SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 13
พฤติกรรมสารสนเทศ
information behavior
นางสาวนงค์นุช สิงห์จันทร์
รหัสประจาตัวนักศึกษา 2571000302
หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลๆ หนึ่ง เพื่อจะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือ
สารสนเทศด้วยวิธีหรือช่องทางต่างๆ ที่จะนาไปสู่ข้อมูลที่ต้องการ เช่น ดูรายการสารคดี
ทางโทรทัศน์ เข้าห้องสมุด และเข้าถึงข้อมูลนั้นโดยผ่าน Internet เป็นต้น ซึ่งความ
ต้องการสารสนเทศ และพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความต้องการสารสนเทศของแต่ละคนนั้น
แตกต่างกัน เป็นเพราะเกิดจากภาวะ หรืออุปสรรคที่ทาให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่
ตนต้องการได้ เช่น ภาวะด้านจิตใจ ภาวะแวดล้อม เป็นต้น
พฤติกรรมสารสนเทศ ครอบคลุมกิจกรรมสาคัญ 2 กิจกรรม คือ
การค้นหาสารสนเทศที่ต้องการด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม และการใช้สารสนเทศ
หรือการส่งต่อสารสนเทศนั้นๆ ไปยังผู้อื่นต่อไป
13.1 แนวคิดและตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information seeking behavior) คือ การแสวงหา
สารสนเทศ อย่างมีวัตถุประสงค์ โดยเป็นผลมาจากความต้องการใดต้องการหนึ่ง และทา
ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้แสงหาสารสนเทศกับระบบสารสนเทศที่ใช้ เช่น ห้องสมุด
หนังสือพิมพ์ เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นต้น
พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (Information search behavior) พฤติกรรมระดับ
จุลภาคที่ผู้ค้นหาสารสนเทศมีปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะ การใช้อุปกรณ์ การใช้
เม้าส์ คีบอร์ด และการใช้ความคิดสติปัญญา ความรู้ในการสืบค้นสารสนเทศ การใช้ตรรกะบูลีน
การตัดสินใจเลือกสารสนเทศ
ความหมายของพฤติกรรม ของ วิลสัน (Wilson,2000:50)
พฤติกรรมสารสนเทศ (information behavior) พฤติกรรมโดยรวมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับ
แหล่งและช่องทางการสื่อสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศและ
พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ
 พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุม พฤติกรรมการแสวงหา
และพฤติกรรม การใช้สารสนเทศ
 พฤติกรรมสารสนเทศ เกิดจากความต้องการสารสนเทศ
 ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศโดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศ
ทั้งเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ
 ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยน
exchange) และถ่ายโอนสารสนเทศไปยังผู้อื่นด้วย (information
 ผลของการแสวงหาสารสนเทศอาจจะสาเร็จหรือล้มเหลว
ย้อนไปค้นหาอีกครั้ง
เมื่อได้สารสนเทศก็จะนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์
วิลสัน เสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ ใน ค.ศ.
1981
มีแนวคิดสาคัญดังนี้
13.2 ความหมาย ความต้องการสารสนเทศ (Information Need)
คือ ภาวะที่บุคคลตระหนักถึง ช่องว่างทางความรู้ หรือขาดสารสนเทศ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีปัญหาทีต้องการแก้ไข หรือมีคาถามที่
ต้องการคาตอบ แต่พบว่าสารสนเทศ หรือ ความรู้ที่ตนมีอยู่นั้นไม่เพียงพอที่แก้ปัญหา หรือตอบคาถาม จึงนาไปสู่พฤติกรรม
แสวงหาสารสนเทศ (Poa,1989:41 ;Westbrook.1995:330-331)
ความต้องการสารสนเทศ มีลักษณะซับซ้อน เป็นพลวัต เปลี่ยนแปลงตลอดกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ (Changing
need ) งานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศโดยผ่านตัวกลาง เช่น บรรณารักษ์
หรือนักสารสนเทศ
ประเภทความต้องการสารสนเทศ จาแนกได้2 ประเภท คือ 2.1 ความต้องการสารสนเทศตามเงื่อนไขทางเวลา เช่น
ความต้องการเร่งด่วนที่ต้องได้รับการตอบสนองโดยทันที มิฉะนั้น สารนิเทศที่ได้รับก็ไม่มีประโยชน์ 2.2 ความต้องการ
สารสนเทศตามขอบเขตของความต้องการ ได้แก่ ความต้องการที่มีขอบเขตกว้าง (expansive need) คือ ผู้ใช้ต้องการขยาย
ขอบเขตความรู้ของตนในเรื่องหนึ่งออกไป ความต้องการที่แคบ (narrowing need) คือ ผู้ใช้ที่รู้ความต้องการสารสนเทศของตน
อย่างดี ในระหว่างการค้นหาจะจากัดขอบเขตการค้นหาให้แคบลงเรื่อย ๆ สาหรับ ความต้องการที่ตรงเป้ าหมาย(focused
need) นั้น ผู้ใช้สามารถระบุได้ทันทีว่าสารสนเทศที่ค้นหาได้นั้นถูกต้องเหมาะสม ไม่จาเป็นต้องขยายหรือจากัดขอบเขตในการค้นหา
ตัวแบบความต้องการสารสนเทศ  เน้นบทบาทของผู้ใช้ ในระบบค้นคืนสารสนเทศ เปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการ
สารสนเทศ ที่มีลักษณะคงที่ตายตัว มาสู่ความต้องการสารสนเทศ ที่มีลักษณะซับซ้อน หลากหลาย แปรเปลี่ยนไปตามปัจจัยต่างๆ (
ปัจจัยส่วนบุคคล สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมเฉพาะ)  ให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อความต้องการและ
พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้ นาเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ เข้ามาผสมผสานกังเทคนิคเชิงปริมาณ
ตัวแบบความต้องการสารสนเทศที่สาคัญ มี 3 ตัวแบบ
1. ตัวแบบความต้องการแสดงออกถึงระดับความต้องการสารสนเทศของบุคคล ของ Robert S
taylor
แสดงให้เห็นความเป็ นพลวัตและความซับซ้อนใน
แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการสารสารเทศ
การระบุความต้องการสารสนเทศผู้ใช้ต้องผ่านกระบานการถามคาถามใน 4 ระดับ
ดังนี้
1. ระดับจิตใต้สานัก รู้ตัว หรือ ไม่รู้ตัว ไม่สามารถระบุความต้องการออกมา
ได้
2. ระดับจิตสานึก เป็ นรูปร่างขึ้นในสมองของผู้ใช้ คลุมเครือ ต้องสอบถาม
ผู้อื่น
3. ระดับที่แสดงออกถึงความต้องการ ผู้ใช้รู้ความต้องการสารสนเทศได้
ชัดเจน
2. ตัวแบบความต้องการสารสนเทศในสภาพแวดล้อมทางการงาน ของ Wilson
พฤติกรรมการต้องการสารสนเทศเกิดจากความ
ต้องการพื้นฐานทั้ง 3 ด้าน ของมนุษย์ คือ
1) ความต้องการทางกาย (ความหิว กระหาย)
2) ทางอารมณ์ (ความอยากรู้อยากเห็น ต้องการ
ความสาเร็จ แสดงออก มีอานาจเหนือผู้อื่น ต้องการการ
ยอมรับจากสังคม) 3 ) ทางสติปัญญา (ต้องการรู้เละ
เข้าใจ เพื่อจัดระเบียบ วางแผน และมีทักษะเพื่อ
ตัดสินใจ)
ความต้องการสารสนเทศเกิดจากสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพอื่นๆ เช่น ที่ทางาน สังคม เศรษฐกิจ การเมือง
ในการแสวงหาสารสนเทศอาจมีอุปสรรค
ส่วนบุคคล ระหว่างบุคคล และจากสิ่งแวดล้อม
3. ตัวแบบการศึกษาความต้องการสารสนเทศของบุคคล
โดยใช้
วิธี Sense - making ของ Brenda Dervin
เป็ นตัวแบบที่เดอร์วินและคณะ พัฒนาขึ้นในสาขาพฤติกรรมการ
สื่อสาร แต่นามาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายในสาขาบรรณารักษศาสตร์
และสารสนเทศศาสตร์ ด้านพฤติกรรมสารสนเทศ
องค์ประกอบสาคัญ 4 ประการ 1) สถานการณ์ที่บุคคลประสบปัญหา
(situation) 2) ช่องว่าง หรือ ภาวะที่ต้องใช้สารสนเทศในการแก้ปัญหา
(gap) 3) การใช้สารสนเทศเชื่อมโยงช่องว่าง (bridge) 4) ผลลัพธ์ ได้แก่
ความรู้ ความเข้าใจ (sense)
การใช้วิธีเซ็นส์เมกกิ้ง เน้นกระบวนการ
สื่อสาร คือ การสนเทนา ซักถาม เพื่อให้
เข้าใจและความต้องการและแสวงหา
สารสนเทศของบุคคล เน้นวิธี วิจัยเชิง
คุณภาพ ได้แก่ การสัมภาษณ์ และการ
พฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง เป็นการแสวงหาสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์
โดยเป็นผลมาจากความต้องการใด ความต้องการนึ่ง ทั้งนี้ในระหว่างแสวงหาสารสนเทศ
บุคคลผู้นั้นจึงต้องปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ
13.3 แนวคิดและตัวแบบการแสวงหาสารสนเทศ
พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ คือ พฤติกรรมระดับจุลภาคที่ผู้ค้นต้อปฏิสัมพันธ์กับ
ระบบการค้นคืน ในสภาพแวดล้อมของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าเป็นในระบบปฏิบัติ
อาทิ การใช้เมาท์ หรือในระดับการใช้ความคิด สติปัญญาและความรู้ เช่น การใช้ตรรกะบู
เลียน
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง และวิธีการ
วิจัยชิงคุณภาพ หรือใช้วิธีวิจัยทั้ง 2 วิธี
พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ + พฤติกรรมค้นหาสารสนเทศ = พฤติกรรมสารสนเทศ
พัฒนาการและแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
 ค.ศ. 1948 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เป็ นแนวคิดที่ปรากฏอยู่ในงานศึกษาวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
 เน้นศึกษาการใช้แหล่งสารสนเทศทางบรรณานุกรม ใน
รูปแบบ เช่น สาระสังเขป บทความ การใช้ห้องสมุด ฯลฯ
เน้นการใช้ระบบสารสนเทศมากกว่าพฤติกรรมของผู้ใช้ 
กลางทศวรรษ 1970 เริ่มศึกษาความต้องการ
สารสนเทศของผู้ใช้ นักวิจัย ได้แก่ เทเลอร์(Tayior) เดอร์
วิน(Dervin) เบลคิน(Belkin) และวินสัน(Winson) ได้เสนอ
แนวคิดและเริ่มศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศ
ตัวแบบพื้นฐานวางบนหลักการของความแน่นอนและเป็ นระบบระเบียบ
ระบบเน้นการค้นหาที่จะให้เพียงข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบต่างๆโดยมีสมมุติฐาน ดังนี้
- ผู้ใช้ต้องรู้ความต้องการสารสนเทศขอตนเองอย่างชัดเจน - ความต้องการสารสนเทศไม่เปลี่ยนแปลง
- พฤติกรรมการค้นหาของผู้ใช้ประกอบด้วยแรงจูใจในการค้นคว้ามีความสมเหตุนมผล และมีระเบียบ
ลักษณะสาคัญตัวแบบการศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ แบบดั้งเดิม
3 ตัวแบบ ได้แก่ 1) ตัวแบบกระบวนการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส
2) ตัวแบบเบอรีพิกกิงของเบทส์ (Berry-picking Model )
3) ตัวแบบกระบวนการค้นหาสารสนเทศของคัลเธา (Information Search
Process : ISP)
ตัวแบบทั้ง 3 เป็นผลการศึกษาวิจัยและสะท้อนให้เห็นพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
สอดคล้องกับพฤติกรรมที่แท้จริง
ตัวแบบสาคัญเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 แนวทางการศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
เป็นผลจาการการศึกษาวิจัย เน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลางวิธีการศึกษาจากเชิงเชิง
คุณภาพ หรือใช้ทั้งผสมผสาน(เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) พิจารณาถึงความต้องการ
หรือปัญหาสารสนเทศของผู้ใช้ที่มีลักษณะเป็นพลวัตขึ้นอยู่กับความหลากหลายของบริบท
สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมการแสวงหา / การค้นหาสารสนเทศที่แท้จริง
ลักษณะสาคัญของตัวแบบการศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
ตัวแบบใหม่
 ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส เป็นผลงานวิจัยคุณภาพซึ่งเอลลิส
ใช้วิธีสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง เพื่อศึกษากิจกรรมแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้าน
สังคมศาสตร์ 3 กลุ่ม ที่มหาวิทยาลัยเชฟฟิ ลด์ คือ 1. นักวิจัยในหน่วยวิจัยต่างๆ และ
นักวิชาการในสาขาจิตวิทยา 2. นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์สาขาอื่นๆ และ3. นักวิชาการด้าน
สังคมศาสตร์ที่ได้ค้นหาสารสนเทศออนไลน์
ประกอบด้วย พฤติกรรม (กิจกรรม) 8 ประการ ได้แก่ 1) การเริ่มต้น (starting) 2)
การเชื่อมโยง (chaining3) การสารวจเลือกดู (browsing) 4) การแยกแยะ
(differentiating) 5) การตรวจตรา (monitoring 6) การดึงสารสนเทศ
ออกมา (extracting) 7) การตรวจสอบ (verifying) 8) การจบ (ending)
 มีประโยชน์ต่อการออกแบบระบบการค้นคืนสารสนเทศ โดยเฉพาะ ระบบไฮเปอร์เท็กซ์
1) ตัวแบบกระบวนการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส
 Berry-picking Model เป็นการเปรียบเทียบกระบวนการค้นหาสารสนเทศกับการเก็บ
ลูกเบอรี่ที่ต้องเก็บที่ละลูก ผู้ใช้เริ่มจากการค้นหาสารสนเทศจากจุดใดจุดหนึ่งแล้วค้นหาต่อไป
เรื่อยๆ จากแหล่งสารสนเทศที่หลากหลาย
การตอบสนองความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผลการค้นคืนเพียงครั้ง
เดียว แต่จะขึ้นอยู่กับสารสนเทศชิ้นเล็กชิ้นน้อยที่เก็บได้ระหว่างทาง และการแวะเก็บแต่ละครั้งจะมี
การปรับแก้คาค้นใหม่ไปเรื่อยๆ โดยเน้นการสารวจเลือกดูแบบผาดๆ (browsing) ซึ่งเป็นการ
ค้นหาแบบไร้ทิศทางหรือแบบกึ่งมีทิศทาง
เป็นตัวแบบสาหรับการค้นหาสารสนเทศระบบออนไลน์และระบบอื่น
 มีประโยชน์สาหรับการออกแบบระบบโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนของฐานข้อมูล
และส่วนต่อประสาน
2.ตัวแบบเบอรีพิกกิงของเบทส์ ของ Marcia Bates
ตัวแบบเบอรรีพิกกิง มีความแตกต่างจากตัวแบบการสืบคืนสารสนเทศพื้นฐาน 4 ประการ คือ
1) ลักษณะของข้อคาถามจะไม่คงที่แต่จะมีวิวัฒนาการไปเรื่อย ๆ
2) ผู้ใช้จะได้รับสารสนเทศทีละเล็กน้อยแทนที่จะได้รับสารสนเทศคราวละมาก ๆ
3) ผู้ค้นหาสารสนเทศจะใช้เทคนิคที่หลากหลายมากกว่าการค้นคืนจากรายการบรรณานุกรมใน
ฐานข้อมูลเพียงอย่างเดียว
4) ผู้ใช้จะแสวงหาสารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศที่หลากหลายมากขึ้นกว่าการใช้เพียงแค่การค้นคืน
สารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมเท่านั้น
ตัวแบบเบอรรีพิกกิง การนาเสนอกลยุทธ์การสืบคืนสารสนเทศที่สาคัญ 5 ประการ ได้แก่
1. การติดตามเชิงอรรถ (footnote chasing) 2. การค้นหาจากตัวเล่มวารสาร(journal run)
3. การสารวจชั้นหนังสือ (area scanning) 4. การสืบค้นในบริการบรรณานุกรมและดรรชนี
และสาระสังเขป (subject searches in bibliographies and abstracting and indexing services)
5. การสืบค้นจากชื่อผู้แต่ง (author searching)
Information Search Process (ISP) ของ Carol Kuhlthau
กระบวนการค้นหาสารสนเทศ ขึ้นอยู่กับความรู้สึกนึกคิด และทัศนคติของผู้ใช้ ในระหว่าง
ค้นหาสารสนเทศ เช่น ความสับสน ลังเล ไม่แน่ใจ เกิดข้อสงสัยและปัญหา ตลอดจนเกิดความมั่นใจ
ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ การเริ่มงาน (initiation) -> การเลือกเรื่อง (selection) -> การ
สารวจ (exploration) -> การสร้างกรอบแนวคิดของเรื่องที่ต้องการ formation) -> การรวบรวม
collection) -> การนาเสนอและจบกระบวนการ (Presentation )
แต่ทุกขั้นตอนจะประกอบไปด้วย 4 แง่มุม คือ ความคิด (Thoughts), ความรู้สึก (Feelings),
การกระทา (Actions), กลยุทธ์ (Strategies)
Tasks Initiation Selection Exploration Formulation Collection Presentation
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------→
Feelings uncertainly optimism confusion clarity sense of
satisfaction or
(affective) frustration direction/
disappointment
doubt confidence
Thoughts vague-------------------------------------→focused
(cognitive) --------------------------------------------
---→
increased interest
Actions seeking relevant information----------------------------→seeking pertinent information
(physical) exploring documenting

