SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
1.ความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน
สารสนเทศ
 การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval – ISR) มีการ
 กาหนดความหมายไว้หลากหลาย โดยแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ การจัดเก็บสารสนเทศ (Information storage)
และการค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)
 การจัดเก็บสารสนเทศเป็นคาที่เกิดขึ้นควบคู่กับสถาบันบริการสารสนเทศในอดีต มีความหมาย
ครอบคลุมการจัดทาโครงสร้างและควบคุมบรรณานุกรม เป็นการจัดระบบโดยวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ จัด
หมวดหมู่และทาบัตรรายการ บรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป ควบคุมบรรณานุกรม การค้นคืนสารสนเทศในอดีต
เป็นงานบริการช่วยผู้ใช้ค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ (information search) หรือ บอกให้ผู้ใช้รู้แหล่งจัดเก็บสารสนเทศ
งานค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นงานค้นหาและช่วยผู้ใช้ค้น แนะนาและสอนผู้ใช้ อานวยความสะดวกต่างๆ ให้ผู้ใช้ได้รับ
ทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ
2. การถ่ายโอนสารสนเทศ
 การจัดเก็บและการสื่อสารความรู้เกิดขึ้นตั้งแต่มนุษย์เริ่มสร้างสั่งสมและสามารถขีดเขียนเพื่อบันทึก
ความนึกคิด ประสบการณ์และความรู้ลงวัสดุตามธรรมชาติชนิดต่างๆ ไว้เป็นหลักฐานและพัฒนาจนถึง
การบันทึกดิบจาทับโดยคอมพิวเตอร์ เพื่อการค้นหาความรู้นั้นและนาไปใช้ประโยชน์ต่างๆ สถาบัน
บริการสารสนเทศโดยเฉพาะห้องสมุดได้ชื่อว่าเป็นแหล่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสือ มี
ประวัติยาวนานควบคู่กับพัฒนาการด้านการเขียนและการบันทึกข้อมูลประเภทต่างๆ ราวคริสต์ศตวรรษ
ที่ 15 เมื่อโยฮั่น เคนเบอร์ (Johannes Gutenberg) ชาวเยอรมันได้คิดแท่นพิมพ์ขึ้นการพิมพ์หนังสือทาให้
การสื่อสารถ่ายโดนความรู้เผยแพร่กว้างขวาง
2.1 การผลิตและเผยแพร่ ทรัพยากร
สารสนเทศปฐมภูมิ
 นักวิจัย นักวิชาการ หรือนักวิทยา
 ศาสตร์เป็นผู้ที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการพัฒนางานวิจัย ความรู้ ประดิษฐ์คิดค้น จาเป็นต้องใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษา
ค้นคว้าและบางคนเป็นผู้ผลิตสารสนเทศ งานของผู้ผลิตสารสนเทศ คือ อธิบายประสบการณ์ รายงานผลการวิจัย ความคิด
ออกมาในรูปแบบรายงานวิชาการ รายงานการวิจัย หนังสือตารา เป็นสารสนเทศปฐมภูมิในระบบถ่ายโอนสารสนเทศ ผู้เขียน
ผลิตงานเขียนจัดส่งให้สานักพิมพ์ตีพิมพ์เผยแพร่ รูปแบบสารสนเทศปฐมภูมิที่สานักพิมพ์ผลิต ได้แก่ หนังสือ วารสาร
รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ สิทธิบัตร เป็นต้น การเผยแพร่สารสนเทศปฐมภูมิสู่ผู้ใช้ทาได้2 ทาง คือ ผู้ใช้รายบุคคลที่ซื้อ
แสวงหาตามความสนใจ และสถาบันบริการสารสนเทศจัดหาโดยการบอกรับ จัดซื้อ หรือแลกเปลี่ยน นอกจากนี้พัฒนาการ
ของเทคโนโลยีการคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ผู้เขียนสามารถเผยแพร่งานเขียนได้ด้วยตนเองทางเวิลด์ไวด์เว็ป(World
Wide Web) ผ่านทางอินเทอร์เน็ต(Internet)
2.2 สถาบันบริการสารสนเทศ
 สารสนเทศ มีหลายรูปแบบ อาทิ ห้องสมุด (library) ศูนย์เอกสารหรือศูนย์สารสนเทศ (information
center) ศูนย์ข้อมูล (data center) หอจดหมายเหตุ (archive) เป็นต้น สถาบันบริการสารสนเทศประเภท
ต่างๆ มีหน้าที่หลักคล้ายคลึงกัน คือจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ จัดเก็บ จัดหมวดหมู่ ควบคุม
บรรณานุกรม ผลิตและเผยแพร่สิ่งพิมพ์ทุติยภูมิ เพื่อบริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้แต่มักจะเน้นการทางานที่
แตกต่างกันตามประเภทของสถาบันในด้านทรัพยากรที่จัดหาหรือขอบเขตการบริการ
2.3 ผู้ใช้ (USER) หรือกลุ่มผู้ใช้
 การถ่ายโอนสารสนเทศเกิดขึ้นเมื่อผู้ใช้ศึกษา ใช้เอกสารและได้รับความรู้ ผนวกความรู้เข้ากับความคิด
ประสบการณ์ และความรู้ของผู้ใช้ปรับเปลี่ยนไปกลุ่มผู้ใช้ได้รับสารสนเทศทั้งจากการเผยแพร่สารสนเทศ
ระดับปฐมภูมิจากผู้เขียนโดยตรงและจากสถาบันบริการสารสนเทศ ระดับการเผยแพร่ และความเร็วในการ
ได้รับเพื่อการใช้เอกสารเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการจัดบริการของสถาบันบริการสารสนเทศและพฤติกรรม
ในการแสวงหา ค้นหาทรัพยากรสารสนเทศที่แตกต่างกันของผู้ใช้ ในกระบวนการถ่ายโอนสารสนเทศ
ช่องทางที่เป็นทางการผู้ใช้อาจได้รับสารสนเทศที่สามารถใช้ประโยชน์ในงานวิจัย งานวิชาการได้ซึ่งนาไปสู่
การทาวิจัยและสร้างผลงานใหม่ขึ้นเผยแพร่จึงเกิดเป็นวงจรถ่ายโอนสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง
3. ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืน
สารสนเทศ
 สังคมสารสนเทศ (information age) เกี่ยวข้องโดยตรงกับพัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารในการ
จัดบริการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จากภาวการณ์เพิ่มปริมาณสารสนเทศอย่างรวดเร็วท่วมท้น(information explosion)
ซึ่งเป็นผลของการทุ่มเทวิจัยและพัฒนาความก้าวหน้าและขยายตัวทางการศึกษาในระดับสูง มีสารสนเทศผลิตออกมาหลาย
สาขาวิชาทั้งสาขาวิชาใหญ่และสาขาวิชาย่อยวิชาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างมากมายหลายรูปแบบ
