SlideShare a Scribd company logo
1

หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
โดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
2 มีนาคม 2557
ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
ในบทนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ (Information Analysis) และการสังเคราะห์
สารสนเทศ (Information Synthesis) แต่ก่อนอื่นมาทาความเข้าใจก่อนว่าคาทั้ง 2 คา มีความหมายว่า
อย่างไร
การวิเคราะห์สารสนเทศ (Information Analysis) หมายถึง กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่
สาคัญ และสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออกเป็นกลุ่มย่อยๆ หรือออกเป็นส่วนๆ โดยให้สารสนเทศที่มี
เนื้อหาเดียวกันอยู่ด้วยกัน ส่วนการสังเคราะห์สารสนเทศ (Information Synthesis) หมายถึง การ
สรุปความสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจากทรัพยากรสารสนเทศ 1 รายการ หรือมากกว่า 1 รายการที่มี
เนื้อหาเดียวกัน คล้ายคลึงกัน หรือเกี่ยวข้องกัน นามาสรุปให้เป็นประเด็นเดียว ซึ่งเท่ากับเป็นการนาเสนอ
สารสนเทศในรูปลักษณ์ใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเอง (ฉัตรกมล อนนตะชัย, ม.ป.ป.; วิกิพีเดีย
สารานุกรมเสรี, 2556)
ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ มีขั้นตอน ดังนี้
1. อ่านเฉพาะเนื้อหาที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่ต้องการจะศึกษา โดยอ่านเพื่อให้
เข้าใจในภาพรวมของเนื้อหาที่เราจะทาการบันทึกสารสนเทศเก็บไว้
2. อ่านจับใจความสาคัญของเรื่อง มีวิธีการคือ
2.1 อ่านไปทีละย่อหน้า และดูว่าในแต่ละย่อหน้านั้นใจความสาคัญคืออะไร ซึ่งโดย
ปกติใจความสาคัญจะอยู่ต้นย่อหน้าหรือท้ายย่อหน้านั้นๆ จากนั้นก็จดไว้
2.2 พิจารณาว่าในย่อหน้านั้นๆ มีประเด็นย่อยอะไรที่ควรจดไว้หรือไม่ หากมีก็จดไว้
ทาแบบนี้จนกระทั่งอ่านเนื้อหาในประเด็นนั้นๆ จบ จากนั้นก็ทาขั้นตอนที่ 3 ต่อไป
3. เรียบเรียงเนื้อหาขึ้นใหม่จากข้อความที่เป็นใจความสาคัญ และประเด็นย่อยของใจความสาคัญ
ในแต่ละย่อหน้า โดยเขียนขึ้นใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเอง แต่ยังคงแนวคิดเดิมอยู่
4. ในกรณีอ่านพบเนื้อหาที่คล้ายคลึงกัน แต่มีประเด็นบางประเด็นที่ต่างกัน จากหนังสือ หรือ
เอกสารมากกว่า 1 รายการ ก็ให้สรุปรวมเข้าเป็นเนื้อหาเดียวกัน และต้องทารายการอ้างอิงเพื่อบอกถึง
แหล่งที่มาของข้อมูลข้างต้นต่อไป
อนึ่งในการบันทึกและเรียบเรียงสารสนเทศนั้นควรทาอย่างเป็นระบบ ดังนี้
2