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ณัฐพล บัวพันธ์
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
Chainarong Maharak
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
NATTAWANKONGBURAN
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
Earnzy Clash
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
shikapu
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
พัน พัน
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
Sircom Smarnbua
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
Rujroad Kaewurai
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 

What's hot (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 

Viewers also liked

พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศ
Nuttaput Suriyakamonphat
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
Carol Kuhlthau
Carol KuhlthauCarol Kuhlthau
Carol Kuhlthauaunder79
 
การเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศการเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศ
nim_nenuphar
 
เฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdf
เฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdfเฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdf
เฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdfpeter dontoom
 
Isp (1) (1)
Isp (1) (1)Isp (1) (1)
Isp (1) (1)
Punjab University
 
Kuhlthau's ISP PowerPoint in PDF format
Kuhlthau's ISP PowerPoint in PDF formatKuhlthau's ISP PowerPoint in PDF format
Kuhlthau's ISP PowerPoint in PDF format
Lori Franklin
 
การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)
การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)
การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)
newskyline2012
 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศNamin Kt
 
Wilson 1981 model barriers
Wilson 1981 model  barriersWilson 1981 model  barriers
Wilson 1981 model barriersPallavi Belkar
 
ellis model of information seeking behaviour
ellis model of information seeking behaviourellis model of information seeking behaviour
ellis model of information seeking behaviournatashagandhi11
 
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีกระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
Peerapong001
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
Nuttaput Suriyakamonphat
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
Srion Janeprapapong
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)
Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)
Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)
Charles (XXC) Chen
 
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำสมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
Mansong Manmaya สุทธการ
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 

Viewers also liked (20)

พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศ
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
Carol Kuhlthau
Carol KuhlthauCarol Kuhlthau
Carol Kuhlthau
 
การเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศการเข้าถึงสารสนเทศ
การเข้าถึงสารสนเทศ
 
เฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdf
เฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdfเฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdf
เฉลยกฏหมายลิขสิทธิ์มอปลายPdf
 