อาทิ ไมโครฟิล์ม ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง วี้ดทัศน์ และสื่อคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องใช้เครื่องมือในการเข้าถึง อ่านและใช้
สารสนเทศสารสนเทศที่ผลิตจากแหล่งต่างๆ กันประเทศในยุโรป อเมริกา เอเชียใช้ภาษาต่างๆ กัน เป็นอุปสรรคแก่ผู้ใช้
สารสนเทศเรื่องเดียวกันมีการผลิตซ้าซ้อนหลายรูปแบบ เป็นมลพิษทางสารสนเทศ เหล่านี้เป็นปัญหาในการเข้าถึงและเข้าใช้
สารสนเทศ การเข้าถึงสารสนเทศที่ดีมีคุณภาพจาเป็นต้องมีการคัดเลือกดาเนินการ มีการลงทุนเสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นหน้าที่ของ
สถาบันบริการสารสนเทศ
3.1 ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืน
สารสนเทศต่อสถาบันบริการสรสนเทศ
 เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรสารสนเทศกับ
 ผู้ต้องการใช้สารสนเทศ
 ก่อให้เกิดการส่งเสริมในการถ่ายโอนและไหลของสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประ
 สิทธิภาพระหว่างผู้ต้องการใช้สารสนเทศกับแหล่งทรัพยากรสารสนเทศ และมีบทบาทสาคัญในการตอบสนองความต้องการใช้สารสนเทศ
 เป็นการกลั่นกรองสารสนเทศในช่องทางถ่ายโอนสารสนเทศที่เป็นทางการ ซึ่ง
 ช่วยคัดเลือกตรวจสอบทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ได้รับและใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
 เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงระบบบริการต่างๆ และระบบงานของสถาบันบริการสาร
 สนเทศ เช่น ระบบยืมคืนสารสนเทศ ระบบจัดทาสาเนาเอกสารเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยการค้นคืนตรงตามความต้องการและ
 ทันต่อเวลา เพื่อการใช้ประโยชน์ต่างๆ ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถาบันบริการสารสนเทศ
3.2 ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืน
สารสนเทศต่อผู้ใช้
 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ทั้งภายในสถาบัน
 บริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรทั่วโลกได้อย่างเสรี ภายใต้ข้อกาหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของการใช้สารสนเทศ
 ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้ประเภทต่างๆ โดยจัดให้มีวิธีการและเครื่องมืออานวยความ
 สะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืนได้ด้วยตนเองหรือโดยผ่ายผู้ให้บริการ ซึ่งมีหน้าที่ช่วยเหลือแนะนาและค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้
 มีการพัฒนารูปแบบการดาเนินงานจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ โดยเฉพาะ
 ในยุคที่มีความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้นคืนสารสนเทศ ทั้งนี้เพื่อเกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้
 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการเพื่อนาไปใช้
 ประโยชน์ต่างๆ ทั้งในชีวิตประจาวัน ในการศึกษาค้นคว้าวิจัยในการปฏิบัติงาน บริหารงาน หรือตอบสนองความสนใจต่างๆ
 สนับสนุนผู้ใช้ให้ สามารถประเมิน แยกแยะ ทาความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิด
 ของสารสนเทศเพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา ติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียนแบบพึ่งตนเองตลอดไป
4. ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินการค้นหาสาระสนเทศ
 ทฤษฎีพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับระบบจัดเก็บและค้นคืน
สารสนเทศและตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ แนวคิดพื้นฐานพิจารณาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในเชิงระบบ
กล่าวถึงองค์ประกอบสาคัญของระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศ ฐานข้อมูล และผู้ใช้ ตัว
แบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ การจัดเก็บและการค้นคืนเป็นระบบในเชิงจุลภาคคือระบบค้นคืน
สารสนเทศ ประกอบด้วย ข้อมูลนาเข้า การประมวลผล ผลลัพธ์ และข้อมูลป้อนกลับ ทาหน้าที่สาคัญคือวิเคราะห์เนื้อหา
เอกสาร วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้และจับคู่โดยมีระบบย่อย 6 ระบบร่วมกันทางานต่างๆ ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
เป็นตัวแบบที่อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศทั้งในเชิงที่มา ได้แก่ ความต้องการสารสนเทศ และในเชิงพฤติกรรมคือกิจกรรม
ต่างๆ คือการค้นหา การถ่ายโอน และการใช้สารสนเทศ
5. เทคโนโลยี และมาตรฐานในการจัดเก็บ
และการค้นคืนสารสนเทศ
 เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูลและ
การสื่อสาร จาแนกเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ และแสดงผล เทคโนโลยีในการค้นคืน
สารสนเทศเกี่ยวกับดรรชนีคาค้น เทคนิคการค้นคืน และการเลือกฐานข้อมูล เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ
การค้นคืนสารสนเทศการประยุกต์เทคโนโลยีไฮปาร์กมีเดียในการค้นคืนสารสนเทศ
6. การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ
 การจัดทาโครงสร้างและควบคุมทรัพยากรสารสนเทศเป็นเรื่องการวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ
จัดทาสาระสังเขป การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อกาหนดตัวแทน
สาระ และจัดทาโครงสร้างระบบจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการค้นหา ค้นคืน เกี่ยวข้องกับแนวคิด การ
เปรียบเทียบระบบการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่สาคัญ และแนวคิดการทารายการสารสนเทศประเภท
ต่างๆ อาทิ ข้อความ มัลติมีเดีย สื่ออิเล็กทรอนิกส์
7. ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและ
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
 ขอบเขตของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศมีผู้ใช้เป็นองค์ประกอบสาคัญ ผู้ใช้จาแนกเป็นประเภทต่างๆ ตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง
ประเภท อาทิ เกณฑ์วัตถุประสงค์และเกณฑ์ทางสังคมและจิตวิทยาระบบค้นคืนสารสนเทศในยุคต้นยึดแนวคิดระบบไม่ให้ความสาคัญ
ต่อบทบาทของผู้ใช้ เมื่อการบริการสารสนเทศมีเทคโนโลยีเป็นสภาพแวดล้อมสาคัญที่ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้นักวิจัยหันมา
สนใจบทบาทของผู้ใช้การศึกษาผู้ใช้เป็นทั้งตัวผู้ใช้และพฤติกรรมการใช้มีขอบเขตกว้าง การวิจัยเกี่ยวกับผู้ใช้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่นิยม
ใช้กัน ได้แก่ สารวจโดยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การจดบันทึกประจาวัน การสัมภาษณ์/การซักถามกลุ่ม การสังเกต การใช้หลักฐาน
เอกสาร และการทดลอง การจัดบริการสารสนเทศ จาเป็นต้องเข้าใจความต้องการสารสนเทศของ
8. การค้นหาและค้นคืนสารสนเทศ
 การค้นหาและค้นคืนสารสนเทศมีพัฒนาการการค้นหาด้วยระบบมือมาเป็นค้นคืนสารสนเทศด้วย
คอมพิวเตอร์ กระบวนการค้นหาสารสนเทศมีขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่ทาความเข้าใจความต้องการของผู้ใช้
จนถึงค้นหาและพิมพ์ผลลัพธ์ กลยุทธ์ในการค้นคืนสารสนเทศที่สาคัญคือการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์
คาถาม และใช้การเทคนิคการค้นคืนใช้ศัพท์บังคับ ศัพท์ไม่ควบคุมหรือภาษาธรรมชาติ และคาสั่งที่
จาเป็นต่างๆ ตัวแบบการค้นคืนสารนเทศ เช่น ตัวแบบเลียน ตัวแบบความเป็นไปได้ และตัวแบบอื่นๆ
9. พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืน
สารสนเทศก่อนทศวรรษ 1960
 9.1 การจัดเก็บและการค้นคืนสารนเทศในระยะแรกเริ่ม
 อักขระมีบทบาทในการจัดเก็บและสื่อสารความรู้สารสนเทศในลักษณะเป็นตัวแทน รูปแบบภาษาต่างๆ
มากมายที่เข้าใจได้ง่าย ใช้แสดงแนวความคิดเป็นภาษาเขียนที่เรียนรู้และใช้ได้สะดวกทั้งนี้เพราะผ่านการ
ปรับปรุงแก้ไขอยู่เสมอให้ใช้ได้อย่างสมบูรณ์แบบภาษาเขียนผูกพันกับสื่อบันทึกความรู้ตามความจาเป็นของ
สังคมและสภาพแวดล้อมของมนุษย์เริ่มจากภาพวาดตามผนังถ้าสี่หมื่นปีมาแล้วและตัวอักษรบนหิน แผ่นดิน
เหนียว หนังสัตว์ไม้กระดาษ มาถึง 150 ปีที่ผ่านมา สื่อบันทึกเสียง ภาพ สื่อคอมพิวเตอร์ถูกใช้ประสม
ประสานกันโดยพัฒนาอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพขยายขอบเขตการสื่อสารความรู้ในลักษณะราตการณ์ภาพ
ทั้งภาพถ่าย ภาพยนตร์ วี้ดทัศน์เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน เป็นโลกของการจัดเก็บและสื่อสารด้วยภาพ
9.2 การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุค
เทคโนโลยีระยะแรก
 9.2.1 เทคโนโลยีไมโครกราฟิก(micrographic technology) มีบทบาทสาคัญในการผลิต จัดเก็บ ค้น
คืน และเผยแพร่สารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นประมาณ ค.ศ.1839 ซึ่งใช้หลักการของการถ่ายภาพ
ย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อบันทึกลงบนแผ่นฟิล์มโปร่งแสงหรือทึบแสง ซึ่งมีรูปลักษณ์ต่างๆ เรียนว่า
วัสดุย่อส่วนหรือไมโต้ฟอร์ม (microform) ประมาณ ค.ศ.1925 จอห์น แมคคาร์ล(George McCarthy) ได้
นาไมโครฟิล์มมาใช้ในการแก้ปัญหาการจัดเก็บเอกสารธุรกิจ และได้รับการว่าจ้างจากบริษัทธุรกิจให้
ผลิตเครื่องออกขายในสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นจุดของความเจริญก้าวหน้าของธุรกิจไมโครกราฟิก
10. พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืน
สารสนเทศตั้งแต่ทศวรรษ 1960
 10.1 การวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 องค์การบริหารอากาศยานและอวกาศแห่งชาติ (Nation Aeronautics and Space Admin-i
– NASA) ต้องการใช้ข้อมูลจานวนมากจึงให้เงินทุนสนับสนุนการวิจัยที่สามารถนามาใช้ในการจัดเก็บ
และการค้นคืนสารสนเทศในรูปแบบเอกสารงานวิจัยได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น การพัฒนา
อรรถาภิธานด้านวิศวเคมี (Chemical Engineering Thesaurus)
 10.2 การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่
 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัฒนาอย่างรวดเร็วใน ค.ศ.1970 มีการนาระบบอัตโนมัติมาใช้ใน
งานห้องสมุดและเทคโนโลยีโทรคมนาคมมาใช้ทาให้เกิดระบบเครือข่ายที่เป็นประโยชน์ต่องาน
สารสนเทศความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศในระดับเขตขยายเป็นความร่วมมือระดับชาติ
และนานาชาติสร้างฐานข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการทารายการร่วมกัน (bibliographicutilities)
 10.2.1 ระบบโอซีแอลซี คือศูนย์ห้องสมุดคอมพิวเตอร์ออนไลน์ (Online Computer Library Center)
ค.ศ.1971 เริ่มต้นจากการรวมกลุ่มห้องสมุดมหาวิทยาลัยในรัฐโอไฮโอ ใช้เครื่องจักรกลทารายการโดยใช้
มาร์ค (MARC) ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หอสมุดรัฐสภาทารายการหนังสือส่งให้โอซีแอลซี จัดทา
