช้คาที่
        กะทัดรัด และเหมาะสม
     ชื่อเรื่องสั้น            ขอบเขตรายงานละเอียดยาว
           ประเพณีไทย
     ชื่อเรื่องยาว                         ขอบเขตรายงานสั้น
           ประเพณีแต่งงานชาวเขาในภาคเหนือ




16 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การค้นคว้าเพื่อวางโครงเรื่อง
      จุดเริ่มต้นของหลังจากเลือกเรื่องได้แล้ว ก็คือ ระดมความรู้
      1. ต้องมีหัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า
      2. ต้องรู้จักเครื่องมือในการสืบค้นสารสนเทศ OPAC GOOGLE
         ฯลฯ
      3 รวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน
      4. เตรียมวางโครงเรื่อง
      5. วางโครงเรื่อง




17 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
          ถ้าค้นจาก OPAC จะได้ ...
          มีหัวข้อเรื่องที่จะค้น
          ต้องคิดคาเพื่อนาไปใช้สืบค้น
          ต้องเป็นคาที่สั้น กะทัดรัด ชัดเจน
                คาที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทา
                คาที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทา
                คาที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทา
                คาที่ครอบคลุมเรื่องที่ต้องการทา




18 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นคว้า

     ต้องการทารายงาน เรื่อง มลพิษของคนเมืองหลวง
     1. คาที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทา เช่น มลพิษ
     2. คาที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทา เช่น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
     3. คาที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทา เช่น อากาศเสีย ; น้าเสีย
     4. คาที่ครอบคลุมเรื่องที่ต้องการทา เช่น สาธารณสุข ; อนามัย
        สิ่งแวดล้อม




19 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นคว้า

     ต้องการทารายงาน เรื่อง การเลี้ยงโคนมในภาคใต้
     1. คาที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทา เช่น โคนม
     2. คาที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทา เช่น โคกระบือ
     3. คาที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทา เช่น โคนม -- การเลี้ยง
     4. คาที่ครอบคลุมเรื่องที่ต้องการทา เช่น ปศุสัตว์ ; ฟาร์มโคนม ;
        อุตสาหกรรมนมเนย




20 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การสารวจและรวบรวมแหล่งข้อมูล

       เป็นการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานในการเขียนเรื่อง เพื่อดูว่ามี
        ใครเคยเขียนเรื่องราวเหล่านั้นไว้บ้าง และมีข้อมูลเพียง
        พอที่จะทารายงานหรือไม่ 
       รวบรวมข้อมูลจากเครื่องมือสืบค้น
       เลือกข้อมูล
       การอ่านเบื้องต้น
            หาแนวคิด ขอบเขต
            รวบรวมหัวข้อเรื่อง
            คัดเลือกเอกสาร


21 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ต้องรู้จักเครื่องมือในการสืบค้นสารนิเทศ
     WebOPAC ช่วยให้ผู้ใช้ สืบค้นข้อมูล หนังสือ บทความวารสาร
     ที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ครบถ้วนและสมบูรณ์
      นาหัวข้อเรื่องที่คิดไว้ ไปค้นจาก รายการหัวเรื่อง
      รายการที่ต้องจด มาจากรายการ OPAC หนังสือ
          เลขเรียกหนังสือ เพื่อนาไปค้นหาหนังสือ
          รายการบรรณานุกรม เพื่อนาไปใช้เขียนบรรณานุกรม
          ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/(พิมพ์ครั้งที).//สถานที่
                                                            ่
          ////////พิมพ์:/สานักพิมพ์.




22 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
บทความวารสาร
     WebOPAC ช่วยให้ผู้ใช้ สืบค้นข้อมูล หนังสือ บทความวารสาร
     ที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ครบถ้วนและสมบูรณ์
      บทความวารสาร จะให้เรื่องราว ความคิดแปลก ๆ ใหม่ ๆ
         เกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน
      รายการที่ต้องจด มาจากรายการ OPAC บทความวารสาร
         ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/เดือน).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร,/ปีท,/
                                                                     ี่
         ///////(ฉบับที),/หน้า/เลขหน้าบทความ.
                          ่




23 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หนังสืออ้างอิง

      พจนานุกรม ศึกษาความหมายของเรื่องที่ต้องการค้นคว้าทาให้
         เข้าใจเรื่องราวที่ต้องการทารายงานได้ถูกต้อง
      สารานุกรม จะให้ข้อมูลที่เป็นความรู้พื้นฐาน โดยดูว่าเรื่องที่
         ต้องการค้นคว้าได้แบ่งหัวข้อเรื่องไว้อย่างไร ทาให้ทราบเค้า
         โครงเรื่องอย่างย่อ ๆ ทาให้สามารถกาหนดขอบเขต และหัวข้อ
         ในโครงเรื่องให้สัมพันธ์กันได้
     ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ชื่อสารานุกรม/(เล่มที่ใช้.//
     ////////หน้า/เลขหน้าบทความ).//สถานที่พิมพ์:/สานักพิมพ์.




24 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
สารสนเทศอื่น ๆ

      จุลสาร กฤตภาค รวมทั้งโสตทัศนวัสดุ
      ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
     เมื่อพบข้อมูล หรือ บทความไม่ว่าจะเป็นจาก หนังสือ
       วารสาร หนังสือพิมพ์ สารานุกรม ฐานข้อมูล ฯลฯ
       ที่คิดว่ามีเนื้อหาตรงหรือเกี่ยวข้อง ให้จดรายละเอียด
       ตามแบบบรรณานุกรม เพื่อนาไปใช้สืบค้นข้อมูล
       ต่อไป




25 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วิธีเลือกข้อมูล

        คุณวุฒิของผู้แต่ง เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ หรือมี
         ประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ
        คุณค่าของเอกสาร เลือกฉบับพิมพ์ล่าสุด หรือแหล่งต้นตอ
        ความทันสมัยและน่าเชื่อถือ ทั้งเนื้อหาข้อมูลและสถิติ เป็น
         ปัจจุบัน ไม่ล้าหลัง และบอกแหล่งที่มาซึ่งเชื่อถือได้




26 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การอ่านเบื้องต้น       น. 267

        เป็นการอ่านเอกสารที่รวบรวมมาได้อย่างคร่าว ๆ เพื่อหาหัวข้อ
         เรื่องและเนื้อหาที่ต้องการจากเอกสาร ว่ามีหัวข้อที่น่าจะใช้เป็น
         โครงเรื่อง หรือไม่ ให้ดูจาก
                  คานา
                  สารบัญ
                  ดรรชนีท้ายเล่มของหนังสือนั้น ๆ
                  ใช้เครื่องมือช่วยค้น
        คัดเลือกเอกสารที่ต้องการ และจดบันทึกหัวข้อเรื่องไว้เพื่อวาง
            โครงเรื่อง




27 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
โครงเรื่อง
        เค้าโครงเรื่องงานเขียน เปรียบเสมือนพิมพ์เขียว ของการ
         ก่อสร้าง
        แนวคิดหรือหัวข้อสาคัญ
        แนวทางเก็บรวบรวมข้อมูล
        ช่วยให้รายงานมีเอกภาพ สารัตถภาพ และ สัมพันธภาพ
        ช่วยเน้นย้าประเด็นสาคัญได้อย่างเหมาะสมและมีเนื้อหาได้
         สัดส่วน ไม่ให้”ข้อมูลพาไป”
        ช่วยให้เนื้อหาครบถ้วน สมบูรณ์ตามหัวข้อขอบเขต ประเด็น
         สาคัญที่กาหนด
        ช่วยให้รายงานมีความน่าอ่าน เข้าใจง่าย เพราะจัดความรู้
         ความคิด อย่างเป็นระบบ