Isp (1) (1)
Isp (1) (1)Isp (1) (1)
Isp (1) (1)
 
Kuhlthau's ISP PowerPoint in PDF format
Kuhlthau's ISP PowerPoint in PDF formatKuhlthau's ISP PowerPoint in PDF format
Kuhlthau's ISP PowerPoint in PDF format
 
การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)
การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)
การเก็บข้อมูลความต้องการ (User requrire ment)
 
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศแนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
Wilson 1981 model barriers
Wilson 1981 model  barriersWilson 1981 model  barriers
Wilson 1981 model barriers
 
ellis model of information seeking behaviour
ellis model of information seeking behaviourellis model of information seeking behaviour
ellis model of information seeking behaviour
 
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีกระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
ระบบฐานข้อมูลเรื่องค้าปลีก
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)
Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)
Information Behavior: Theories, Models & Studies (20091208)
 
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำสมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 

Similar to น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
Sakonwan Na Roiet
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
Rujroad Kaewurai
 
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศกลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
Lhing Srijandaree
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsomdetpittayakom school
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
CUPress
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
supimon1956
 
การสืบค้น
การสืบค้นการสืบค้น
การสืบค้น
ksitt
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
'มะ ม่ะม่ะ มิ้นท์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4dechathon
 
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Connectivism Learning
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Connectivism Learning
 

Similar to น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2 (20)

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
 
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศกลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
การสืบค้น
การสืบค้นการสืบค้น
การสืบค้น
 
เค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอมเค้าโครงโครงงานคอม
เค้าโครงโครงงานคอม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals...
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
 
knowledgebasesociety
knowledgebasesocietyknowledgebasesociety
knowledgebasesociety
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
Slide จริยธรรมคอมพิวเตอร์
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2