บัตรรายการให้ห้องสมุดสมาชิก ช่วยให้ไม่ต้องทาบัตรรายการเอง โอซีแอลซีเป็นกลุ่มทางานตามแนวคิด
ในด้านความร่วมมือทาบัตรรายการหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่างๆเพื่อลดการทางานซ้าซ้อนและลดค่าใช้จ่าย
 10.2.2 อาร์คแอลไอเอ็น หรือเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดวิจัย (Research Libraries Information
Network – RLIN) ซึ่งเป็นกลุ่มห้องสมุดมหาวิทยาลัยและห้องสมุดขนาดใหญ่ของสหรัฐอเมริกาเป็นกลุ่ม
ความร่วมมือในลักษณะเดียวกับโอซีแอ้ซี เดิมคือกลุ่มห้องสมุดวิจัย หรืออาร์คแอลจี (Research Libraries
Group – RLG) มีสมาชิกที่เป็นสถาบันในกลุ่มสมาคมห้องสมุดวิจัยทาระเบียนข้อมูลด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ตั้งแต่กลางศตวรรษ 1970 ห้องสมุดเครือข่ายความร่วมมือระบบจัดหาสารสนเทศและจัดทา
บรรณานุกรมเพื่อการวิจัย เริ่มกิจกรรมโดยแปลงข้อมูลบัตรรายการเก่าเป็นรูปแบบรายการใน
คอมพิวเตอร์ และให้บริการใช้ทรัพยากรร่วมกันในระบบรายการออนไลน์เต็มรูปแบบ
 10.3 บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์
 ผู้ผลิตฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์เริ่มมาจากทั้งสานักพิมพ์ดรรชนีและวารสารสาระสังเขป
สมาคม และสถาบันที่จัดทาวรรณกรรมปฐมภูมิสาขาวิชาของสมาคมและสถาบันใช้คอมพิวเตอร์พัฒนา
ฐานข้อมูลและมีการขายหรือให้เช่าแก่ผู้ผลิต ผู้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ต่อมา การริเริ่มบริการ
ออนไลน์ในเชิงพาณิชย์เริ่มขึ้นในอเมริกา
 10.3.1 ไดอะลอก (DIALOG) เป็นระบบบริการออนไลน์ที่คิดค้าบริการ สร้างขี้นก ค.ศ.1966 ต่อมา
ใช้ชื่อว่าไดอะลอกอินฟอร์มแฟชั่น เบอร์วิธ (DIALOG information Services) และมีการขายกิจการต่อ
หลายครั้ง ระยะแรกให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์จานวนเล็กน้อย ค.ศ. 1992 มีประมาณ 380 ฐานข้อมูล
และ ค.ศ.2002 ประมาณ 600 ฐานข้อมูล ให้บริการค้นคืนฐานข้อมูลมุ่งเน้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ธุรกิจและการเงิน และเนื้อหาศาสตร์ต่างๆ ทั้งแนวกว้างและลึก รวมทั้งบริการสารสนเทศเพื่อการอ้างอิง
 10.3.2 ออบิต (ORBIT) บริษัทซอสเต็มดีเว้นอปชัน (System Development Corporation –SDC) พัฒนาระบบค้นคืน
สารสนเทศและมีการปรับเปลี่ยนเจ้าของกิจการเช่นกัน ให้บริการฐานข้อมูลสาขาวิชาการต่างๆ เน้นด้านวิทยาศาสตร์และ
อิเล็กทรอนิกส์ สิทธิบัตร บริการหลัก คือบริการค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ต่างๆ บริการสารสนเทศเฉพาะด้าน
 ผู้ผลิตฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ให้บริการฐานข้อมูลเฉพาะด้าน เช่น เฉพาะสาขาวิชาข้อมูลเฉพาะทาง เช่น หุ้น
สถิติต่างๆ บริษัทสาคัญ อาทิ เอสทีเอ็น (Scientific & Technical Information Network – STN) เน้นสารสนเทศด้าน
วิทยาศาสตร์มีดกาน้าเซ็นทรัล (Mead Data Central) ด้านกฎหมาย เชอดับบลิววิกลสัน (เมท Co.) ให้บริการฐานข้อมูล
สาขาวิชาต่างๆ รอยเตอร์ (Reuters) ให้บริการสารสนเทศทางธุรกิจ เศรษฐกิจ ข่าวต่างๆ เป็นต้น
 10.4 อินเทอร์เน็ตการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ
 ค.ศ.1990 ทิม เบอร์เบอร์-ลี (Tim Berners – Lee) และโรเวิร์ค ไคโย (Robert Cailliau) แห่ง
เฟิร์น ซึ่งเป็นสถาบันวิจัยเชิงปฏิบัติการด้านฟิสิกส์อนุภาคแห่งทวีปยุโรป (Counsel European pour le
Recherché Nuclear – CERN) ได้ทดลองระบบที่เรียกว่า“เวิลด์ไวด์เว็บ” ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ
ทุกระบบเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้โดยการสร้างแฟ้มข้อมูลไฮเปอร์เท็กซท์และเชื่อมโยงการทางานของ
คอมพิวเตอร์บนเว็บ โดยลักษณะไฮปาร์กลิงค์(hyperlink) ทาให้เกิดระบบสารสนเทศระดับโลกา (global
information system) ที่ทาให้การค้นหาสารสนเทศสาหรับคนทั่วไปทาได้ง่ายขึ้นและสามารถค้นหาสารสนเทศ
ได้ทุกเวลาไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่อยู่แหล่งใดของโลกเมื่อมีความต้องการค้น
 นาย นพณัฐกานต์ ศุภสินทินภัทร เลขที่ 13 ส.ชฟ.1/1
 นาย ณรงค์ศักดิ์ อินคา เลขที่ 6 ส.ชฟ.1/2

More Related Content

What's hot

หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2Green Greenz
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออมzeenwine
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีHahah Cake
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้BoomCNC
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมUnchaya Suwan
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพBeerza Kub
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรthana1989
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 

What's hot (20)

หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
Europe
EuropeEurope
Europe
 
Miniproject0
Miniproject0Miniproject0
Miniproject0
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
พัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตรพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาหลักสูตร
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

Similar to การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ

ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศNuttaput Suriyakamonphat