28 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วางโครงเรื่อง

          เลือกหัวข้อเรื่องที่เหมาะสมจะใช้เป็นโครงเรื่องจากที่จดไว้
          จัดกลุ่มหัวข้อที่เลือกแล้วให้เป็นหมวดหมู่ สัมพันธ์กัน
          ปรับหัวข้อเรื่องที่เลือก และจัดกลุ่มให้เหมาะสม
          เรียงลาดับก่อนหลังตามความสาคัญ
          รวมกลุ่มหัวข้อเรื่องเป็นหมวดหมู่
          ใช้รูปแบบหัวข้อเรื่องเดียวกันโดยตลอด
          ปรับชื่อรายงานให้ สัมพันธ์ สอดคล้องกับโครงเรื่อง




29 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร
      นิตยา มหาผล. (2538). มลพิษทางอากาศ. ใน สารานุกรมไทย
         สาหรับเยาวชน (พิมพ์ครั้งที่ 4). (เล่มที่ 15. หน้า 213-242).
         กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน.
           ผลของการเปลี่ยนแปลงของสารมลพิษ
           ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อร่างกายคนและสัตว์
           ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อพืช
           แหล่งกาเนิดของมลพิษในอากาศ
           การควบคุมก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน
           การควบคุมมลพิษจากการอุตสาหกรรม
                      การควบคุมมลพิษที่เป็นฝุ่นละออง
                      การควบคุมสารมลพิษที่เป็นก๊าซ
             การควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษ
30 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร
      304.2 พัฒนา มูลพฤกษ์. (2546). อนามัยสิ่งแวดล้อม (พิมพ์
      พ532อ    ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ: ซิกม่า ดีไซน์
                กราฟฟิก.
          ความสาคัญของอากาศ
          แหล่งกาเนิดของสารพิษทางอากาศ
                      ที่มนุษย์สร้าง
                      โดยธรรมชาติ
                 ประเภทของสารเจือปนในอากาศ
                 ผลเสียของการเกิดมลพิษทางอากาศ
                 การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ
                 มาตรฐานคุณภาพอากาศ


31 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร
      363.7392 นพภาพร พานิช และวัลภา สอนดี. (2547). ตารา
      น178ต          ระบบบาบัดมลพิษอากาศ. กรุงเทพฯ:
                     ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
       ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมลพิษอากาศ
         ประเภทของแหล่งกาเนิดสารมลพิษอากาศ
                      แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ
                      แหล่งกาเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์
            ประเภทของสารมลพิษอากาศ
            ผลกระทบของสารมลพิษอากาศ
            สถานการณ์มลพิษอากาศในประเทศไทย
            กฎหมายมลพิษจากอุตสาหกรรม
            การควบคุมฝุ่นละออง
32 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร
      สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โปรแกรมวิชา
        วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. (2542). มลพิษทางอากาศ. ค้นเมื่อ เมษายน
        14, 2549, จาก http://www.riss.ac.th/envi/air.HTML
            ความรู้เบื้องต้นทางด้านมลพิษทางอากาศ
                      ความหมายมลพิษทางอากาศ
                      แหล่งกาเนิดสารมลพิษทางอากาศ
                      ระบบภาวะมลพิษทางอากาศ (air pollution system)
            ปรากฏการณ์เรือนกระจก
            การเกิดรูรั่วของชั้นโอโซน
            การประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ
            การควบคุมบาบัด
            การตรวจวัดคุณภาพอากาศ

33 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
จัดกลุ่มหัวข้อเรื่องที่เลือก
    เล่มที่ 4        ความหมายมลพิษทางอากาศ
    เล่มที่ 1        แหล่งกาเนิดของมลพิษในอากาศ
    เล่มที่ 2        แหล่งกาเนิดของสารมลพิษทางอากาศ
                      - ที่มนุษย์สร้าง
                      - โดยธรรมชาติ
    เล่มที่ 3        ประเภทของแหล่งกาเนิดสารมลพิษอากาศ
                     แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ
                     แหล่งกาเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์
    เล่มที่ 4        แหล่งกาเนิดสารมลพิษทางอากาศ
    เล่มที่ 1        ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสารมลพิษ
                     ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อร่างกายคนและสัตว์
                     ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อพืช
    เล่มที่ 2        ผลเสียของการเกิดมลพิษทางอากาศ
    เล่มที่ 3        ผลกระทบของสารมลพิษอากาศ


34 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ปรับหัวข้อเรื่องที่เลือกและจัดกลุ่มให้เหมาะสม
      1. ความหมายของมลภาวะทางอากาศ
      2. แหล่งกาเนิดของสารมลภาวะทางอากาศ
            2.1 แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ
            2.2 แหล่งกาเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์




35 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
โครงเรื่อง: มลภาวะทางอากาศของกรุงเทพมหานคร

    1. ความหมายของมลภาวะทางอากาศ (4)
    2. แหล่งกาเนิดของสารมลภาวะทางอากาศ (1,2,3,4)
       2.1 มลภาวะจากยานยนต์
       2.2 มลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรม
       2.3 มลภาวะจากธรรมชาติ
    3. ผลกระทบของมลภาวะทางอากาศ (1,2,3)
       3.1 ต่อคน
       3.2 ต่อสัตว์
       3.3 ต่อพืช
    4. การตรวจวัดและสภาพมลภาวะทางอากาศในกรุงเทพมหานคร
    5. การควบคุมและป้องกันมลภาวะทางอากาศ (1,2,3)




36 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
รวบรวมเอกสารเพิ่มเติม
       ให้ดูข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้วว่ามีรายการใดที่ใช้ไม่ได้
       ข้อมูลที่คัดเลือกแล้วครอบคลุมหัวข้อทั้งหมดและเพียง
        พอที่จะนามาเรียบเรียงเป็นรายงานหรือไม่
       หากพบว่าบางหัวข้อยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ
             สืบค้นสารสนเทศเพิ่มเติม
             คัดเลือกเอกสารเพิ่มเติมให้ตรงตามโครงเรื่องที่วางไว้ทุก
             หัวข้อ เพื่อให้ได้ข้อมูลครอบคลุมทุกหัวข้อ




37 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง โรคอ้วน
      1.           อยากอ้วน
      2.           โรคอ้วน
      3.           ปัญหาคนอ้วน
      4.           สาเหตุของความร้อน
      5.           ความอ้วนเป็นโรค
      6.           จะทราบได้อย่างไรว่าท่านอ้วนหรือไม่
                  โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร
                      ลองปรับสิค่ะ




38 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง โรคอ้วน
                                            ความอ้วน
      1. ความหมายของความอ้วน
      2. สาเหตุของความอ้วน                             โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว
         2.1 ความผิดปกติของร่างกาย                         ดีหรือยังค่ะ
         2.2 อาหารและนิสัยการรับประทานอาหาร
      3. โทษของความอ้วน
      4. การลดความอ้วน
         4.1 ลดด้วยวิธีบริหารร่างกาย
         4.2 ลดด้วยวิธีควบคุมอาหาร
         4.3 ลดด้วยวิธีใช้ยาลดความอ้วน




39 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง: ผลไม้
               1.    วิถีการตลาดผลไม้ของไทย
               2.    การบรรจุหีบห่อ
               3.    หลักการเลือกซื้อผลไม้
               4.    การเก็บรักษาผลไม้
               5.    คุณภาพของผลไม้
               6.    ประโยชน์ของผลไม้ไนทางโภชนาการ

                  โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร
                      ลองปรับสิค่ะ




40 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง: ผลไม้
                                                        โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว
                                                            ดีหรือยังค่ะ
                                          ผลไม้ไทย
                       1. ความอุดมสมบูรณ์ของผลไม้ไทย
                       2. คุณค่าของผลไม้ไทย
                              2.1 คุณค่าด้านเศรษฐกิจ
                              2.2 คุณค่าด้านโภชนาการ
                       3. การเลือกซื้อผลไม้
                       4. การเก็บรักษาผลไม้

41 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตย.โครงเรื่อง: การเลี้ยงสุนัข
           1.   สุนัขในบ้าน
           2.   ประเภทของสุนัข
           3.   ลักษณะหลังอานของสุนัขที่นิยมเลี้ยง
           4.   ลักษณะของสุนัขพันธุ์ปักกิ่ง
           5.   โรคต่าง ๆ ในสุนัข
           6.   ปัญหาสาคัญในการเลี้ยงสุนัข
           7.   เราคุมกาเนิดสุนัขกันอย่างไร
           8.   ความรับผิดชอบของเจ้าของผู้เลี้ยงสุนัข

                โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร
                    ลองปรับสิค่ะ




42 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตย.โครงเรื่อง: การเลี้ยงสุนัข
      1. ประเภทของสุนัข
         1.1 สุนัขเพื่อนเล่น
         1.2 สุนัขเฝ้าบ้าน            โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว
         1.3 สุนัขใช้งาน                     ดีหรือยังค่ะ
      2. ลักษณะของสุนัขบางพันธุ์
         2.1 พันธุ์ไทยหลังอาน
         2.2 พันธุ์ปักกิ่ง
            ฯลฯ
      3. ปัญหาจากการเลี้ยงสุนัข
         3.1 อาหารและการบารุงรักษา
         3.2 การฝึกสุนัข
        3.3 โรคของสุนัขและการป้องกันรักษา
        3.4 การคุมกาเนิดและการบารุงพันธุ์สุนัข


43 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง: หนังสือพิมพ์
      1.    ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์
      2.    หนังสือพิมพ์กับการพัฒนาประเทศ
      3.    หนังสือพิมพ์ของเรา
      4.    หนังสือพิมพ์คืออะไร

           โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร
               ลองปรับสิค่ะ




44 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง: หนังสือพิมพ์
       1. ความหมายของหนังสือพิมพ์
       2. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์
       3. หนังสือพิมพ์ของเรา
       4. หนังสือพิมพ์กับการพัฒนาประเทศ
                โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว
                    ดีหรือยังค่ะ




45 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง: วัตถุมีพิษ
      1.    พิษภัยจากวัตถุมีพิษทางการเษตร
      2.    อันตรายจากการใช้วัตถุมีพิษในการปราบศัตรูพืช
      3.    แนวทางการควบคุมเคมีภัณฑ์อันตราย
      4.    ผู้ป่วยหมดสติจากการได้รับสารพิษ
      5.    โรคอันเนื่องจากการประกอบอาชีพจากสารเคมี
      6.    สานักงานวัตถุมีพิษ

           โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร
               ลองปรับสิค่ะ



46 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างโครงเรื่อง: วัตถุมีพิษ
       1. ความหมายของวัตถุมีพิษ     โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว
       2. ประเภทของวัสดุ                ดีหรือยังค่ะ

       3. อันตรายจากวัตถุมีพิษ
             3.1 มลภาวะของสิ่งแวดล้อม
             3.2 โรคอันเนื่องจากการสะสมของวัตถุมีพิษ
             3.3 อาการอันเนื่องจากการได้รับวัตถุมีพิษ
       4. การควบคุมวัตถุมีพิษ

47 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
สรุปการวางโครงเรื่องรายงาน
   1. จะเขียนเรื่องใด ให้หาความรู้ในเรื่องนั้นก่อนวางโครงเรื่อง เพื่อเป็น
      การปูพื้นความรู้
   2. ชื่อเรื่อง ตั้งให้มีขอบเขตของเนื้อหาพอเหมาะไม่แคบหรือกว้าง
      เกินไป
   3. เลือกสรรประเด็นหรือสาระสาคัญของเรื่องตั้งเป็นหัวข้อของโครง
      เรื่อง
   4. การให้เลขกากับหัวข้อของโครงเรื่อง ใช้ระบบเดียวกันโดยตลอด
   5. ตาแหน่งของหัวข้อเรื่อง :
      5.1 ชื่อเรื่องอยู่กลางหัวกระดาษ
      5.2 หัวข้อใหญ่อยู่ชิดเส้นขอบหน้า (เส้นคั่นหน้า)
      5.3 หัวข้อรองย่อหน้า 5-7 ตัวอักษร
      5.4 หัวข้อยิ่งย่อย ย่อหน้ายิ่งลึก
48 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การรวบรวมข้อมูลและเนื้อหา
     รูปแบบของบัตรบันทึก
     1. หัวข้อเรื่อง เป็นสิ่งแรกที่จะต้องบันทึก ใช้ตามหัวข้อในโครงเรื่อง
     2. เอกสารที่ใช้ค้นคว้า ดูว่าใช้เอกสารประเภทใด ให้ลงรายการ
        บรรณานุกรม ตามแบบฟอร์มของเอกสารประเภทนั้น
     3. หน้าที่ค้นคว้า หน้าที่มีข้อมูลของหัวข้อเรื่องที่บันทึกปรากฏอยู่
     4. เนื้อหาสาระที่บันทึก เก็บความจากเอกสาร ตรงหัวข้อเรื่อง
        หรือไม่ มีแก่นและส่วนขยายแก่นครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่ หาก
        มีความคิดเห็น แง่คิด ข้อสังเกต หรือ พบสิ่งขาดตกบกพร่องใด ๆ
        ควรบันทึกแทรกเสริมไว้ด้วย และทาเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็น
        ของผู้บันทึกเอง
     5. ชื่อห้องสมุดที่ค้นคว้า


49 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การรวบรวมข้อมูลและเนื้อหา
      บัตรบันทึกแผ่นหนึ่ง ๆ ใช้บันทึกเพียงหัวข้อเรื่องเดียวเท่านั้น
      หัวข้อเรื่องเดียวกัน ถ้าบันทึกจากเอกสารต่างเล่มกัน ให้ใช้บัตร
       บันทึกแยกแผ่นกัน
      เอกสารเล่มเดียวกัน แต่บันทึกต่างหัวข้อเรื่องกัน ให้แยกบัตร
       บันทึกกัน
      ถ้าบัตรบันทึกมีเนื้อที่ไม่พอ อาจใช้หน้าหลังโดยคว่าบัตรกลับหัว
       ลงการบันทึกหน้าหลังจะกลับหัวกับด้านหน้าเพื่อให้สะดวกเวลา
       ใช้งาน
      หากมีความคิดเห็น ข้อสังเกต หรือข้อวิเคราะห์วิจารณ์ เกิดขึ้นใน
       ระหว่างการเก็บความ ก็ควรบันทึกเสริมไว้ท้ายบัตรแผ่นนั้นด้วย
       แต่ควรทาหมายเหตุให้ทราบว่าเป็นความคิดเห็นของผู้บันทึกเอง


50 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
โครงสร้างของบัตรบันทึกสารสนเทศ
                                                                    หัวข้อเรื่อง
     เอกสารที่ใช้ค้นคว้า (ลงรายการแบบบรรณานุกรม) (ชื่อห้องสมุดที่คนคว้า)
                                                                  ้
     หน้าที่ค้นคว้า
               สารสนเทศที่บันทึกตามหัวข้อเรื่องที่กาหนด




51 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
แบบบรรณานุกรม
  หนังสือ:      ผูแต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อหนังสือ (พิมพ์ครั้งที). จังหวัด:
                        ้                                    ่
                          ชื่อสานักพิมพ์/โรงพิมพ์.
  สารานุกรม: ผูแต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อสารานุกรม.
                  ้
                          (เล่มที่ใช้. หน้า). จังหวัด: ชื่อสานักพิมพ์/โรง
                          พิมพ์.
  วารสาร:       ผูแต่ง. (ปีพิมพ์, เดือน). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีท,
                    ้                                                    ี่
                          (ฉบับที), หน้า.
                                   ่
  หนังสือพิมพ์: ผูแต่ง. (ปีพิมพ์, เดือน วันที่). ชื่อบทความ. ชื่อ
                      ้
                          หนังสือพิมพ์. เลขหน้า.