  • 1. หน่วยที่ 13 พฤติกรรมสารสนเทศ information behavior นางสาวนงค์นุช สิงห์จันทร์ รหัสประจาตัวนักศึกษา 2571000302
  • 2. หมายถึง พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลๆ หนึ่ง เพื่อจะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศหรือ สารสนเทศด้วยวิธีหรือช่องทางต่างๆ ที่จะนาไปสู่ข้อมูลที่ต้องการ เช่น ดูรายการสารคดี ทางโทรทัศน์ เข้าห้องสมุด และเข้าถึงข้อมูลนั้นโดยผ่าน Internet เป็นต้น ซึ่งความ ต้องการสารสนเทศ และพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความต้องการสารสนเทศของแต่ละคนนั้น แตกต่างกัน เป็นเพราะเกิดจากภาวะ หรืออุปสรรคที่ทาให้ไม่สามารถแสวงหาสารสนเทศที่ ตนต้องการได้ เช่น ภาวะด้านจิตใจ ภาวะแวดล้อม เป็นต้น พฤติกรรมสารสนเทศ ครอบคลุมกิจกรรมสาคัญ 2 กิจกรรม คือ การค้นหาสารสนเทศที่ต้องการด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม และการใช้สารสนเทศ หรือการส่งต่อสารสนเทศนั้นๆ ไปยังผู้อื่นต่อไป 13.1 แนวคิดและตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
  • 3. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information seeking behavior) คือ การแสวงหา สารสนเทศ อย่างมีวัตถุประสงค์ โดยเป็นผลมาจากความต้องการใดต้องการหนึ่ง และทา ให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้แสงหาสารสนเทศกับระบบสารสนเทศที่ใช้ เช่น ห้องสมุด หนังสือพิมพ์ เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นต้น พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ (Information search behavior) พฤติกรรมระดับ จุลภาคที่ผู้ค้นหาสารสนเทศมีปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะ การใช้อุปกรณ์ การใช้ เม้าส์ คีบอร์ด และการใช้ความคิดสติปัญญา ความรู้ในการสืบค้นสารสนเทศ การใช้ตรรกะบูลีน การตัดสินใจเลือกสารสนเทศ ความหมายของพฤติกรรม ของ วิลสัน (Wilson,2000:50) พฤติกรรมสารสนเทศ (information behavior) พฤติกรรมโดยรวมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับ แหล่งและช่องทางการสื่อสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศและ พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ
  • 4.  พฤติกรรมสารสนเทศครอบคลุม พฤติกรรมการแสวงหา และพฤติกรรม การใช้สารสนเทศ  พฤติกรรมสารสนเทศ เกิดจากความต้องการสารสนเทศ  ผู้ใช้แสวงหาสารสนเทศโดยใช้ระบบหรือบริการสารสนเทศ ทั้งเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ  ในกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยน exchange) และถ่ายโอนสารสนเทศไปยังผู้อื่นด้วย (information  ผลของการแสวงหาสารสนเทศอาจจะสาเร็จหรือล้มเหลว ย้อนไปค้นหาอีกครั้ง เมื่อได้สารสนเทศก็จะนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ วิลสัน เสนอตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ ใน ค.ศ. 1981 มีแนวคิดสาคัญดังนี้
  • 5. 13.2 ความหมาย ความต้องการสารสนเทศ (Information Need) คือ ภาวะที่บุคคลตระหนักถึง ช่องว่างทางความรู้ หรือขาดสารสนเทศ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีปัญหาทีต้องการแก้ไข หรือมีคาถามที่ ต้องการคาตอบ แต่พบว่าสารสนเทศ หรือ ความรู้ที่ตนมีอยู่นั้นไม่เพียงพอที่แก้ปัญหา หรือตอบคาถาม จึงนาไปสู่พฤติกรรม แสวงหาสารสนเทศ (Poa,1989:41 ;Westbrook.1995:330-331) ความต้องการสารสนเทศ มีลักษณะซับซ้อน เป็นพลวัต เปลี่ยนแปลงตลอดกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ (Changing need ) งานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศโดยผ่านตัวกลาง เช่น บรรณารักษ์ หรือนักสารสนเทศ ประเภทความต้องการสารสนเทศ จาแนกได้2 ประเภท คือ 2.1 ความต้องการสารสนเทศตามเงื่อนไขทางเวลา เช่น ความต้องการเร่งด่วนที่ต้องได้รับการตอบสนองโดยทันที มิฉะนั้น สารนิเทศที่ได้รับก็ไม่มีประโยชน์ 2.2 ความต้องการ สารสนเทศตามขอบเขตของความต้องการ ได้แก่ ความต้องการที่มีขอบเขตกว้าง (expansive need) คือ ผู้ใช้ต้องการขยาย ขอบเขตความรู้ของตนในเรื่องหนึ่งออกไป ความต้องการที่แคบ (narrowing need) คือ ผู้ใช้ที่รู้ความต้องการสารสนเทศของตน อย่างดี ในระหว่างการค้นหาจะจากัดขอบเขตการค้นหาให้แคบลงเรื่อย ๆ สาหรับ ความต้องการที่ตรงเป้ าหมาย(focused need) นั้น ผู้ใช้สามารถระบุได้ทันทีว่าสารสนเทศที่ค้นหาได้นั้นถูกต้องเหมาะสม ไม่จาเป็นต้องขยายหรือจากัดขอบเขตในการค้นหา ตัวแบบความต้องการสารสนเทศ  เน้นบทบาทของผู้ใช้ ในระบบค้นคืนสารสนเทศ เปลี่ยนแนวคิดเกี่ยวกับความต้องการ สารสนเทศ ที่มีลักษณะคงที่ตายตัว มาสู่ความต้องการสารสนเทศ ที่มีลักษณะซับซ้อน หลากหลาย แปรเปลี่ยนไปตามปัจจัยต่างๆ ( ปัจจัยส่วนบุคคล สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมเฉพาะ)  ให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อความต้องการและ พฤติกรรมสารสนเทศของผู้ใช้ นาเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ เข้ามาผสมผสานกังเทคนิคเชิงปริมาณ