1. บันทึกสารสนเทศลงกระดาษขนาด A4 โดยกระดาษ 1 แผ่น ใช้บันทึก 1 หัวข้อตามโครงเรื่อง
รายงาน และควรบันทึกเพียงหน้าเดียว
กรณีหัวข้อนั้น เช่น หัวข้อ “ประวัติของการสื่อสารดาวเทียม” มีหนังสือ หรือเอกสารมากกว่า
1 รายการ ให้บันทึกสารสนเทศและแจ้งแหล่งที่มาของข้อมูลทั้งหมดไว้ในแผ่นนั้น (ดูตัวอย่างในหน้า 4)
2. ส่วนประกอบที่ต้องบันทึกไว้ ได้แก่
2.1. แหล่งที่มาของสารสนเทศ พิมพ์ไว้ตอนบนของบัตร โดยบันทึกรายละเอียดต่อไปนี้
2.1.1 รายละเอียดของสิ่งพิมพ์อย่างสั้น ๆ คือ
ก. ชื่อผู้แต่ง/ชื่อผู้เขียนบทความ
ข. ชื่อหนังสือ/ชื่อบทความ
ค. ปี พ.ศ. /ค.ศ.
ถ้าเป็นหนังสือ ใส่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ และปีพิมพ์ หากหนังสือ
ไม่มีชื่อผู้แต่งให้เอาชื่อหนังสือขึ้นต้นเลย และถ้าหนังสือไม่ปรากฏปีพิมพ์ให้พิมพ์คาว่า ม.ป.ป. แทน
ซึ่งย่อมาจากไม่ปรากฏปีพิมพ์
ถ้าเป็นบทความจากวารสาร ใส่ ชื่อผู้เขียนบทความ ชื่อเรื่องของ
บทความ (ไม่ใช่ชื่อวารสาร) และปีพิมพ์ หากบทความนั้นไม่มีชื่อผู้เขียนบทความให้เอาชื่อเรื่อง
บทความขึ้นต้นเลย
ถ้าเป็นเว็บ (ทั้งเว็บเพจและเว็บบล็อก) ใส่ ชื่อผู้จัดทาเว็บ ชื่อเรื่องของ
เว็บ และปีเผยแพร่ หากเว็บไม่มีชื่อผู้จัดทาให้เอาชื่อเรื่องของเว็บขึ้นต้นเลย และถ้าเว็บไม่ปรากฏปี
เผยแพร่ให้พิมพ์คาว่า ม.ป.ป. แทน ซึ่งย่อมาจากไม่ปรากฏปีเผยแพร่
ถ้าเป็นสารานุกรม (ทั้งที่เป็นสารานุกรมฉบับสื่อสิ่งพิมพ์ และสารานุกรม
ออนไลน์) ใส่ ชื่อผู้เขียน ชื่อเรื่องบทความ (เช่น เรือนไทย) และปีพิมพ์หรือปีเผยแพร่ หาก
สารานุกรมไม่มีชื่อผู้เขียนให้เอาชื่อเรื่องบทความขึ้นต้นเลย และถ้าสารานุกรมไม่ปรากฏปีพิมพ์หรือปี
เผยแพร่ให้พิมพ์คาว่า ม.ป.ป. แทน ซึ่งย่อมาจากไม่ปรากฏปีพิมพ์
อนึ่งแหล่งที่มาดังกล่าว (ยกเว้นชื่อหนังสือ/ชื่อบทความ) จะมีประโยชน์ในการ
จัดทารายการอ้างอิงในเนื้อหาต่อไป
2.2. หัวข้อตามโครงเรื่องรายงาน พิมพ์ไว้มุมบนขวาของกระดาษ เพื่อประโยชน์ใน
การเรียบเรียงเนื้อหาในขั้นตอนต่อไป
2.3. รายละเอียดของสารสนเทศ หรือเนื้อหาที่บันทึก
- กรณีเป็นข้อความที่สรุปมา ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้ากากับตรงข้อความเหล่านั้น
- กรณีเป็นข้อความที่คัดลอกมา ให้ใส่เครื่องหมายอัญประกาศ (“.........”) กากับ
ข้อความที่คัดลอกมา และระบุหมายเลขหน้ากากับไว้ด้วย เพื่อประโยชน์ในการจัดทารายการอ้างอิงใน
ขั้นตอน ต่อไป
3

อนึ่งในการบันทึกเนื้อหาสาหรับแต่ละหัวข้อ ควรค้นคว้าและบันทึกจากหนังสือหรือ
สิ่งพิมพ์หลาย ๆ เล่ม เป็นต้นว่าหัวข้อ “โครงสร้างและการทางานของตัวดาวเทียม” ควรค้นจากหนังสือ
หลายเล่ม ค้นจากบทความ วารสารหรือหนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับ เพราะบางหัวข้อต้องค้นจากหลาย
แหล่งจึงจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้อง อย่างไรก็ตามบางหัวข้ออาจค้นได้จากแหล่งข้อมูลเพียงแหล่ง
เดียว ในทานองเดียวกันหนังสือแต่ละเล่มอาจใช้ค้นได้เพียงหัวข้อเดียวหรือหลายๆ หัวข้อก็ได้
อนึ่งในการจดบันทึกเนื้อหาส่วนใหญ่จะทา 2 วิธี คือ สรุปความและคัดลอกข้อความ ดังนี้
1. การสรุปความ (Summary Note) คือ การสรุปเอาแต่ใจความสาคัญของข้อความที่อ่าน
และบันทึกด้วยสานวนภาษาของตนเองมากที่สุด
2. การคัดลอกข้อความมาโดยตรง (Quotation Note) ใช้เมื่อข้อความนั้นอย่างน้อยอยู่
ในเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
2.1. เป็นข้อความที่เขียนไว้อย่างดีมาก ถ้อยคาสานวนกะทัดรัดชัดเจน ซึ่งถ้า
จะถอดความเป็นภาษาของผู้เขียนรายงานเองแล้วอาจทาได้ไม่ดีเท่าเดิม เช่น คาจากัดความของ
คาศัพท์
เป็นต้น
2.2 เป็นข้อความที่มีความยาวไม่มากจนเกินไป
ต่อไปจะเป็นตัวอย่างของการบันทึกสารสนเทศแบบสรุปความและแบบคัดลอกข้อความ
4