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data miningphakhwan22
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information servicesKKU Library
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58สุเมธ แก้วระดี
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docxความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.DocxAhc Heinn
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศchayatorn sarathana
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวNart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111jongjang
 

Similar to การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ (20)

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data mining
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information services
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
 
Collection Development
Collection DevelopmentCollection Development
Collection Development
 
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docxความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 

การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ

  • 2. 1.ความหมายของการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศ  การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval – ISR) มีการ  กาหนดความหมายไว้หลากหลาย โดยแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ การจัดเก็บสารสนเทศ (Information storage) และการค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval)  การจัดเก็บสารสนเทศเป็นคาที่เกิดขึ้นควบคู่กับสถาบันบริการสารสนเทศในอดีต มีความหมาย ครอบคลุมการจัดทาโครงสร้างและควบคุมบรรณานุกรม เป็นการจัดระบบโดยวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ จัด หมวดหมู่และทาบัตรรายการ บรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป ควบคุมบรรณานุกรม การค้นคืนสารสนเทศในอดีต เป็นงานบริการช่วยผู้ใช้ค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ (information search) หรือ บอกให้ผู้ใช้รู้แหล่งจัดเก็บสารสนเทศ งานค้นคืนสารสนเทศจึงเป็นงานค้นหาและช่วยผู้ใช้ค้น แนะนาและสอนผู้ใช้ อานวยความสะดวกต่างๆ ให้ผู้ใช้ได้รับ ทรัพยากรสารสนเทศตามความต้องการ
  • 3. 2. การถ่ายโอนสารสนเทศ  การจัดเก็บและการสื่อสารความรู้เกิดขึ้นตั้งแต่มนุษย์เริ่มสร้างสั่งสมและสามารถขีดเขียนเพื่อบันทึก ความนึกคิด ประสบการณ์และความรู้ลงวัสดุตามธรรมชาติชนิดต่างๆ ไว้เป็นหลักฐานและพัฒนาจนถึง การบันทึกดิบจาทับโดยคอมพิวเตอร์ เพื่อการค้นหาความรู้นั้นและนาไปใช้ประโยชน์ต่างๆ สถาบัน บริการสารสนเทศโดยเฉพาะห้องสมุดได้ชื่อว่าเป็นแหล่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสือ มี ประวัติยาวนานควบคู่กับพัฒนาการด้านการเขียนและการบันทึกข้อมูลประเภทต่างๆ ราวคริสต์ศตวรรษ ที่ 15 เมื่อโยฮั่น เคนเบอร์ (Johannes Gutenberg) ชาวเยอรมันได้คิดแท่นพิมพ์ขึ้นการพิมพ์หนังสือทาให้ การสื่อสารถ่ายโดนความรู้เผยแพร่กว้างขวาง
  • 4. 2.1 การผลิตและเผยแพร่ ทรัพยากร สารสนเทศปฐมภูมิ  นักวิจัย นักวิชาการ หรือนักวิทยา  ศาสตร์เป็นผู้ที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการพัฒนางานวิจัย ความรู้ ประดิษฐ์คิดค้น จาเป็นต้องใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและบางคนเป็นผู้ผลิตสารสนเทศ งานของผู้ผลิตสารสนเทศ คือ อธิบายประสบการณ์ รายงานผลการวิจัย ความคิด ออกมาในรูปแบบรายงานวิชาการ รายงานการวิจัย หนังสือตารา เป็นสารสนเทศปฐมภูมิในระบบถ่ายโอนสารสนเทศ ผู้เขียน ผลิตงานเขียนจัดส่งให้สานักพิมพ์ตีพิมพ์เผยแพร่ รูปแบบสารสนเทศปฐมภูมิที่สานักพิมพ์ผลิต ได้แก่ หนังสือ วารสาร รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ สิทธิบัตร เป็นต้น การเผยแพร่สารสนเทศปฐมภูมิสู่ผู้ใช้ทาได้2 ทาง คือ ผู้ใช้รายบุคคลที่ซื้อ แสวงหาตามความสนใจ และสถาบันบริการสารสนเทศจัดหาโดยการบอกรับ จัดซื้อ หรือแลกเปลี่ยน นอกจากนี้พัฒนาการ ของเทคโนโลยีการคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ผู้เขียนสามารถเผยแพร่งานเขียนได้ด้วยตนเองทางเวิลด์ไวด์เว็ป(World Wide Web) ผ่านทางอินเทอร์เน็ต(Internet)
  • 5. 2.2 สถาบันบริการสารสนเทศ  สารสนเทศ มีหลายรูปแบบ อาทิ ห้องสมุด (library) ศูนย์เอกสารหรือศูนย์สารสนเทศ (information center) ศูนย์ข้อมูล (data center) หอจดหมายเหตุ (archive) เป็นต้น สถาบันบริการสารสนเทศประเภท ต่างๆ มีหน้าที่หลักคล้ายคลึงกัน คือจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ จัดเก็บ จัดหมวดหมู่ ควบคุม บรรณานุกรม ผลิตและเผยแพร่สิ่งพิมพ์ทุติยภูมิ เพื่อบริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้แต่มักจะเน้นการทางานที่ แตกต่างกันตามประเภทของสถาบันในด้านทรัพยากรที่จัดหาหรือขอบเขตการบริการ