  • 6. ตัวแบบความต้องการสารสนเทศที่สาคัญ มี 3 ตัวแบบ 1. ตัวแบบความต้องการแสดงออกถึงระดับความต้องการสารสนเทศของบุคคล ของ Robert S taylor แสดงให้เห็นความเป็ นพลวัตและความซับซ้อนใน แนวคิดเกี่ยวกับความต้องการสารสารเทศ การระบุความต้องการสารสนเทศผู้ใช้ต้องผ่านกระบานการถามคาถามใน 4 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับจิตใต้สานัก รู้ตัว หรือ ไม่รู้ตัว ไม่สามารถระบุความต้องการออกมา ได้ 2. ระดับจิตสานึก เป็ นรูปร่างขึ้นในสมองของผู้ใช้ คลุมเครือ ต้องสอบถาม ผู้อื่น 3. ระดับที่แสดงออกถึงความต้องการ ผู้ใช้รู้ความต้องการสารสนเทศได้ ชัดเจน
  • 7. 2. ตัวแบบความต้องการสารสนเทศในสภาพแวดล้อมทางการงาน ของ Wilson พฤติกรรมการต้องการสารสนเทศเกิดจากความ ต้องการพื้นฐานทั้ง 3 ด้าน ของมนุษย์ คือ 1) ความต้องการทางกาย (ความหิว กระหาย) 2) ทางอารมณ์ (ความอยากรู้อยากเห็น ต้องการ ความสาเร็จ แสดงออก มีอานาจเหนือผู้อื่น ต้องการการ ยอมรับจากสังคม) 3 ) ทางสติปัญญา (ต้องการรู้เละ เข้าใจ เพื่อจัดระเบียบ วางแผน และมีทักษะเพื่อ ตัดสินใจ) ความต้องการสารสนเทศเกิดจากสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพอื่นๆ เช่น ที่ทางาน สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ในการแสวงหาสารสนเทศอาจมีอุปสรรค ส่วนบุคคล ระหว่างบุคคล และจากสิ่งแวดล้อม
  • 8. 3. ตัวแบบการศึกษาความต้องการสารสนเทศของบุคคล โดยใช้ วิธี Sense - making ของ Brenda Dervin เป็ นตัวแบบที่เดอร์วินและคณะ พัฒนาขึ้นในสาขาพฤติกรรมการ สื่อสาร แต่นามาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลายในสาขาบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ ด้านพฤติกรรมสารสนเทศ องค์ประกอบสาคัญ 4 ประการ 1) สถานการณ์ที่บุคคลประสบปัญหา (situation) 2) ช่องว่าง หรือ ภาวะที่ต้องใช้สารสนเทศในการแก้ปัญหา (gap) 3) การใช้สารสนเทศเชื่อมโยงช่องว่าง (bridge) 4) ผลลัพธ์ ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ (sense) การใช้วิธีเซ็นส์เมกกิ้ง เน้นกระบวนการ สื่อสาร คือ การสนเทนา ซักถาม เพื่อให้ เข้าใจและความต้องการและแสวงหา สารสนเทศของบุคคล เน้นวิธี วิจัยเชิง คุณภาพ ได้แก่ การสัมภาษณ์ และการ
  • 9. พฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศ หมายถึง เป็นการแสวงหาสารสนเทศอย่างมีวัตถุประสงค์ โดยเป็นผลมาจากความต้องการใด ความต้องการนึ่ง ทั้งนี้ในระหว่างแสวงหาสารสนเทศ บุคคลผู้นั้นจึงต้องปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศ 13.3 แนวคิดและตัวแบบการแสวงหาสารสนเทศ พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ คือ พฤติกรรมระดับจุลภาคที่ผู้ค้นต้อปฏิสัมพันธ์กับ ระบบการค้นคืน ในสภาพแวดล้อมของสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าเป็นในระบบปฏิบัติ อาทิ การใช้เมาท์ หรือในระดับการใช้ความคิด สติปัญญาและความรู้ เช่น การใช้ตรรกะบู เลียน พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง และวิธีการ วิจัยชิงคุณภาพ หรือใช้วิธีวิจัยทั้ง 2 วิธี พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ + พฤติกรรมค้นหาสารสนเทศ = พฤติกรรมสารสนเทศ
  • 10. พัฒนาการและแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ  ค.ศ. 1948 พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เป็ นแนวคิดที่ปรากฏอยู่ในงานศึกษาวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี  เน้นศึกษาการใช้แหล่งสารสนเทศทางบรรณานุกรม ใน รูปแบบ เช่น สาระสังเขป บทความ การใช้ห้องสมุด ฯลฯ เน้นการใช้ระบบสารสนเทศมากกว่าพฤติกรรมของผู้ใช้  กลางทศวรรษ 1970 เริ่มศึกษาความต้องการ สารสนเทศของผู้ใช้ นักวิจัย ได้แก่ เทเลอร์(Tayior) เดอร์ วิน(Dervin) เบลคิน(Belkin) และวินสัน(Winson) ได้เสนอ แนวคิดและเริ่มศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศ ตัวแบบพื้นฐานวางบนหลักการของความแน่นอนและเป็ นระบบระเบียบ ระบบเน้นการค้นหาที่จะให้เพียงข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบต่างๆโดยมีสมมุติฐาน ดังนี้ - ผู้ใช้ต้องรู้ความต้องการสารสนเทศขอตนเองอย่างชัดเจน - ความต้องการสารสนเทศไม่เปลี่ยนแปลง - พฤติกรรมการค้นหาของผู้ใช้ประกอบด้วยแรงจูใจในการค้นคว้ามีความสมเหตุนมผล และมีระเบียบ ลักษณะสาคัญตัวแบบการศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ แบบดั้งเดิม
  • 11. 3 ตัวแบบ ได้แก่ 1) ตัวแบบกระบวนการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส 2) ตัวแบบเบอรีพิกกิงของเบทส์ (Berry-picking Model ) 3) ตัวแบบกระบวนการค้นหาสารสนเทศของคัลเธา (Information Search Process : ISP) ตัวแบบทั้ง 3 เป็นผลการศึกษาวิจัยและสะท้อนให้เห็นพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ สอดคล้องกับพฤติกรรมที่แท้จริง ตัวแบบสาคัญเกี่ยวกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 แนวทางการศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ เป็นผลจาการการศึกษาวิจัย เน้นผู้ใช้เป็นศูนย์กลางวิธีการศึกษาจากเชิงเชิง คุณภาพ หรือใช้ทั้งผสมผสาน(เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) พิจารณาถึงความต้องการ หรือปัญหาสารสนเทศของผู้ใช้ที่มีลักษณะเป็นพลวัตขึ้นอยู่กับความหลากหลายของบริบท สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมการแสวงหา / การค้นหาสารสนเทศที่แท้จริง ลักษณะสาคัญของตัวแบบการศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ตัวแบบใหม่
  • 12.  ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส เป็นผลงานวิจัยคุณภาพซึ่งเอลลิส ใช้วิธีสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง เพื่อศึกษากิจกรรมแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการด้าน สังคมศาสตร์ 3 กลุ่ม ที่มหาวิทยาลัยเชฟฟิ ลด์ คือ 1. นักวิจัยในหน่วยวิจัยต่างๆ และ นักวิชาการในสาขาจิตวิทยา 2. นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์สาขาอื่นๆ และ3. นักวิชาการด้าน สังคมศาสตร์ที่ได้ค้นหาสารสนเทศออนไลน์ ประกอบด้วย พฤติกรรม (กิจกรรม) 8 ประการ ได้แก่ 1) การเริ่มต้น (starting) 2) การเชื่อมโยง (chaining3) การสารวจเลือกดู (browsing) 4) การแยกแยะ (differentiating) 5) การตรวจตรา (monitoring 6) การดึงสารสนเทศ ออกมา (extracting) 7) การตรวจสอบ (verifying) 8) การจบ (ending)  มีประโยชน์ต่อการออกแบบระบบการค้นคืนสารสนเทศ โดยเฉพาะ ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ 1) ตัวแบบกระบวนการแสวงหาสารสนเทศของเอลลิส
  • 13.  Berry-picking Model เป็นการเปรียบเทียบกระบวนการค้นหาสารสนเทศกับการเก็บ ลูกเบอรี่ที่ต้องเก็บที่ละลูก ผู้ใช้เริ่มจากการค้นหาสารสนเทศจากจุดใดจุดหนึ่งแล้วค้นหาต่อไป เรื่อยๆ จากแหล่งสารสนเทศที่หลากหลาย การตอบสนองความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผลการค้นคืนเพียงครั้ง เดียว แต่จะขึ้นอยู่กับสารสนเทศชิ้นเล็กชิ้นน้อยที่เก็บได้ระหว่างทาง และการแวะเก็บแต่ละครั้งจะมี การปรับแก้คาค้นใหม่ไปเรื่อยๆ โดยเน้นการสารวจเลือกดูแบบผาดๆ (browsing) ซึ่งเป็นการ ค้นหาแบบไร้ทิศทางหรือแบบกึ่งมีทิศทาง เป็นตัวแบบสาหรับการค้นหาสารสนเทศระบบออนไลน์และระบบอื่น  มีประโยชน์สาหรับการออกแบบระบบโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนของฐานข้อมูล และส่วนต่อประสาน 2.ตัวแบบเบอรีพิกกิงของเบทส์ ของ Marcia Bates
  • 14. ตัวแบบเบอรรีพิกกิง มีความแตกต่างจากตัวแบบการสืบคืนสารสนเทศพื้นฐาน 4 ประการ คือ 1) ลักษณะของข้อคาถามจะไม่คงที่แต่จะมีวิวัฒนาการไปเรื่อย ๆ 2) ผู้ใช้จะได้รับสารสนเทศทีละเล็กน้อยแทนที่จะได้รับสารสนเทศคราวละมาก ๆ 3) ผู้ค้นหาสารสนเทศจะใช้เทคนิคที่หลากหลายมากกว่าการค้นคืนจากรายการบรรณานุกรมใน ฐานข้อมูลเพียงอย่างเดียว 4) ผู้ใช้จะแสวงหาสารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศที่หลากหลายมากขึ้นกว่าการใช้เพียงแค่การค้นคืน สารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมเท่านั้น ตัวแบบเบอรรีพิกกิง การนาเสนอกลยุทธ์การสืบคืนสารสนเทศที่สาคัญ 5 ประการ ได้แก่ 1. การติดตามเชิงอรรถ (footnote chasing) 2. การค้นหาจากตัวเล่มวารสาร(journal run) 3. การสารวจชั้นหนังสือ (area scanning) 4. การสืบค้นในบริการบรรณานุกรมและดรรชนี และสาระสังเขป (subject searches in bibliographies and abstracting and indexing services) 5. การสืบค้นจากชื่อผู้แต่ง (author searching)
  • 15. Information Search Process (ISP) ของ Carol Kuhlthau กระบวนการค้นหาสารสนเทศ ขึ้นอยู่กับความรู้สึกนึกคิด และทัศนคติของผู้ใช้ ในระหว่าง ค้นหาสารสนเทศ เช่น ความสับสน ลังเล ไม่แน่ใจ เกิดข้อสงสัยและปัญหา ตลอดจนเกิดความมั่นใจ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ การเริ่มงาน (initiation) -> การเลือกเรื่อง (selection) -> การ สารวจ (exploration) -> การสร้างกรอบแนวคิดของเรื่องที่ต้องการ formation) -> การรวบรวม collection) -> การนาเสนอและจบกระบวนการ (Presentation ) แต่ทุกขั้นตอนจะประกอบไปด้วย 4 แง่มุม คือ ความคิด (Thoughts), ความรู้สึก (Feelings), การกระทา (Actions), กลยุทธ์ (Strategies) Tasks Initiation Selection Exploration Formulation Collection Presentation ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------→ Feelings uncertainly optimism confusion clarity sense of satisfaction or (affective) frustration direction/ disappointment doubt confidence Thoughts vague-------------------------------------→focused (cognitive) -------------------------------------------- ---→ increased interest Actions seeking relevant information----------------------------→seeking pertinent information (physical) exploring documenting