52 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างบัตรบันทึกสารสนเทศ : หนังสือ
                                                                     โรคของปลาสวยงาม
      639.3    สุภาพร อารีกิจ. (2542). การเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม.
      ส838ก               สกลนคร: สถาบันราชภัฏสกลนคร. (มรน.)
       หน้า 123-130
               (ส่วนที่ใช้บันทึกสารสนเทศตามหัวเรื่องที่กาหนดไว้)………………….…




53 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
แบบฝึกหัดที่ 1
  แบบฝึกหัดนี้ว่าด้วยการเลือกเรื่องและวางโครงเรื่อง ให้อ่านคาสั่งและทาความเข้าใจ
     ให้ตลอดทั้ง 5 ข้อก่อนลงมือทา
  1. ให้เลือกชื่อเรื่องเพื่อทารายงานคนละ 1 เรื่อง โดยไม่ซ้ากันเพื่อทาแบบฝึกหัด
     เรื่องที่เลือกนี้จะใช้ทาแบบฝึกหัดต่อไปที่ละขั้นตอนจนสาเร็จเป็นรายงานที่สมบูรณ์
     และถือเป็นผลงานส่วนหนึ่งของรายวิชานี้ ซึ่งจะต้องส่งเพื่อรับการประเมินผล
  2. ให้รวบรวมรายชื่อเอกสารที่เกี่ยวกับเรื่องที่เลือกไว้เพื่อใช้ค้นคว้าต่อไป
  3. ให้อ่านเอกสารที่รวบรวมนั้น เพื่อสารวจขอบเขตและเลือกสรรหัวข้อเรื่องที่
     เหมาะสมมาเป็นโครงเรื่องของรายงาน
  4. ให้เขียนโครงเรื่องของรายงานและส่ง เพื่อรับการตรวจแก้
  5. ให้รับโครงเรื่องรายงานคืนเพื่อแก้ไข (ถ้ามีข้อบกพร่อง) และรอการดาเนินงานใน
     ขั้นต่อไป




54 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างงานที่ น.ศ. ต้องส่ง
      1. ชื่อรายงาน การเลี้ยงปลาสวยงามเพื่อการค้า
      2. คาที่ใช้สืบค้น
             2.1 คาที่ตรงกับเรื่อง : ปลาสวยงาม ;
                                     ปลาสวยงาม--การเลี้ยง
                                     ปลาสวยงาม--การค้า
             2.2 คาที่ใกล้เคียงกับเรื่อง : ปลาตู้--การเลี้ยง
             2.3 คาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง : ชื่อเฉพาะของปลา เช่น
                   ปลาหมอสี ; ปลาการ์ตูน ; ปลาปอมปาดัวร์



55 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ตัวอย่างงานที่ น.ศ. ต้องส่ง
      1. ชื่อรายงาน การใช้ก๊าซหุงต้ม
      2. คาที่ใช้สืบค้น
             2.1 คาที่ตรงกับเรื่อง : ก๊าซหุงต้ม ; แอลพีจี
             2.2 คาที่ใกล้เคียงกับเรื่อง : ก๊าซปิโตรเลียมอัดเหลว
             2.3 คาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง : เชื้อเพลิง ; พลังงาน




56 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
3. แหล่งข้อมูลเรื่องนี้ที่รวบรวมได้
      3.1 จากหนังสือ
      ประเสริฐ เทียนนิมิต, ขวัญชัย สิน ทิพย์สมบูรณ์ และปานเพชร
              ชินินทร (2547). เชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น. กรุงเทพฯ:
              ซีเอ็ดยูเคชั่น.
      3.2 จากบทความวารสาร
      ฯลฯ....




57 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
4. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสารในข้อ 3.
     เล่มที่ 1                           เล่มที่ 2
      ประวัติความเป็นมา                  การควบคุมเพลิง
      ประโยชน์ในการนาก๊าซหุงต้ม          การขนส่งถังก๊าซ
        ไปใช้                             วิธีตรวจสอบน้าหนักแต่ละถัง
      ในครัวเรือน                        อันตรายจากการใช้ก๊าซหุงต้ม
      ในโรงงานอุตสาหกรรม                 วิธีใช้การหุงต้มอย่างถูกวิธี
      ในยานพาหนะ                         การซื้อ
      ความปลอดภัย                        การใช้
                                          การเก็บรักษาและตั้งถัง




58 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
5. โครงเรื่องของรายงาน
      การใช้ก๊าซหุงต้ม
      1. ความเป็นมาของก๊าซหุงต้ม
      2. ข้อดีและข้อเสียของก๊าซหุงต้ม
      3. วิธีใช้ก๊าซหุงต้มอย่างถูกต้อง
         3.1 ตรวจสอบก่อนซื้อ
         3.2 ขั้นตอนในการใช้
         3.3 การดูแลรักษา
      4. อันตรายและการควบคุมความปลอดภัยจากการใช้ก๊าซหุงต้ม




59 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อย่าลืม
                             ส่งงานนะจ๊ะ



60 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก
          มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

More Related Content

What's hot

รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 

What's hot (20)

รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 

Viewers also liked

การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการPuzzle Chalermwan
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (12)

แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการการเขียนเรื่องจากจินตนาการ
การเขียนเรื่องจากจินตนาการ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑

การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1bensee
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย ssuserd40879
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์prasatporn chanasak
 
โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์prasatporn chanasak
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Intangible Mz
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายnoukae
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายnoukae
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 

Similar to การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑ (20)

การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์
 
โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์โครงงานวิทย์
โครงงานวิทย์
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
How to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPACHow to Search KKU Web OPAC
How to Search KKU Web OPAC
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
 
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่ายการเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
การเขียนอ้างอิงอย่างง่าย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
260112114701
260112114701260112114701
260112114701
 
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
เอกสารเผยแพร่การจัดการความรู้คณะนิเทศศาสตร์ 54
 

การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑

  • 1.
  • 2. รายงานทางวิชาการ  การศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล  การประมวลความรู้ ทฤษฎี หลักวิชาการ และ ประสบการณ์  การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ข้อมูล  การนาเสนอเนื้อหาอย่างมีระบบ  การใช้ภาษาวิชาการ  การอ้างอิงตามแบบแผน 2 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 3. ตัวอย่างรายงานทางวิชาการ  รายงานการศึกษา  รายงานการวิเคราะห์  รายงานทางเทคนิค  รายการวิจัย  กรณีศึกษา  วิทยานิพนธ์  การศึกษาค้นคว้าอิสระ 3 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 4. การเขียนรายงานจากค้นคว้า  เป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  สาคัญ จาเป็นสาหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษา  ฝึกให้คิดอย่างมีเหตุผล  ฝึกความสามารถในการใช้ภาษา 4 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 5. การค้นคว้าด้วยตนเอง การศึกษาหาความรู้ นอกจากครูจะเป็นผู้บอกแล้ว หาความรู้ได้จากแหล่งอื่น ๆ อีก เช่น จากหนังสือ บทความในวารสาร หนังสือพิมพ์ ซีดีรอม ชมนิทรรศการ ฟังวิทยุ ฯลฯ 5 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 6. รายงาน (Report) ภาคนิพนธ์ (Term paper)  เป็นงานเขียนของนิสิต นักศึกษา ที่เรียบเรียงขึ้นจาก การศึกษาค้นคว้า ในเรื่องต่าง ๆ ตามหัวข้อที่กาหนด เพื่อ เสนอต่อผู้สอน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน วิชานั้น ๆ  ผู้เขียนจะต้องเขียนรายงานตามรูปแบบที่สถานศึกษา กาหนดไว้  รายงานที่ดีควรใช้เป็นแหล่งค้นคว้าของผู้อื่นได้ 6 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 7. วัตถุประสงค์ของการทารายงาน  ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  เพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ทางวิชาการอย่าง กว้างขวางและลึกซึ้ง  พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ  พัฒนาทักษะการค้นคว้าและการเขียนรายงานทางวิชาการ 7 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 8. ขั้นตอนการทารายงาน 1. เลือกเรื่องและตั้งชื่อเรื่อง 2. สารวจแหล่งความรู้ ค้นหาข้อมูลอย่างคร่าว ๆ 3. วางโครงเรื่อง 4. ค้นคว้าตามโครงเรื่อง อ่านและจดบันทึก 5. วิเคราะห์ สังเคราะห์ เรียบเรียงเนื้อเรื่อง และเขียนการอ้างอิง 6. เขียนบรรณานุกรม 7. ทาส่วนประกอบของรายงาน 8. ตรวจสอบความถูกต้องและจัดทารูปเล่ม 8 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 9. การกาหนดเรื่องของรายงาน 1. อาจารย์ผู้สอนกาหนดให้ 2. เรื่องที่เลือกเองได้ ผู้เขียนรายงานมีอิสระ แต่เรื่องที่เลือกทาควรมีขอบเขตเนื้อหาที่มีความ สอดคล้องกับรายวิชาที่เรียน 9 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 10. หลักของการเลือกเรื่อง ลักษณะของเรื่อง  ผู้ทามีความรู้ ความชานาญ หรือ ประสบการณ์  มีคุณค่า น่าสนใจ ทันสมัย  มีประโยชน์  หาเอกสารข้อมูลได้ง่าย และมากพอ ขอบเขตของเรื่อง  ไม่กว้างหรือแคบเกินไป  เหมาะสมกับเวลาที่กาหนด 10 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 11. ตัวอย่างขอบเขตของเรื่อง กว้างมาก การเลี้ยงปลา กว้าง การเลี้ยงปลาสวยงาม แคบ การเลี้ยงปลากัด ................... กว้างมาก สมุนไพร กว้าง สมุนไพรกับการรักษาโรค แคบ สมุนไพรกับการรักษาโรคเอดส์ 11 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 12. วิธีกาหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลง  ใช้แง่มุมที่เหมาะสมของเรื่อง ปัญหาสังคม ปัญหายาเสพติด ปัญหาโสเภณีเด็ก ปัญหาชุมชนแออัด เด็ก การให้ภูมิคุ้มกันสาหรับเด็ก เพลงกล่อมเด็ก ปุ๋ย การทาปุ๋ยหมัก ปลา การเลี้ยงปลาสวยงาม 12 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 13. วิธีกาหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลง  ใช้ยุคหรือสมัยเป็นตัวกาหนด เพลงกล่อมเด็กในสมัยปัจจุบัน  ใช้ขอบเขตภูมิศาสตร์กาหนด การเลี้ยงโคนมทางภาคใต้  ใช้กลุ่มบุคคลเป็นตัวกาหนด ปัญหายาเสพติดในเด็กมัธยมต้น การเมืองไทยในทรรศนะนักธุรกิจ  ใช้ บางประการ แนวโน้ม แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2550 13 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 14. การหาหัวข้อเรื่อง  จากอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาที่ได้รับมอบหมายให้ทารายงาน  ศึกษาจากแนวการสอน (Course outline)  แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนในชั้นเรียนเดียวกัน  อ่านจากเอกสารต่าง ๆ ที่อาจารย์ผู้สอนแนะนาให้ค้นคว้าเพิ่มเติม  ขอคาแนะนาจากบรรณารักษ์บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า  การรับรู้สารสนเทศจากสื่อต่าง ๆ  ค้นหาหัวข้อจากสารานุกรมทั่วไปและสารานุกรมเฉพาะวิชา 14 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 15. การเลือกเรื่องจะง่ายและคล่องตัว น.ส.พ. วารสาร หนังสือ อินเตอร์เน็ต  จะได้เรื่องราว ข้อมูลและแง่คิดกว้างขวางขึ้น สามารถจะ เลือกหยิบเอามากาหนดเป็นเรื่องที่จะเขียนได้ 15 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 16. ข้อสังเกตการตั้งชื่อเรื่อง ชื่อเรื่อง กาหนดทิศทาง ขอบเขตของเรื่อง อาจตังตาม จุดมุ่งหมายที่สาคัญที่สุด หรือปัญหาสาคัญ โดยใช้คาที่ กะทัดรัด และเหมาะสม  ชื่อเรื่องสั้น ขอบเขตรายงานละเอียดยาว  ประเพณีไทย  ชื่อเรื่องยาว ขอบเขตรายงานสั้น  ประเพณีแต่งงานชาวเขาในภาคเหนือ 16 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 17. การค้นคว้าเพื่อวางโครงเรื่อง จุดเริ่มต้นของหลังจากเลือกเรื่องได้แล้ว ก็คือ ระดมความรู้ 1. ต้องมีหัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า 2. ต้องรู้จักเครื่องมือในการสืบค้นสารสนเทศ OPAC GOOGLE ฯลฯ 3 รวบรวมสารสนเทศเกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน 4. เตรียมวางโครงเรื่อง 5. วางโครงเรื่อง 17 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 18. การค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง  ถ้าค้นจาก OPAC จะได้ ...  