  • 6. 2.3 ผู้ใช้ (USER) หรือกลุ่มผู้ใช้  การถ่ายโอนสารสนเทศเกิดขึ้นเมื่อผู้ใช้ศึกษา ใช้เอกสารและได้รับความรู้ ผนวกความรู้เข้ากับความคิด ประสบการณ์ และความรู้ของผู้ใช้ปรับเปลี่ยนไปกลุ่มผู้ใช้ได้รับสารสนเทศทั้งจากการเผยแพร่สารสนเทศ ระดับปฐมภูมิจากผู้เขียนโดยตรงและจากสถาบันบริการสารสนเทศ ระดับการเผยแพร่ และความเร็วในการ ได้รับเพื่อการใช้เอกสารเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพการจัดบริการของสถาบันบริการสารสนเทศและพฤติกรรม ในการแสวงหา ค้นหาทรัพยากรสารสนเทศที่แตกต่างกันของผู้ใช้ ในกระบวนการถ่ายโอนสารสนเทศ ช่องทางที่เป็นทางการผู้ใช้อาจได้รับสารสนเทศที่สามารถใช้ประโยชน์ในงานวิจัย งานวิชาการได้ซึ่งนาไปสู่ การทาวิจัยและสร้างผลงานใหม่ขึ้นเผยแพร่จึงเกิดเป็นวงจรถ่ายโอนสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง
  • 7. 3. ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศ  สังคมสารสนเทศ (information age) เกี่ยวข้องโดยตรงกับพัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารในการ จัดบริการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ จากภาวการณ์เพิ่มปริมาณสารสนเทศอย่างรวดเร็วท่วมท้น(information explosion) ซึ่งเป็นผลของการทุ่มเทวิจัยและพัฒนาความก้าวหน้าและขยายตัวทางการศึกษาในระดับสูง มีสารสนเทศผลิตออกมาหลาย สาขาวิชาทั้งสาขาวิชาใหญ่และสาขาวิชาย่อยวิชาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างมากมายหลายรูปแบบ อาทิ ไมโครฟิล์ม ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง วี้ดทัศน์ และสื่อคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องใช้เครื่องมือในการเข้าถึง อ่านและใช้ สารสนเทศสารสนเทศที่ผลิตจากแหล่งต่างๆ กันประเทศในยุโรป อเมริกา เอเชียใช้ภาษาต่างๆ กัน เป็นอุปสรรคแก่ผู้ใช้ สารสนเทศเรื่องเดียวกันมีการผลิตซ้าซ้อนหลายรูปแบบ เป็นมลพิษทางสารสนเทศ เหล่านี้เป็นปัญหาในการเข้าถึงและเข้าใช้ สารสนเทศ การเข้าถึงสารสนเทศที่ดีมีคุณภาพจาเป็นต้องมีการคัดเลือกดาเนินการ มีการลงทุนเสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นหน้าที่ของ สถาบันบริการสารสนเทศ
  • 8. 3.1 ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศต่อสถาบันบริการสรสนเทศ  เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรสารสนเทศกับ  ผู้ต้องการใช้สารสนเทศ  ก่อให้เกิดการส่งเสริมในการถ่ายโอนและไหลของสารสนเทศเป็นไปอย่างมีประ  สิทธิภาพระหว่างผู้ต้องการใช้สารสนเทศกับแหล่งทรัพยากรสารสนเทศ และมีบทบาทสาคัญในการตอบสนองความต้องการใช้สารสนเทศ  เป็นการกลั่นกรองสารสนเทศในช่องทางถ่ายโอนสารสนเทศที่เป็นทางการ ซึ่ง  ช่วยคัดเลือกตรวจสอบทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ได้รับและใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ  เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงระบบบริการต่างๆ และระบบงานของสถาบันบริการสาร  สนเทศ เช่น ระบบยืมคืนสารสนเทศ ระบบจัดทาสาเนาเอกสารเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด  ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยการค้นคืนตรงตามความต้องการและ  ทันต่อเวลา เพื่อการใช้ประโยชน์ต่างๆ ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถาบันบริการสารสนเทศ
  • 9. 3.2 ความสาคัญของการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศต่อผู้ใช้  เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ทั้งภายในสถาบัน  บริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรทั่วโลกได้อย่างเสรี ภายใต้ข้อกาหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของการใช้สารสนเทศ  ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้ประเภทต่างๆ โดยจัดให้มีวิธีการและเครื่องมืออานวยความ  สะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืนได้ด้วยตนเองหรือโดยผ่ายผู้ให้บริการ ซึ่งมีหน้าที่ช่วยเหลือแนะนาและค้นคืนสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้  มีการพัฒนารูปแบบการดาเนินงานจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ โดยเฉพาะ  ในยุคที่มีความเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้นคืนสารสนเทศ ทั้งนี้เพื่อเกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้  ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการเพื่อนาไปใช้  ประโยชน์ต่างๆ ทั้งในชีวิตประจาวัน ในการศึกษาค้นคว้าวิจัยในการปฏิบัติงาน บริหารงาน หรือตอบสนองความสนใจต่างๆ  สนับสนุนผู้ใช้ให้ สามารถประเมิน แยกแยะ ทาความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิด  ของสารสนเทศเพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา ติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียนแบบพึ่งตนเองตลอดไป
  • 10. 4. ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินการค้นหาสาระสนเทศ  ทฤษฎีพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับระบบจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศและตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ แนวคิดพื้นฐานพิจารณาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในเชิงระบบ กล่าวถึงองค์ประกอบสาคัญของระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ได้แก่ ทรัพยากรสารสนเทศ ฐานข้อมูล และผู้ใช้ ตัว แบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ การจัดเก็บและการค้นคืนเป็นระบบในเชิงจุลภาคคือระบบค้นคืน สารสนเทศ ประกอบด้วย ข้อมูลนาเข้า การประมวลผล ผลลัพธ์ และข้อมูลป้อนกลับ ทาหน้าที่สาคัญคือวิเคราะห์เนื้อหา เอกสาร วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้และจับคู่โดยมีระบบย่อย 6 ระบบร่วมกันทางานต่างๆ ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ เป็นตัวแบบที่อธิบายพฤติกรรมสารสนเทศทั้งในเชิงที่มา ได้แก่ ความต้องการสารสนเทศ และในเชิงพฤติกรรมคือกิจกรรม ต่างๆ คือการค้นหา การถ่ายโอน และการใช้สารสนเทศ
  • 11. 5. เทคโนโลยี และมาตรฐานในการจัดเก็บ และการค้นคืนสารสนเทศ  เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูลและ การสื่อสาร จาแนกเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ และแสดงผล เทคโนโลยีในการค้นคืน สารสนเทศเกี่ยวกับดรรชนีคาค้น เทคนิคการค้นคืน และการเลือกฐานข้อมูล เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ การค้นคืนสารสนเทศการประยุกต์เทคโนโลยีไฮปาร์กมีเดียในการค้นคืนสารสนเทศ
  • 12. 6. การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ  การจัดทาโครงสร้างและควบคุมทรัพยากรสารสนเทศเป็นเรื่องการวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ จัดทาสาระสังเขป การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อกาหนดตัวแทน สาระ และจัดทาโครงสร้างระบบจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการค้นหา ค้นคืน เกี่ยวข้องกับแนวคิด การ เปรียบเทียบระบบการจัดหมวดหมู่สารสนเทศที่สาคัญ และแนวคิดการทารายการสารสนเทศประเภท ต่างๆ อาทิ ข้อความ มัลติมีเดีย สื่ออิเล็กทรอนิกส์
  • 13. 7. ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและ พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ  ขอบเขตของการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศมีผู้ใช้เป็นองค์ประกอบสาคัญ ผู้ใช้จาแนกเป็นประเภทต่างๆ ตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง ประเภท อาทิ เกณฑ์วัตถุประสงค์และเกณฑ์ทางสังคมและจิตวิทยาระบบค้นคืนสารสนเทศในยุคต้นยึดแนวคิดระบบไม่ให้ความสาคัญ ต่อบทบาทของผู้ใช้ เมื่อการบริการสารสนเทศมีเทคโนโลยีเป็นสภาพแวดล้อมสาคัญที่ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้นักวิจัยหันมา สนใจบทบาทของผู้ใช้การศึกษาผู้ใช้เป็นทั้งตัวผู้ใช้และพฤติกรรมการใช้มีขอบเขตกว้าง การวิจัยเกี่ยวกับผู้ใช้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่นิยม ใช้กัน ได้แก่ สารวจโดยแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การจดบันทึกประจาวัน การสัมภาษณ์/การซักถามกลุ่ม การสังเกต การใช้หลักฐาน เอกสาร และการทดลอง การจัดบริการสารสนเทศ จาเป็นต้องเข้าใจความต้องการสารสนเทศของ
  • 14. 8. การค้นหาและค้นคืนสารสนเทศ  การค้นหาและค้นคืนสารสนเทศมีพัฒนาการการค้นหาด้วยระบบมือมาเป็นค้นคืนสารสนเทศด้วย คอมพิวเตอร์ กระบวนการค้นหาสารสนเทศมีขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่ทาความเข้าใจความต้องการของผู้ใช้ จนถึงค้นหาและพิมพ์ผลลัพธ์ กลยุทธ์ในการค้นคืนสารสนเทศที่สาคัญคือการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ คาถาม และใช้การเทคนิคการค้นคืนใช้ศัพท์บังคับ ศัพท์ไม่ควบคุมหรือภาษาธรรมชาติ และคาสั่งที่ จาเป็นต่างๆ ตัวแบบการค้นคืนสารนเทศ เช่น ตัวแบบเลียน ตัวแบบความเป็นไปได้ และตัวแบบอื่นๆ
  • 15. 9. พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศก่อนทศวรรษ 1960  9.1 การจัดเก็บและการค้นคืนสารนเทศในระยะแรกเริ่ม  อักขระมีบทบาทในการจัดเก็บและสื่อสารความรู้สารสนเทศในลักษณะเป็นตัวแทน รูปแบบภาษาต่างๆ มากมายที่เข้าใจได้ง่าย ใช้แสดงแนวความคิดเป็นภาษาเขียนที่เรียนรู้และใช้ได้สะดวกทั้งนี้เพราะผ่านการ ปรับปรุงแก้ไขอยู่เสมอให้ใช้ได้อย่างสมบูรณ์แบบภาษาเขียนผูกพันกับสื่อบันทึกความรู้ตามความจาเป็นของ สังคมและสภาพแวดล้อมของมนุษย์เริ่มจากภาพวาดตามผนังถ้าสี่หมื่นปีมาแล้วและตัวอักษรบนหิน แผ่นดิน เหนียว หนังสัตว์ไม้กระดาษ มาถึง 150 ปีที่ผ่านมา สื่อบันทึกเสียง ภาพ สื่อคอมพิวเตอร์ถูกใช้ประสม ประสานกันโดยพัฒนาอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพขยายขอบเขตการสื่อสารความรู้ในลักษณะราตการณ์ภาพ ทั้งภาพถ่าย ภาพยนตร์ วี้ดทัศน์เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน เป็นโลกของการจัดเก็บและสื่อสารด้วยภาพ
  • 16. 9.2 การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศในยุค เทคโนโลยีระยะแรก  9.2.1 เทคโนโลยีไมโครกราฟิก(micrographic technology) มีบทบาทสาคัญในการผลิต จัดเก็บ ค้น คืน และเผยแพร่สารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นประมาณ ค.ศ.1839 ซึ่งใช้หลักการของการถ่ายภาพ ย่อส่วนสารสนเทศจากสื่อบันทึกลงบนแผ่นฟิล์มโปร่งแสงหรือทึบแสง ซึ่งมีรูปลักษณ์ต่างๆ เรียนว่า วัสดุย่อส่วนหรือไมโต้ฟอร์ม (microform) ประมาณ ค.ศ.1925 จอห์น แมคคาร์ล(George McCarthy) ได้ นาไมโครฟิล์มมาใช้ในการแก้ปัญหาการจัดเก็บเอกสารธุรกิจ และได้รับการว่าจ้างจากบริษัทธุรกิจให้ ผลิตเครื่องออกขายในสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นจุดของความเจริญก้าวหน้าของธุรกิจไมโครกราฟิก
  • 17. 10. พัฒนาการของการจัดเก็บและการค้นคืน สารสนเทศตั้งแต่ทศวรรษ 1960  10.1 การวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ  องค์การบริหารอากาศยานและอวกาศแห่งชาติ (Nation Aeronautics and Space Admin-i – NASA) ต้องการใช้ข้อมูลจานวนมากจึงให้เงินทุนสนับสนุนการวิจัยที่สามารถนามาใช้ในการจัดเก็บ และการค้นคืนสารสนเทศในรูปแบบเอกสารงานวิจัยได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เช่น การพัฒนา อรรถาภิธานด้านวิศวเคมี (Chemical Engineering Thesaurus)
  • 18.  10.2 การพัฒนากลุ่มความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศและฐานข้อมูลร่วมขนาดใหญ่  เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัฒนาอย่างรวดเร็วใน ค.ศ.1970 มีการนาระบบอัตโนมัติมาใช้ใน งานห้องสมุดและเทคโนโลยีโทรคมนาคมมาใช้ทาให้เกิดระบบเครือข่ายที่เป็นประโยชน์ต่องาน สารสนเทศความร่วมมือระหว่างสถาบันบริการสารสนเทศในระดับเขตขยายเป็นความร่วมมือระดับชาติ และนานาชาติสร้างฐานข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการทารายการร่วมกัน (bibliographicutilities)
  • 19.  10.2.1 ระบบโอซีแอลซี คือศูนย์ห้องสมุดคอมพิวเตอร์ออนไลน์ (Online Computer Library Center) ค.ศ.1971 เริ่มต้นจากการรวมกลุ่มห้องสมุดมหาวิทยาลัยในรัฐโอไฮโอ ใช้เครื่องจักรกลทารายการโดยใช้ มาร์ค (MARC) ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หอสมุดรัฐสภาทารายการหนังสือส่งให้โอซีแอลซี จัดทา บัตรรายการให้ห้องสมุดสมาชิก ช่วยให้ไม่ต้องทาบัตรรายการเอง โอซีแอลซีเป็นกลุ่มทางานตามแนวคิด ในด้านความร่วมมือทาบัตรรายการหนังสือและสิ่งพิมพ์ต่างๆเพื่อลดการทางานซ้าซ้อนและลดค่าใช้จ่าย
  • 20.  10.2.2 อาร์คแอลไอเอ็น หรือเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดวิจัย (Research Libraries Information Network – RLIN) ซึ่งเป็นกลุ่มห้องสมุดมหาวิทยาลัยและห้องสมุดขนาดใหญ่ของสหรัฐอเมริกาเป็นกลุ่ม ความร่วมมือในลักษณะเดียวกับโอซีแอ้ซี เดิมคือกลุ่มห้องสมุดวิจัย หรืออาร์คแอลจี (Research Libraries Group – RLG) มีสมาชิกที่เป็นสถาบันในกลุ่มสมาคมห้องสมุดวิจัยทาระเบียนข้อมูลด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ตั้งแต่กลางศตวรรษ 1970 ห้องสมุดเครือข่ายความร่วมมือระบบจัดหาสารสนเทศและจัดทา บรรณานุกรมเพื่อการวิจัย เริ่มกิจกรรมโดยแปลงข้อมูลบัตรรายการเก่าเป็นรูปแบบรายการใน คอมพิวเตอร์ และให้บริการใช้ทรัพยากรร่วมกันในระบบรายการออนไลน์เต็มรูปแบบ
  • 21.  10.3 บริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์  ผู้ผลิตฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์เริ่มมาจากทั้งสานักพิมพ์ดรรชนีและวารสารสาระสังเขป สมาคม และสถาบันที่จัดทาวรรณกรรมปฐมภูมิสาขาวิชาของสมาคมและสถาบันใช้คอมพิวเตอร์พัฒนา ฐานข้อมูลและมีการขายหรือให้เช่าแก่ผู้ผลิต ผู้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ต่อมา การริเริ่มบริการ ออนไลน์ในเชิงพาณิชย์เริ่มขึ้นในอเมริกา
  • 22.  10.3.1 ไดอะลอก (DIALOG) เป็นระบบบริการออนไลน์ที่คิดค้าบริการ สร้างขี้นก ค.ศ.1966 ต่อมา ใช้ชื่อว่าไดอะลอกอินฟอร์มแฟชั่น เบอร์วิธ (DIALOG information Services) และมีการขายกิจการต่อ หลายครั้ง ระยะแรกให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์จานวนเล็กน้อย ค.ศ. 1992 มีประมาณ 380 ฐานข้อมูล และ ค.ศ.2002 ประมาณ 600 ฐานข้อมูล ให้บริการค้นคืนฐานข้อมูลมุ่งเน้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ธุรกิจและการเงิน และเนื้อหาศาสตร์ต่างๆ ทั้งแนวกว้างและลึก รวมทั้งบริการสารสนเทศเพื่อการอ้างอิง
  • 23.  10.3.2 ออบิต (ORBIT) บริษัทซอสเต็มดีเว้นอปชัน (System Development Corporation –SDC) พัฒนาระบบค้นคืน สารสนเทศและมีการปรับเปลี่ยนเจ้าของกิจการเช่นกัน ให้บริการฐานข้อมูลสาขาวิชาการต่างๆ เน้นด้านวิทยาศาสตร์และ อิเล็กทรอนิกส์ สิทธิบัตร บริการหลัก คือบริการค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ต่างๆ บริการสารสนเทศเฉพาะด้าน  ผู้ผลิตฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ให้บริการฐานข้อมูลเฉพาะด้าน เช่น เฉพาะสาขาวิชาข้อมูลเฉพาะทาง เช่น หุ้น สถิติต่างๆ บริษัทสาคัญ อาทิ เอสทีเอ็น (Scientific & Technical Information Network – STN) เน้นสารสนเทศด้าน วิทยาศาสตร์มีดกาน้าเซ็นทรัล (Mead Data Central) ด้านกฎหมาย เชอดับบลิววิกลสัน (เมท Co.) ให้บริการฐานข้อมูล สาขาวิชาต่างๆ รอยเตอร์ (Reuters) ให้บริการสารสนเทศทางธุรกิจ เศรษฐกิจ ข่าวต่างๆ เป็นต้น
  • 24.  10.4 อินเทอร์เน็ตการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ  ค.ศ.1990 ทิม เบอร์เบอร์-ลี (Tim Berners – Lee) และโรเวิร์ค ไคโย (Robert Cailliau) แห่ง เฟิร์น ซึ่งเป็นสถาบันวิจัยเชิงปฏิบัติการด้านฟิสิกส์อนุภาคแห่งทวีปยุโรป (Counsel European pour le Recherché Nuclear – CERN) ได้ทดลองระบบที่เรียกว่า“เวิลด์ไวด์เว็บ” ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ ทุกระบบเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้โดยการสร้างแฟ้มข้อมูลไฮเปอร์เท็กซท์และเชื่อมโยงการทางานของ คอมพิวเตอร์บนเว็บ โดยลักษณะไฮปาร์กลิงค์(hyperlink) ทาให้เกิดระบบสารสนเทศระดับโลกา (global information system) ที่ทาให้การค้นหาสารสนเทศสาหรับคนทั่วไปทาได้ง่ายขึ้นและสามารถค้นหาสารสนเทศ ได้ทุกเวลาไม่ว่าจะเป็นสารสนเทศที่อยู่แหล่งใดของโลกเมื่อมีความต้องการค้น
  • 25.  นาย นพณัฐกานต์ ศุภสินทินภัทร เลขที่ 13 ส.ชฟ.1/1  นาย ณรงค์ศักดิ์ อินคา เลขที่ 6 ส.ชฟ.1/2