แหล่งที่มาของสารสนเทศ

ตัวอย่างการจดบันทึกแบบสรุปความ

หัวข้อตามโครงเรื่องรายงาน

ประวัติ
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒ.ิ การสื่อสารดาวเทียม. 2537.
สมอนงค์ เจริญศรี. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับดาวเทียม. ม.ป.ป.
วันที่ 4 ต.ค. 2500 รัสเซียเป็นประเทศแรกที่สามารถส่งดาวเทียมดวงแรกของโลกขึ้นโคจรอยู่ใน
อวกาศ ดาวเทียมดวงแรกใช้ชอว่า Sputnik หลังจากนั้นก็มีดาวเทียมอีกจานวนนับร้อยถูกส่งขึ้นไป
ื่
โคจรในอวกาศเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ กัน
การพัฒนาของการสื่อสารทางอวกาศ นับตั้งแต่ก่อนการส่งดาวเทียมดวงแรกจนกระทังหลังจากส่ง
่
อาจสรุปได้ดังนี้
2475 สหรัฐฯ ได้ทาการทดลองวัดสัญญาณรบกวนจากกาแลกซีโดยอาศัยวิทยุดาราศาสตร์
2481 ญี่ปุ่นได้ทาการทดลองวัดสัญญาณรบกวนจากแสงอาทิตย์โดยอาศัยวิทยุดาราศาสตร์
2488 ชาวอังกฤษชื่อ Arthur C. Clark แนะนาโครงสร้างของโครงการสื่อสารดาวเทียมที่ลอยอยู่กับ
ที่ (Stationary Satellite)
2489 สหรัฐฯ ใช้เรดาร์ตรวจจับ Lunar Echo
2500 J. H. Trexler แห่งสหรัฐฯ ใช้ดวงจันทร์เป็นสถานีทบทวนสัญญาณแบบ Passive เป็นการ
สื่อสารโทรคมนาคมระหว่างจุด 2 จุดบนโลก โดยอาศัยการสะท้อนกลับของเสียงเมื่อกระทบพื้นผิวดวง
จันทร์
2500 รัสเซียทดลองระบบวิทยุ โดยผ่านดาวเทียม Sputnik
2501 กองทัพอากาศสหรัฐฯ ทาการส่งบันทึกเสียงผ่านดาวเทียม
2503 องค์การนาซาของสหรัฐฯ ทาการสารวจอุตุนิยมศาสตร์ผ่านดาวเทียม Tarios I
2503 กองทัพอากาศสหรัฐฯ ส่ง Passive Relay ของโทรศัพท์และ TV ผ่านดาวเทียม Echo I
2503 กองทัพบกสหรัฐฯ ทาการทดสอบการ Delayed Relay ผ่านดาวเทียม Courier IB

เนื้อหา
5

ตัวอย่างการจดบันทึกแบบสรุปความ (ข้อมูลจากเว็บ)
โครงสร้างและการทางานของดาวเทียม--ระบบสายอากาศ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนนทบุรี. การสื่อสารดาวเทียม Satellite Communication. 2553.
ระบบสายอากาศที่ใช้ในตัวดาวเทียมมีอยู่ด้วยกัน 4 แบบ ได้แก่ แบบ Wire, Horn, Reflector
และ Array ที่อยู่ในบริเวณที่สายอากาศของดาวเทียมสามารถให้บริการได้ โดยเรียกว่าพื้นที่
ครอบคลุมโดยที่ขอบเขตของ Zone ถูกกาหนดโดยบริเวณขอบที่ระดับสัญญาณเป็นครึ่งหนึ่งของกาลัง
สัญญาณสูงสุดโดยเรียกว่า 3dB-Beamwidth สาหรับสายอากาศแบบ Wire เช่น ไดโพล หรือโมโน
โพลนั้นใช้กับความถี่ในย่าน VHF และใช้ในส่วนของระบบ TT&C UHF ส่วนสายอากาศแบบ
Horn ใช้ในย่านความถี่ไมโครเวฟซึ่งจะให้บีมแบบกว้าง หรือที่เรียกว่า Global Coverage แต่ว่า
ระบบสายอากาศแบบ Horn นี้สามารถสร้างให้มีอัตราขยายได้สูงสุดประมาณ 23 dB เท่านั้น และ
Beamwidth ก็แคบได้เพียง 10 องศา ถ้าต้องการให้มีอัตราขยายที่สูง และบีมที่แคบลงกว่านี้ก็จะต้อง
ใช้สายอากาศแบบ Reflector หรือ Array

ตัวอย่างการจดบันทึกแบบคัดลอกข้อความมาทั้งหมด
วงโคจรของดาวเทียม
รัชนัย อินทุใส. การสื่อสารดาวเทียม. 2538.

“ดาวเทียมมีช่วงของวงโคจรที่ใหญ่มาก แต่ไม่ได้ใช้ทุกช่วงของวงโคจรสาหรับการสื่อสาร วงโคจร
ที่สาคัญที่ใช้งานกันอยู่จะใช้เวลาในการโคจรรอบหนึ่ง 24 ชั่วโมง ที่ความสูง 35,786 กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก ณ
จุดเส้นศูนย์สูตร เป็นวงโคจรที่ใช้มากที่สุดสาหรับดาวเทียมสื่อสาร เช่น ดาวเทียม INTELSAT, EUTELSAT,
INMARSAT เป็นต้น” (หน้า 3)

อนึ่งในการบันทึกสารสนเทศในหัวข้อเดียวกัน (เช่น การประยุกต์ใช้ระบบสื่อสารผ่าน
ดาวเทียมในปัจจุบัน) อาจมีทั้งข้อความที่สรุปมา และคัดลอกมาก็ได้ เพียงแต่ถ้าเป็นข้อความที่คัดลอก
มาให้ใส่เครื่องหมายอัญประกาศกากับไว้เพื่อทาการอ้างอิงต่อไป แต่ถ้าเป็นการบันทึกข้อคิดเห็นของ
ผู้เขียนรายงานในหัวข้อเดียวกันควรแยกบัตรบันทึกต่างหาก ดังตัวอย่าง
6

ตัวอย่างการจดบันทึกที่มีทั้งข้อความที่สรุปมาและคัดลอกมาอยู่ในบัตรเดียวกัน
การประยุกต์ใช้ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมในปัจจุบัน
บริษัทสามารถเทลคอม จากัด (มหาชน). เปิดโลกทัศน์สู่การสื่อสารผ่านดาวเทียม. 2542. เล่ม 3.
ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม สามารถนามาประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ คือ
1. ด้านธุรกิจ
2. งานบริการสาธารณะ
3. งานในชีวิตประจาวัน
1. ด้านธุรกิจ ได้แก่
1.1 ธนาคาร
1.2 ธุรกิจซื้อขายหลักทรัพย์และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
1.3 ระบบกระจายข่าวสารและข้อมูลผ่านดาวเทียม เช่น ธุรกิจการให้บริการข่าวสาร ระบบ
วิดีโอคอนเฟอร์เรนซ์สาหรับธุรกิจ (Video Conference)
1.4 หนังสือพิมพ์กับเทคโนโลยีการสื่อสารผ่านดาวเทียม
ธนาคาร
ธุรกิจธนาคารนับเป็นธุรกิจแรกๆ ที่พัฒนาการนาระบบคอมพิวเตอร์ Online มาใช้อย่างจริงจัง
ในประเทศไทย ทาให้การบริหารระบบงานและการทางานของสาขาธนาคารมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
และบริการลูกค้าได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
หน้า 12
" ระบบงานที่ธนาคารนาระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมมาใช้ ได้แก่
1. ระบบเงินฝาก ถอน โอน ที่สาขา
2. ระบบเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine--ATM)
3. ระบบบริหารงานสาขาและสานักงานอัตโนมัติ
4. ระบบตรวจสอบบัตรเครดิต (Credit Card Authorization) "

***********************************
7

บรรณานุกรม
คู่มือผู้สอนวิชา 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information Literacy skills). (2551).
สืบค้นจาก www.rtc.ac.th/download/ar250951/130-teachermanual-51.doc
ฉัตรกมล อนนตะชัย. (ม.ป.ป.). บทที่ 6 การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (Evaluate, Analysis,
Synthesis) [เพาวเวอร์พอยด์สไลด์]. สืบค้นจาก
http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&frm=1&source=web&cd=8&ved=0CFcQFjAH&url
=http%3A%2F%2Fshypoj.files.wordpress.com%2F2012%2F10%2Fe0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988
6-e0b881e0b8b2e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b0e0b980e0b8a1e0b8b4e0b899e0b8a7e0b8b4e0b980e0b884e0b8a3e0b8b2.pptx&ei=4_QSU7C_IZGkiQfg0oDoAg&usg=AFQjCNHYrP
V8UT7H72zxQQI_oJtRNi69YA&bvm=bv.62286460,d.aGc
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2556). การวิเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2557, จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/การวิเคราะห์
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2556). การสังเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2557, จาก
http://th.wikipedia.org/wiki/การสังเคราะห์
เอกสารประกอบการสอนวิชา 00-021-101 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy). (2553).
สืบค้นจาก http://dc250.4shared.com/doc/KcmiFpRT/preview.html

More Related Content

What's hot

20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
Napasorn Juiin
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Pattapong Promchai
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
Coco Tan
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
Dnavaroj Dnaka
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
Green Greenz
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
ชัชจิรา จำปาทอง
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
Rujroad Kaewurai
 

What's hot (20)

20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 

Viewers also liked

การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)
ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)
ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)funnoi00
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
Suranaree University of Technology
 
เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่
เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่
เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ศิริยุทธ ศรีดารา
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศOng Lada
 
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
Electronic Government Agency (Public Organization)
 
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษาความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษาbuckbucket
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
anda simil
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
bensee
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
ASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
Visiene Lssbh
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
Thidarat Termphon
 
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลการจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
Utai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (20)

การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)
ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)
ตารางส งเคราะห องค_ประกอบของเว_บไซต_ กล__มฝ_น (1)
 
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
การลงรายการบรรณานุกรมตามหลักเกณฑ์ AACR2R
 
เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่
เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่
เรียนเชิญทุกท่านร่วมในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
แนวทางการบูรณาการข้อมูลภาครัฐ โดย ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด 20150323
 
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษาความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
ความหมายและความจำเป็นการสังเคราะห์ระบบทางการศึกษา
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุลการจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management  by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 

Similar to การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
tanakit pintong
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
Solarstystempp
SolarstystemppSolarstystempp
Solarstystempp
Ple Kantida
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
SAKANAN ANANTASOOK
 
กำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำกำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำ
Kanjana K'zz
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
Marine Meas
 

Similar to การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ (20)

Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
งานแคท
งานแคทงานแคท
งานแคท
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Sun
SunSun
Sun
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
Solarstystempp
SolarstystemppSolarstystempp
Solarstystempp
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
Astroplan12
Astroplan12Astroplan12
Astroplan12
 
กำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำกำเนิดหลุมดำ
กำเนิดหลุมดำ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 

More from Srion Janeprapapong

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
Srion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
Srion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ

  • 1. 1 หน่วยที่ 7 การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ โดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ 2 มีนาคม 2557 ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 ในบทนี้จะอธิบายถึงขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ (Information Analysis) และการสังเคราะห์ สารสนเทศ (Information Synthesis) แต่ก่อนอื่นมาทาความเข้าใจก่อนว่าคาทั้ง 2 คา มีความหมายว่า อย่างไร การวิเคราะห์สารสนเทศ (Information Analysis) หมายถึง กระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่ สาคัญ และสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออกเป็นกลุ่มย่อยๆ หรือออกเป็นส่วนๆ โดยให้สารสนเทศที่มี เนื้อหาเดียวกันอยู่ด้วยกัน ส่วนการสังเคราะห์สารสนเทศ (Information Synthesis) หมายถึง การ สรุปความสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจากทรัพยากรสารสนเทศ 1 รายการ หรือมากกว่า 1 รายการที่มี เนื้อหาเดียวกัน คล้ายคลึงกัน หรือเกี่ยวข้องกัน นามาสรุปให้เป็นประเด็นเดียว ซึ่งเท่ากับเป็นการนาเสนอ สารสนเทศในรูปลักษณ์ใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเอง (ฉัตรกมล อนนตะชัย, ม.ป.ป.; วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2556) ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ มีขั้นตอน ดังนี้ 1. อ่านเฉพาะเนื้อหาที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆ ที่ต้องการจะศึกษา โดยอ่านเพื่อให้ เข้าใจในภาพรวมของเนื้อหาที่เราจะทาการบันทึกสารสนเทศเก็บไว้ 2. อ่านจับใจความสาคัญของเรื่อง มีวิธีการคือ 2.1 อ่านไปทีละย่อหน้า และดูว่าในแต่ละย่อหน้านั้นใจความสาคัญคืออะไร ซึ่งโดย ปกติใจความสาคัญจะอยู่ต้นย่อหน้าหรือท้ายย่อหน้านั้นๆ จากนั้นก็จดไว้ 2.2 พิจารณาว่าในย่อหน้านั้นๆ มีประเด็นย่อยอะไรที่ควรจดไว้หรือไม่ หากมีก็จดไว้ ทาแบบนี้จนกระทั่งอ่านเนื้อหาในประเด็นนั้นๆ จบ จากนั้นก็ทาขั้นตอนที่ 3 ต่อไป 3. เรียบเรียงเนื้อหาขึ้นใหม่จากข้อความที่เป็นใจความสาคัญ และประเด็นย่อยของใจความสาคัญ ในแต่ละย่อหน้า โดยเขียนขึ้นใหม่ด้วยสานวนภาษาของตนเอง แต่ยังคงแนวคิดเดิมอยู่ 4. ในกรณีอ่านพบเนื้อหาที่คล้ายคลึงกัน แต่มีประเด็นบางประเด็นที่ต่างกัน จากหนังสือ หรือ เอกสารมากกว่า 1 รายการ ก็ให้สรุปรวมเข้าเป็นเนื้อหาเดียวกัน และต้องทารายการอ้างอิงเพื่อบอกถึง แหล่งที่มาของข้อมูลข้างต้นต่อไป อนึ่งในการบันทึกและเรียบเรียงสารสนเทศนั้นควรทาอย่างเป็นระบบ ดังนี้
  • 2. 2 1. บันทึกสารสนเทศลงกระดาษขนาด A4 โดยกระดาษ 1 แผ่น ใช้บันทึก 1 หัวข้อตามโครงเรื่อง รายงาน และควรบันทึกเพียงหน้าเดียว กรณีหัวข้อนั้น เช่น หัวข้อ “ประวัติของการสื่อสารดาวเทียม” มีหนังสือ หรือเอกสารมากกว่า 1 รายการ ให้บันทึกสารสนเทศและแจ้งแหล่งที่มาของข้อมูลทั้งหมดไว้ในแผ่นนั้น (ดูตัวอย่างในหน้า 4) 2. ส่วนประกอบที่ต้องบันทึกไว้ ได้แก่ 2.1. แหล่งที่มาของสารสนเทศ พิมพ์ไว้ตอนบนของบัตร โดยบันทึกรายละเอียดต่อไปนี้ 2.1.1 รายละเอียดของสิ่งพิมพ์อย่างสั้น ๆ คือ ก. ชื่อผู้แต่ง/ชื่อผู้เขียนบทความ ข. ชื่อหนังสือ/ชื่อบทความ ค. ปี พ.ศ. /ค.ศ. ถ้าเป็นหนังสือ ใส่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ และปีพิมพ์ หากหนังสือ ไม่มีชื่อผู้แต่งให้เอาชื่อหนังสือขึ้นต้นเลย และถ้าหนังสือไม่ปรากฏปีพิมพ์ให้พิมพ์คาว่า ม.ป.ป. แทน ซึ่งย่อมาจากไม่ปรากฏปีพิมพ์ ถ้าเป็นบทความจากวารสาร ใส่ ชื่อผู้เขียนบทความ ชื่อเรื่องของ บทความ (ไม่ใช่ชื่อวารสาร) และปีพิมพ์ หากบทความนั้นไม่มีชื่อผู้เขียนบทความให้เอาชื่อเรื่อง บทความขึ้นต้นเลย ถ้าเป็นเว็บ (ทั้งเว็บเพจและเว็บบล็อก) ใส่ ชื่อผู้จัดทาเว็บ ชื่อเรื่องของ เว็บ และปีเผยแพร่ หากเว็บไม่มีชื่อผู้จัดทาให้เอาชื่อเรื่องของเว็บขึ้นต้นเลย และถ้าเว็บไม่ปรากฏปี เผยแพร่ให้พิมพ์คาว่า ม.ป.ป. แทน ซึ่งย่อมาจากไม่ปรากฏปีเผยแพร่ ถ้าเป็นสารานุกรม (ทั้งที่เป็นสารานุกรมฉบับสื่อสิ่งพิมพ์ และสารานุกรม ออนไลน์) ใส่ ชื่อผู้เขียน ชื่อเรื่องบทความ (เช่น เรือนไทย) และปีพิมพ์หรือปีเผยแพร่ หาก สารานุกรมไม่มีชื่อผู้เขียนให้เอาชื่อเรื่องบทความขึ้นต้นเลย และถ้าสารานุกรมไม่ปรากฏปีพิมพ์หรือปี เผยแพร่ให้พิมพ์คาว่า ม.ป.ป. แทน ซึ่งย่อมาจากไม่ปรากฏปีพิมพ์ อนึ่งแหล่งที่มาดังกล่าว (ยกเว้นชื่อหนังสือ/ชื่อบทความ) จะมีประโยชน์ในการ จัดทารายการอ้างอิงในเนื้อหาต่อไป 2.2. หัวข้อตามโครงเรื่องรายงาน พิมพ์ไว้มุมบนขวาของกระดาษ เพื่อประโยชน์ใน การเรียบเรียงเนื้อหาในขั้นตอนต่อไป 2.3. รายละเอียดของสารสนเทศ หรือเนื้อหาที่บันทึก - กรณีเป็นข้อความที่สรุปมา ไม่ต้องพิมพ์เลขหน้ากากับตรงข้อความเหล่านั้น - กรณีเป็นข้อความที่คัดลอกมา ให้ใส่เครื่องหมายอัญประกาศ (“.........”) กากับ ข้อความที่คัดลอกมา และระบุหมายเลขหน้ากากับไว้ด้วย เพื่อประโยชน์ในการจัดทารายการอ้างอิงใน ขั้นตอน ต่อไป
  • 3. 3 อนึ่งในการบันทึกเนื้อหาสาหรับแต่ละหัวข้อ ควรค้นคว้าและบันทึกจากหนังสือหรือ สิ่งพิมพ์หลาย ๆ เล่ม เป็นต้นว่าหัวข้อ “โครงสร้างและการทางานของตัวดาวเทียม” ควรค้นจากหนังสือ หลายเล่ม ค้นจากบทความ วารสารหรือหนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับ เพราะบางหัวข้อต้องค้นจากหลาย แหล่งจึงจะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้อง อย่างไรก็ตามบางหัวข้ออาจค้นได้จากแหล่งข้อมูลเพียงแหล่ง เดียว ในทานองเดียวกันหนังสือแต่ละเล่มอาจใช้ค้นได้เพียงหัวข้อเดียวหรือหลายๆ หัวข้อก็ได้ อนึ่งในการจดบันทึกเนื้อหาส่วนใหญ่จะทา 2 วิธี คือ สรุปความและคัดลอกข้อความ ดังนี้ 1. การสรุปความ (Summary Note) คือ การสรุปเอาแต่ใจความสาคัญของข้อความที่อ่าน และบันทึกด้วยสานวนภาษาของตนเองมากที่สุด 2. การคัดลอกข้อความมาโดยตรง (Quotation Note) ใช้เมื่อข้อความนั้นอย่างน้อยอยู่ ในเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 2.1. เป็นข้อความที่เขียนไว้อย่างดีมาก ถ้อยคาสานวนกะทัดรัดชัดเจน ซึ่งถ้า จะถอดความเป็นภาษาของผู้เขียนรายงานเองแล้วอาจทาได้ไม่ดีเท่าเดิม เช่น คาจากัดความของ คาศัพท์ เป็นต้น 2.2 เป็นข้อความที่มีความยาวไม่มากจนเกินไป ต่อไปจะเป็นตัวอย่างของการบันทึกสารสนเทศแบบสรุปความและแบบคัดลอกข้อความ
  • 4. 4 แหล่งที่มาของสารสนเทศ ตัวอย่างการจดบันทึกแบบสรุปความ หัวข้อตามโครงเรื่องรายงาน ประวัติ ประสิทธิ์ ทีฆพุฒ.ิ การสื่อสารดาวเทียม. 2537. สมอนงค์ เจริญศรี. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับดาวเทียม. ม.ป.ป. วันที่ 4 ต.ค. 2500 รัสเซียเป็นประเทศแรกที่สามารถส่งดาวเทียมดวงแรกของโลกขึ้นโคจรอยู่ใน อวกาศ ดาวเทียมดวงแรกใช้ชอว่า Sputnik หลังจากนั้นก็มีดาวเทียมอีกจานวนนับร้อยถูกส่งขึ้นไป ื่ โคจรในอวกาศเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ กัน การพัฒนาของการสื่อสารทางอวกาศ นับตั้งแต่ก่อนการส่งดาวเทียมดวงแรกจนกระทังหลังจากส่ง ่ อาจสรุปได้ดังนี้ 2475 สหรัฐฯ ได้ทาการทดลองวัดสัญญาณรบกวนจากกาแลกซีโดยอาศัยวิทยุดาราศาสตร์ 2481 ญี่ปุ่นได้ทาการทดลองวัดสัญญาณรบกวนจากแสงอาทิตย์โดยอาศัยวิทยุดาราศาสตร์ 2488 ชาวอังกฤษชื่อ Arthur C. Clark แนะนาโครงสร้างของโครงการสื่อสารดาวเทียมที่ลอยอยู่กับ ที่ (Stationary Satellite) 2489 สหรัฐฯ ใช้เรดาร์ตรวจจับ Lunar Echo 2500 J. H. Trexler แห่งสหรัฐฯ ใช้ดวงจันทร์เป็นสถานีทบทวนสัญญาณแบบ Passive เป็นการ สื่อสารโทรคมนาคมระหว่างจุด 2 จุดบนโลก โดยอาศัยการสะท้อนกลับของเสียงเมื่อกระทบพื้นผิวดวง จันทร์ 2500 รัสเซียทดลองระบบวิทยุ โดยผ่านดาวเทียม Sputnik 2501 กองทัพอากาศสหรัฐฯ ทาการส่งบันทึกเสียงผ่านดาวเทียม 2503 องค์การนาซาของสหรัฐฯ ทาการสารวจอุตุนิยมศาสตร์ผ่านดาวเทียม Tarios I 2503 กองทัพอากาศสหรัฐฯ ส่ง Passive Relay ของโทรศัพท์และ TV ผ่านดาวเทียม Echo I 2503 กองทัพบกสหรัฐฯ ทาการทดสอบการ Delayed Relay ผ่านดาวเทียม Courier IB เนื้อหา
  • 5. 5 ตัวอย่างการจดบันทึกแบบสรุปความ (ข้อมูลจากเว็บ) โครงสร้างและการทางานของดาวเทียม--ระบบสายอากาศ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนนทบุรี. การสื่อสารดาวเทียม Satellite Communication. 2553. ระบบสายอากาศที่ใช้ในตัวดาวเทียมมีอยู่ด้วยกัน 4 แบบ ได้แก่ แบบ Wire, Horn, Reflector และ Array ที่อยู่ในบริเวณที่สายอากาศของดาวเทียมสามารถให้บริการได้ โดยเรียกว่าพื้นที่ ครอบคลุมโดยที่ขอบเขตของ Zone ถูกกาหนดโดยบริเวณขอบที่ระดับสัญญาณเป็นครึ่งหนึ่งของกาลัง สัญญาณสูงสุดโดยเรียกว่า 3dB-Beamwidth สาหรับสายอากาศแบบ Wire เช่น ไดโพล หรือโมโน โพลนั้นใช้กับความถี่ในย่าน VHF และใช้ในส่วนของระบบ TT&C UHF ส่วนสายอากาศแบบ Horn ใช้ในย่านความถี่ไมโครเวฟซึ่งจะให้บีมแบบกว้าง หรือที่เรียกว่า Global Coverage แต่ว่า ระบบสายอากาศแบบ Horn นี้สามารถสร้างให้มีอัตราขยายได้สูงสุดประมาณ 23 dB เท่านั้น และ Beamwidth ก็แคบได้เพียง 10 องศา ถ้าต้องการให้มีอัตราขยายที่สูง และบีมที่แคบลงกว่านี้ก็จะต้อง ใช้สายอากาศแบบ Reflector หรือ Array ตัวอย่างการจดบันทึกแบบคัดลอกข้อความมาทั้งหมด วงโคจรของดาวเทียม รัชนัย อินทุใส. การสื่อสารดาวเทียม. 2538. “ดาวเทียมมีช่วงของวงโคจรที่ใหญ่มาก แต่ไม่ได้ใช้ทุกช่วงของวงโคจรสาหรับการสื่อสาร วงโคจร ที่สาคัญที่ใช้งานกันอยู่จะใช้เวลาในการโคจรรอบหนึ่ง 24 ชั่วโมง ที่ความสูง 35,786 กิโลเมตร จากพื้นผิวโลก ณ จุดเส้นศูนย์สูตร เป็นวงโคจรที่ใช้มากที่สุดสาหรับดาวเทียมสื่อสาร เช่น ดาวเทียม INTELSAT, EUTELSAT, INMARSAT เป็นต้น” (หน้า 3) อนึ่งในการบันทึกสารสนเทศในหัวข้อเดียวกัน (เช่น การประยุกต์ใช้ระบบสื่อสารผ่าน ดาวเทียมในปัจจุบัน) อาจมีทั้งข้อความที่สรุปมา และคัดลอกมาก็ได้ เพียงแต่ถ้าเป็นข้อความที่คัดลอก มาให้ใส่เครื่องหมายอัญประกาศกากับไว้เพื่อทาการอ้างอิงต่อไป แต่ถ้าเป็นการบันทึกข้อคิดเห็นของ ผู้เขียนรายงานในหัวข้อเดียวกันควรแยกบัตรบันทึกต่างหาก ดังตัวอย่าง
  • 6. 6 ตัวอย่างการจดบันทึกที่มีทั้งข้อความที่สรุปมาและคัดลอกมาอยู่ในบัตรเดียวกัน การประยุกต์ใช้ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมในปัจจุบัน บริษัทสามารถเทลคอม จากัด (มหาชน). เปิดโลกทัศน์สู่การสื่อสารผ่านดาวเทียม. 2542. เล่ม 3. ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม สามารถนามาประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ คือ 1. ด้านธุรกิจ 2. งานบริการสาธารณะ 3. งานในชีวิตประจาวัน 1. ด้านธุรกิจ ได้แก่ 1.1 ธนาคาร 1.2 ธุรกิจซื้อขายหลักทรัพย์และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ 1.3 ระบบกระจายข่าวสารและข้อมูลผ่านดาวเทียม เช่น ธุรกิจการให้บริการข่าวสาร ระบบ วิดีโอคอนเฟอร์เรนซ์สาหรับธุรกิจ (Video Conference) 1.4 หนังสือพิมพ์กับเทคโนโลยีการสื่อสารผ่านดาวเทียม ธนาคาร ธุรกิจธนาคารนับเป็นธุรกิจแรกๆ ที่พัฒนาการนาระบบคอมพิวเตอร์ Online มาใช้อย่างจริงจัง ในประเทศไทย ทาให้การบริหารระบบงานและการทางานของสาขาธนาคารมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และบริการลูกค้าได้อย่างสะดวก รวดเร็ว หน้า 12 " ระบบงานที่ธนาคารนาระบบสื่อสารผ่านดาวเทียมมาใช้ ได้แก่ 1. ระบบเงินฝาก ถอน โอน ที่สาขา 2. ระบบเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine--ATM) 3. ระบบบริหารงานสาขาและสานักงานอัตโนมัติ 4. ระบบตรวจสอบบัตรเครดิต (Credit Card Authorization) " ***********************************
  • 7. 7 บรรณานุกรม คู่มือผู้สอนวิชา 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information Literacy skills). (2551). สืบค้นจาก www.rtc.ac.th/download/ar250951/130-teachermanual-51.doc ฉัตรกมล อนนตะชัย. (ม.ป.ป.). บทที่ 6 การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (Evaluate, Analysis, Synthesis) [เพาวเวอร์พอยด์สไลด์]. สืบค้นจาก http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&frm=1&source=web&cd=8&ved=0CFcQFjAH&url =http%3A%2F%2Fshypoj.files.wordpress.com%2F2012%2F10%2Fe0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 6-e0b881e0b8b2e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b0e0b980e0b8a1e0b8b4e0b899e0b8a7e0b8b4e0b980e0b884e0b8a3e0b8b2.pptx&ei=4_QSU7C_IZGkiQfg0oDoAg&usg=AFQjCNHYrP V8UT7H72zxQQI_oJtRNi69YA&bvm=bv.62286460,d.aGc วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2556). การวิเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2557, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/การวิเคราะห์ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2556). การสังเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2557, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/การสังเคราะห์ เอกสารประกอบการสอนวิชา 00-021-101 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy). (2553). สืบค้นจาก http://dc250.4shared.com/doc/KcmiFpRT/preview.html