มีหัวข้อเรื่องที่จะค้น  ต้องคิดคาเพื่อนาไปใช้สืบค้น  ต้องเป็นคาที่สั้น กะทัดรัด ชัดเจน  คาที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทา  คาที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทา  คาที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทา  คาที่ครอบคลุมเรื่องที่ต้องการทา 18 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 19. การคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นคว้า ต้องการทารายงาน เรื่อง มลพิษของคนเมืองหลวง 1. คาที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทา เช่น มลพิษ 2. คาที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทา เช่น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 3. คาที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทา เช่น อากาศเสีย ; น้าเสีย 4. คาที่ครอบคลุมเรื่องที่ต้องการทา เช่น สาธารณสุข ; อนามัย สิ่งแวดล้อม 19 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 20. การคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะใช้ค้นคว้า ต้องการทารายงาน เรื่อง การเลี้ยงโคนมในภาคใต้ 1. คาที่ตรงตามเรื่องที่ต้องการทา เช่น โคนม 2. คาที่ใกล้เคียงกับเรื่องที่ต้องการทา เช่น โคกระบือ 3. คาที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการทา เช่น โคนม -- การเลี้ยง 4. คาที่ครอบคลุมเรื่องที่ต้องการทา เช่น ปศุสัตว์ ; ฟาร์มโคนม ; อุตสาหกรรมนมเนย 20 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 21. การสารวจและรวบรวมแหล่งข้อมูล  เป็นการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานในการเขียนเรื่อง เพื่อดูว่ามี ใครเคยเขียนเรื่องราวเหล่านั้นไว้บ้าง และมีข้อมูลเพียง พอที่จะทารายงานหรือไม่   รวบรวมข้อมูลจากเครื่องมือสืบค้น  เลือกข้อมูล  การอ่านเบื้องต้น หาแนวคิด ขอบเขต รวบรวมหัวข้อเรื่อง คัดเลือกเอกสาร 21 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 22. ต้องรู้จักเครื่องมือในการสืบค้นสารนิเทศ WebOPAC ช่วยให้ผู้ใช้ สืบค้นข้อมูล หนังสือ บทความวารสาร ที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ครบถ้วนและสมบูรณ์  นาหัวข้อเรื่องที่คิดไว้ ไปค้นจาก รายการหัวเรื่อง  รายการที่ต้องจด มาจากรายการ OPAC หนังสือ เลขเรียกหนังสือ เพื่อนาไปค้นหาหนังสือ รายการบรรณานุกรม เพื่อนาไปใช้เขียนบรรณานุกรม ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อหนังสือ/(พิมพ์ครั้งที).//สถานที่ ่ ////////พิมพ์:/สานักพิมพ์. 22 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 23. บทความวารสาร WebOPAC ช่วยให้ผู้ใช้ สืบค้นข้อมูล หนังสือ บทความวารสาร ที่ต้องการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ครบถ้วนและสมบูรณ์  บทความวารสาร จะให้เรื่องราว ความคิดแปลก ๆ ใหม่ ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน  รายการที่ต้องจด มาจากรายการ OPAC บทความวารสาร ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์,/เดือน).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร,/ปีท,/ ี่ ///////(ฉบับที),/หน้า/เลขหน้าบทความ. ่ 23 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 24. หนังสืออ้างอิง  พจนานุกรม ศึกษาความหมายของเรื่องที่ต้องการค้นคว้าทาให้ เข้าใจเรื่องราวที่ต้องการทารายงานได้ถูกต้อง  สารานุกรม จะให้ข้อมูลที่เป็นความรู้พื้นฐาน โดยดูว่าเรื่องที่ ต้องการค้นคว้าได้แบ่งหัวข้อเรื่องไว้อย่างไร ทาให้ทราบเค้า โครงเรื่องอย่างย่อ ๆ ทาให้สามารถกาหนดขอบเขต และหัวข้อ ในโครงเรื่องให้สัมพันธ์กันได้ ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ชื่อสารานุกรม/(เล่มที่ใช้.// ////////หน้า/เลขหน้าบทความ).//สถานที่พิมพ์:/สานักพิมพ์. 24 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 25. สารสนเทศอื่น ๆ  จุลสาร กฤตภาค รวมทั้งโสตทัศนวัสดุ  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อพบข้อมูล หรือ บทความไม่ว่าจะเป็นจาก หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สารานุกรม ฐานข้อมูล ฯลฯ ที่คิดว่ามีเนื้อหาตรงหรือเกี่ยวข้อง ให้จดรายละเอียด ตามแบบบรรณานุกรม เพื่อนาไปใช้สืบค้นข้อมูล ต่อไป 25 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 26. วิธีเลือกข้อมูล  คุณวุฒิของผู้แต่ง เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ หรือมี ประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ  คุณค่าของเอกสาร เลือกฉบับพิมพ์ล่าสุด หรือแหล่งต้นตอ  ความทันสมัยและน่าเชื่อถือ ทั้งเนื้อหาข้อมูลและสถิติ เป็น ปัจจุบัน ไม่ล้าหลัง และบอกแหล่งที่มาซึ่งเชื่อถือได้ 26 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 27. การอ่านเบื้องต้น น. 267  เป็นการอ่านเอกสารที่รวบรวมมาได้อย่างคร่าว ๆ เพื่อหาหัวข้อ เรื่องและเนื้อหาที่ต้องการจากเอกสาร ว่ามีหัวข้อที่น่าจะใช้เป็น โครงเรื่อง หรือไม่ ให้ดูจาก  คานา  สารบัญ  ดรรชนีท้ายเล่มของหนังสือนั้น ๆ  ใช้เครื่องมือช่วยค้น  คัดเลือกเอกสารที่ต้องการ และจดบันทึกหัวข้อเรื่องไว้เพื่อวาง โครงเรื่อง 27 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 28. โครงเรื่อง  เค้าโครงเรื่องงานเขียน เปรียบเสมือนพิมพ์เขียว ของการ ก่อสร้าง  แนวคิดหรือหัวข้อสาคัญ  แนวทางเก็บรวบรวมข้อมูล  ช่วยให้รายงานมีเอกภาพ สารัตถภาพ และ สัมพันธภาพ  ช่วยเน้นย้าประเด็นสาคัญได้อย่างเหมาะสมและมีเนื้อหาได้ สัดส่วน ไม่ให้”ข้อมูลพาไป”  ช่วยให้เนื้อหาครบถ้วน สมบูรณ์ตามหัวข้อขอบเขต ประเด็น สาคัญที่กาหนด  ช่วยให้รายงานมีความน่าอ่าน เข้าใจง่าย เพราะจัดความรู้ ความคิด อย่างเป็นระบบ 28 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 29. วางโครงเรื่อง  เลือกหัวข้อเรื่องที่เหมาะสมจะใช้เป็นโครงเรื่องจากที่จดไว้  จัดกลุ่มหัวข้อที่เลือกแล้วให้เป็นหมวดหมู่ สัมพันธ์กัน  ปรับหัวข้อเรื่องที่เลือก และจัดกลุ่มให้เหมาะสม  เรียงลาดับก่อนหลังตามความสาคัญ  รวมกลุ่มหัวข้อเรื่องเป็นหมวดหมู่  ใช้รูปแบบหัวข้อเรื่องเดียวกันโดยตลอด  ปรับชื่อรายงานให้ สัมพันธ์ สอดคล้องกับโครงเรื่อง 29 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 30. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร นิตยา มหาผล. (2538). มลพิษทางอากาศ. ใน สารานุกรมไทย สาหรับเยาวชน (พิมพ์ครั้งที่ 4). (เล่มที่ 15. หน้า 213-242). กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน.  ผลของการเปลี่ยนแปลงของสารมลพิษ  ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อร่างกายคนและสัตว์  ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อพืช  แหล่งกาเนิดของมลพิษในอากาศ  การควบคุมก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน  การควบคุมมลพิษจากการอุตสาหกรรม  การควบคุมมลพิษที่เป็นฝุ่นละออง  การควบคุมสารมลพิษที่เป็นก๊าซ  การควบคุมและป้องกันภาวะมลพิษ 30 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 31. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร 304.2 พัฒนา มูลพฤกษ์. (2546). อนามัยสิ่งแวดล้อม (พิมพ์ พ532อ ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ: ซิกม่า ดีไซน์ กราฟฟิก.  ความสาคัญของอากาศ  แหล่งกาเนิดของสารพิษทางอากาศ  ที่มนุษย์สร้าง  โดยธรรมชาติ  ประเภทของสารเจือปนในอากาศ  ผลเสียของการเกิดมลพิษทางอากาศ  การควบคุมและป้องกันมลพิษทางอากาศ  มาตรฐานคุณภาพอากาศ 31 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 32. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร 363.7392 นพภาพร พานิช และวัลภา สอนดี. (2547). ตารา น178ต ระบบบาบัดมลพิษอากาศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับมลพิษอากาศ ประเภทของแหล่งกาเนิดสารมลพิษอากาศ  แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ  แหล่งกาเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์ ประเภทของสารมลพิษอากาศ ผลกระทบของสารมลพิษอากาศ สถานการณ์มลพิษอากาศในประเทศไทย กฎหมายมลพิษจากอุตสาหกรรม การควบคุมฝุ่นละออง 32 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 33. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสาร สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โปรแกรมวิชา วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. (2542). มลพิษทางอากาศ. ค้นเมื่อ เมษายน 14, 2549, จาก http://www.riss.ac.th/envi/air.HTML ความรู้เบื้องต้นทางด้านมลพิษทางอากาศ  ความหมายมลพิษทางอากาศ  แหล่งกาเนิดสารมลพิษทางอากาศ  ระบบภาวะมลพิษทางอากาศ (air pollution system) ปรากฏการณ์เรือนกระจก การเกิดรูรั่วของชั้นโอโซน การประเมินผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ การควบคุมบาบัด การตรวจวัดคุณภาพอากาศ 33 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 34. จัดกลุ่มหัวข้อเรื่องที่เลือก เล่มที่ 4 ความหมายมลพิษทางอากาศ เล่มที่ 1 แหล่งกาเนิดของมลพิษในอากาศ เล่มที่ 2 แหล่งกาเนิดของสารมลพิษทางอากาศ - ที่มนุษย์สร้าง - โดยธรรมชาติ เล่มที่ 3 ประเภทของแหล่งกาเนิดสารมลพิษอากาศ แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ แหล่งกาเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์ เล่มที่ 4 แหล่งกาเนิดสารมลพิษทางอากาศ เล่มที่ 1 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสารมลพิษ ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อร่างกายคนและสัตว์ ผลกระทบของสารมลพิษที่มีต่อพืช เล่มที่ 2 ผลเสียของการเกิดมลพิษทางอากาศ เล่มที่ 3 ผลกระทบของสารมลพิษอากาศ 34 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 35. ปรับหัวข้อเรื่องที่เลือกและจัดกลุ่มให้เหมาะสม 1. ความหมายของมลภาวะทางอากาศ 2. แหล่งกาเนิดของสารมลภาวะทางอากาศ 2.1 แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ 2.2 แหล่งกาเนิดที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์ 35 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 36. โครงเรื่อง: มลภาวะทางอากาศของกรุงเทพมหานคร 1. ความหมายของมลภาวะทางอากาศ (4) 2. แหล่งกาเนิดของสารมลภาวะทางอากาศ (1,2,3,4) 2.1 มลภาวะจากยานยนต์ 2.2 มลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรม 2.3 มลภาวะจากธรรมชาติ 3. ผลกระทบของมลภาวะทางอากาศ (1,2,3) 3.1 ต่อคน 3.2 ต่อสัตว์ 3.3 ต่อพืช 4. การตรวจวัดและสภาพมลภาวะทางอากาศในกรุงเทพมหานคร 5. การควบคุมและป้องกันมลภาวะทางอากาศ (1,2,3) 36 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 37. รวบรวมเอกสารเพิ่มเติม  ให้ดูข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้วว่ามีรายการใดที่ใช้ไม่ได้  ข้อมูลที่คัดเลือกแล้วครอบคลุมหัวข้อทั้งหมดและเพียง พอที่จะนามาเรียบเรียงเป็นรายงานหรือไม่  หากพบว่าบางหัวข้อยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ  สืบค้นสารสนเทศเพิ่มเติม  คัดเลือกเอกสารเพิ่มเติมให้ตรงตามโครงเรื่องที่วางไว้ทุก หัวข้อ เพื่อให้ได้ข้อมูลครอบคลุมทุกหัวข้อ 37 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 38. ตัวอย่างโครงเรื่อง โรคอ้วน 1. อยากอ้วน 2. โรคอ้วน 3. ปัญหาคนอ้วน 4. สาเหตุของความร้อน 5. ความอ้วนเป็นโรค 6. จะทราบได้อย่างไรว่าท่านอ้วนหรือไม่ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับสิค่ะ 38 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 39. ตัวอย่างโครงเรื่อง โรคอ้วน ความอ้วน 1. ความหมายของความอ้วน 2. สาเหตุของความอ้วน โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว 2.1 ความผิดปกติของร่างกาย ดีหรือยังค่ะ 2.2 อาหารและนิสัยการรับประทานอาหาร 3. โทษของความอ้วน 4. การลดความอ้วน 4.1 ลดด้วยวิธีบริหารร่างกาย 4.2 ลดด้วยวิธีควบคุมอาหาร 4.3 ลดด้วยวิธีใช้ยาลดความอ้วน 39 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 40. ตัวอย่างโครงเรื่อง: ผลไม้ 1. วิถีการตลาดผลไม้ของไทย 2. การบรรจุหีบห่อ 3. หลักการเลือกซื้อผลไม้ 4. การเก็บรักษาผลไม้ 5. คุณภาพของผลไม้ 6. ประโยชน์ของผลไม้ไนทางโภชนาการ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับสิค่ะ 40 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 41. ตัวอย่างโครงเรื่อง: ผลไม้ โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว ดีหรือยังค่ะ ผลไม้ไทย 1. ความอุดมสมบูรณ์ของผลไม้ไทย 2. คุณค่าของผลไม้ไทย 2.1 คุณค่าด้านเศรษฐกิจ 2.2 คุณค่าด้านโภชนาการ 3. การเลือกซื้อผลไม้ 4. การเก็บรักษาผลไม้ 41 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 42. ตย.โครงเรื่อง: การเลี้ยงสุนัข 1. สุนัขในบ้าน 2. ประเภทของสุนัข 3. ลักษณะหลังอานของสุนัขที่นิยมเลี้ยง 4. ลักษณะของสุนัขพันธุ์ปักกิ่ง 5. โรคต่าง ๆ ในสุนัข 6. ปัญหาสาคัญในการเลี้ยงสุนัข 7. เราคุมกาเนิดสุนัขกันอย่างไร 8. ความรับผิดชอบของเจ้าของผู้เลี้ยงสุนัข โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับสิค่ะ 42 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 43. ตย.โครงเรื่อง: การเลี้ยงสุนัข 1. ประเภทของสุนัข 1.1 สุนัขเพื่อนเล่น 1.2 สุนัขเฝ้าบ้าน โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว 1.3 สุนัขใช้งาน ดีหรือยังค่ะ 2. ลักษณะของสุนัขบางพันธุ์ 2.1 พันธุ์ไทยหลังอาน 2.2 พันธุ์ปักกิ่ง ฯลฯ 3. ปัญหาจากการเลี้ยงสุนัข 3.1 อาหารและการบารุงรักษา 3.2 การฝึกสุนัข 3.3 โรคของสุนัขและการป้องกันรักษา 3.4 การคุมกาเนิดและการบารุงพันธุ์สุนัข 43 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 44. ตัวอย่างโครงเรื่อง: หนังสือพิมพ์ 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ 2. หนังสือพิมพ์กับการพัฒนาประเทศ 3. หนังสือพิมพ์ของเรา 4. หนังสือพิมพ์คืออะไร โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับสิค่ะ 44 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 45. ตัวอย่างโครงเรื่อง: หนังสือพิมพ์ 1. ความหมายของหนังสือพิมพ์ 2. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ 3. หนังสือพิมพ์ของเรา 4. หนังสือพิมพ์กับการพัฒนาประเทศ โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว ดีหรือยังค่ะ 45 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 46. ตัวอย่างโครงเรื่อง: วัตถุมีพิษ 1. พิษภัยจากวัตถุมีพิษทางการเษตร 2. อันตรายจากการใช้วัตถุมีพิษในการปราบศัตรูพืช 3. แนวทางการควบคุมเคมีภัณฑ์อันตราย 4. ผู้ป่วยหมดสติจากการได้รับสารพิษ 5. โรคอันเนื่องจากการประกอบอาชีพจากสารเคมี 6. สานักงานวัตถุมีพิษ โครงเรื่องนี้ผิดอย่างไร ลองปรับสิค่ะ 46 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 47. ตัวอย่างโครงเรื่อง: วัตถุมีพิษ 1. ความหมายของวัตถุมีพิษ โครงเรื่องนี้แก้ไขแล้ว 2. ประเภทของวัสดุ ดีหรือยังค่ะ 3. อันตรายจากวัตถุมีพิษ 3.1 มลภาวะของสิ่งแวดล้อม 3.2 โรคอันเนื่องจากการสะสมของวัตถุมีพิษ 3.3 อาการอันเนื่องจากการได้รับวัตถุมีพิษ 4. การควบคุมวัตถุมีพิษ 47 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 48. สรุปการวางโครงเรื่องรายงาน 1. จะเขียนเรื่องใด ให้หาความรู้ในเรื่องนั้นก่อนวางโครงเรื่อง เพื่อเป็น การปูพื้นความรู้ 2. ชื่อเรื่อง ตั้งให้มีขอบเขตของเนื้อหาพอเหมาะไม่แคบหรือกว้าง เกินไป 3. เลือกสรรประเด็นหรือสาระสาคัญของเรื่องตั้งเป็นหัวข้อของโครง เรื่อง 4. การให้เลขกากับหัวข้อของโครงเรื่อง ใช้ระบบเดียวกันโดยตลอด 5. ตาแหน่งของหัวข้อเรื่อง : 5.1 ชื่อเรื่องอยู่กลางหัวกระดาษ 5.2 หัวข้อใหญ่อยู่ชิดเส้นขอบหน้า (เส้นคั่นหน้า) 5.3 หัวข้อรองย่อหน้า 5-7 ตัวอักษร 5.4 หัวข้อยิ่งย่อย ย่อหน้ายิ่งลึก 48 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 49. การรวบรวมข้อมูลและเนื้อหา รูปแบบของบัตรบันทึก 1. หัวข้อเรื่อง เป็นสิ่งแรกที่จะต้องบันทึก ใช้ตามหัวข้อในโครงเรื่อง 2. เอกสารที่ใช้ค้นคว้า ดูว่าใช้เอกสารประเภทใด ให้ลงรายการ บรรณานุกรม ตามแบบฟอร์มของเอกสารประเภทนั้น 3. หน้าที่ค้นคว้า หน้าที่มีข้อมูลของหัวข้อเรื่องที่บันทึกปรากฏอยู่ 4. เนื้อหาสาระที่บันทึก เก็บความจากเอกสาร ตรงหัวข้อเรื่อง หรือไม่ มีแก่นและส่วนขยายแก่นครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่ หาก มีความคิดเห็น แง่คิด ข้อสังเกต หรือ พบสิ่งขาดตกบกพร่องใด ๆ ควรบันทึกแทรกเสริมไว้ด้วย และทาเครื่องหมายให้ทราบว่าเป็น ของผู้บันทึกเอง 5. ชื่อห้องสมุดที่ค้นคว้า 49 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 50. การรวบรวมข้อมูลและเนื้อหา  บัตรบันทึกแผ่นหนึ่ง ๆ ใช้บันทึกเพียงหัวข้อเรื่องเดียวเท่านั้น  หัวข้อเรื่องเดียวกัน ถ้าบันทึกจากเอกสารต่างเล่มกัน ให้ใช้บัตร บันทึกแยกแผ่นกัน  เอกสารเล่มเดียวกัน แต่บันทึกต่างหัวข้อเรื่องกัน ให้แยกบัตร บันทึกกัน  ถ้าบัตรบันทึกมีเนื้อที่ไม่พอ อาจใช้หน้าหลังโดยคว่าบัตรกลับหัว ลงการบันทึกหน้าหลังจะกลับหัวกับด้านหน้าเพื่อให้สะดวกเวลา ใช้งาน  หากมีความคิดเห็น ข้อสังเกต หรือข้อวิเคราะห์วิจารณ์ เกิดขึ้นใน ระหว่างการเก็บความ ก็ควรบันทึกเสริมไว้ท้ายบัตรแผ่นนั้นด้วย แต่ควรทาหมายเหตุให้ทราบว่าเป็นความคิดเห็นของผู้บันทึกเอง 50 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 51. โครงสร้างของบัตรบันทึกสารสนเทศ หัวข้อเรื่อง เอกสารที่ใช้ค้นคว้า (ลงรายการแบบบรรณานุกรม) (ชื่อห้องสมุดที่คนคว้า) ้ หน้าที่ค้นคว้า สารสนเทศที่บันทึกตามหัวข้อเรื่องที่กาหนด 51 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 52. แบบบรรณานุกรม หนังสือ: ผูแต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อหนังสือ (พิมพ์ครั้งที). จังหวัด: ้ ่ ชื่อสานักพิมพ์/โรงพิมพ์. สารานุกรม: ผูแต่ง. (ปีพิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อสารานุกรม. ้ (เล่มที่ใช้. หน้า). จังหวัด: ชื่อสานักพิมพ์/โรง พิมพ์. วารสาร: ผูแต่ง. (ปีพิมพ์, เดือน). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีท, ้ ี่ (ฉบับที), หน้า. ่ หนังสือพิมพ์: ผูแต่ง. (ปีพิมพ์, เดือน วันที่). ชื่อบทความ. ชื่อ ้ หนังสือพิมพ์. เลขหน้า. 52 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 53. ตัวอย่างบัตรบันทึกสารสนเทศ : หนังสือ โรคของปลาสวยงาม 639.3 สุภาพร อารีกิจ. (2542). การเลี้ยงและเพาะพันธุ์ปลาสวยงาม. ส838ก สกลนคร: สถาบันราชภัฏสกลนคร. (มรน.) หน้า 123-130 (ส่วนที่ใช้บันทึกสารสนเทศตามหัวเรื่องที่กาหนดไว้)………………….… 53 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 54. แบบฝึกหัดที่ 1 แบบฝึกหัดนี้ว่าด้วยการเลือกเรื่องและวางโครงเรื่อง ให้อ่านคาสั่งและทาความเข้าใจ ให้ตลอดทั้ง 5 ข้อก่อนลงมือทา 1. ให้เลือกชื่อเรื่องเพื่อทารายงานคนละ 1 เรื่อง โดยไม่ซ้ากันเพื่อทาแบบฝึกหัด เรื่องที่เลือกนี้จะใช้ทาแบบฝึกหัดต่อไปที่ละขั้นตอนจนสาเร็จเป็นรายงานที่สมบูรณ์ และถือเป็นผลงานส่วนหนึ่งของรายวิชานี้ ซึ่งจะต้องส่งเพื่อรับการประเมินผล 2. ให้รวบรวมรายชื่อเอกสารที่เกี่ยวกับเรื่องที่เลือกไว้เพื่อใช้ค้นคว้าต่อไป 3. ให้อ่านเอกสารที่รวบรวมนั้น เพื่อสารวจขอบเขตและเลือกสรรหัวข้อเรื่องที่ เหมาะสมมาเป็นโครงเรื่องของรายงาน 4. ให้เขียนโครงเรื่องของรายงานและส่ง เพื่อรับการตรวจแก้ 5. ให้รับโครงเรื่องรายงานคืนเพื่อแก้ไข (ถ้ามีข้อบกพร่อง) และรอการดาเนินงานใน ขั้นต่อไป 54 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 55. ตัวอย่างงานที่ น.ศ. ต้องส่ง 1. ชื่อรายงาน การเลี้ยงปลาสวยงามเพื่อการค้า 2. คาที่ใช้สืบค้น 2.1 คาที่ตรงกับเรื่อง : ปลาสวยงาม ; ปลาสวยงาม--การเลี้ยง ปลาสวยงาม--การค้า 2.2 คาที่ใกล้เคียงกับเรื่อง : ปลาตู้--การเลี้ยง 2.3 คาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง : ชื่อเฉพาะของปลา เช่น ปลาหมอสี ; ปลาการ์ตูน ; ปลาปอมปาดัวร์ 55 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 56. ตัวอย่างงานที่ น.ศ. ต้องส่ง 1. ชื่อรายงาน การใช้ก๊าซหุงต้ม 2. คาที่ใช้สืบค้น 2.1 คาที่ตรงกับเรื่อง : ก๊าซหุงต้ม ; แอลพีจี 2.2 คาที่ใกล้เคียงกับเรื่อง : ก๊าซปิโตรเลียมอัดเหลว 2.3 คาที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง : เชื้อเพลิง ; พลังงาน 56 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 57. 3. แหล่งข้อมูลเรื่องนี้ที่รวบรวมได้ 3.1 จากหนังสือ ประเสริฐ เทียนนิมิต, ขวัญชัย สิน ทิพย์สมบูรณ์ และปานเพชร ชินินทร (2547). เชื้อเพลิงและสารหล่อลื่น. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. 3.2 จากบทความวารสาร ฯลฯ.... 57 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 58. 4. หัวข้อเรื่องที่ค้นได้จากเอกสารในข้อ 3. เล่มที่ 1 เล่มที่ 2  ประวัติความเป็นมา  การควบคุมเพลิง  ประโยชน์ในการนาก๊าซหุงต้ม  การขนส่งถังก๊าซ ไปใช้  วิธีตรวจสอบน้าหนักแต่ละถัง  ในครัวเรือน  อันตรายจากการใช้ก๊าซหุงต้ม  ในโรงงานอุตสาหกรรม  วิธีใช้การหุงต้มอย่างถูกวิธี  ในยานพาหนะ  การซื้อ  ความปลอดภัย  การใช้  การเก็บรักษาและตั้งถัง 58 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 59. 5. โครงเรื่องของรายงาน การใช้ก๊าซหุงต้ม 1. ความเป็นมาของก๊าซหุงต้ม 2. ข้อดีและข้อเสียของก๊าซหุงต้ม 3. วิธีใช้ก๊าซหุงต้มอย่างถูกต้อง 3.1 ตรวจสอบก่อนซื้อ 3.2 ขั้นตอนในการใช้ 3.3 การดูแลรักษา 4. อันตรายและการควบคุมความปลอดภัยจากการใช้ก๊าซหุงต้ม 59 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • 60. อย่าลืม ส่งงานนะจ๊ะ 60 : จัดทาโดย รศ.เบญจรัตน์ สีทองสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม