SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู
                                        ฐานขอมูล (Database)

ฐานขอมูล (Database) คือ ขอมูลที่นํามารวบรวมไวในที่เดียวกัน ดวยวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่ง
เชน พจนานุกรม สมุดโทรศัพท

ระบบฐานขอมูล (Database System) คือ ระบบการบันทึกฐานขอมูล โดยใชคอมพิวเตอร

สวนประกอบของระบบฐานขอมูล
1. Hardware
2. Software
3. Data
4. Users

ชนิดของระบบฐานขอมูล
แบงชนิดของระบบฐานขอมูลเชิงตรรกะ (Logical Structure) มี 4 ชนิด
1. โครงสรางแบบลําดับ (List Structure) เปนฐานขอมูลที่เรคอรดในแฟมขอมูลหนึ่งเชื่อมโยงกัน หรือเชื่อม
    กับแฟมขอมูลอื่นๆ โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) เชื่อมโยง จากเรคอรดหนึ่งไปยังเรคอรดถัดไป




2. โครงสรางแบบลําดับขั้น (Hierarchical Data Structure) เปนฐานขอมูลที่มีฟลดตางๆ แบงเปนลําดับขั้น
   (Level) เหมือนกับตนได ในการหาขอมูลจะเริ่มจากฟลดชั้นบนสุด โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) หรือรหัสที่
   เครื่องหรือระบบสามารถโยงหาฟลดชั้นอื่น ๆ ได
3. โครงสรางแบบเครือขาย (Network Structure) เปนฐานขอมูลที่ใหฟลดในลําดับขั้นตางๆ เชื่อมโยงกันหมด
   ทําใหการสืบคนขอมูลทําไดรวดเร็ว แตก็ตองการหนวยความจําภายในเครื่องคอมพิวเตอรเปนจํานวนมาก




4. โครงสรางแบบสัมพันธ (Relational Structure) เปนชนิดของฐานขอมูลที่ฐานขอมูลสวนใหญนิยมใช โดย
   ขอมูลจะถูกเก็บในลักษณะแบบตาราง (Table) 2 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธในเชิงแถว (Row) และ คอลัมน
   (Column) แตละแถวคือเรคอรด (Record) และแตละคอลัมนคือฟลด (Field) โดยจะมีชื่อกํากับบอกเอาไว

                                   Field                  Field                  Field
       Record




งานของระบบฐานขอมูล
1. บันทึกขอมูล
2. แทรกขอมูล
3. ดึงขอมูล
4. แกไขขอมูล
5. ลบขอมูล
6. ยายฐานขอมูล

คุณสมบัติของฐานขอมูล
1. Data definition : ทําการนิยามโครงสรางฐานขอมูล บอกรูปแบบของขอมูล เชน เปนตัวเลยหรือวาเปน
    ตัวหนังสือ หรือเปนวันที่
2. Data manipulation : การนําขอมูลมาใชงาน เชน Retrieve Insert Delete Update
3. Data Control : ควบคุมการใชงานฐานขอมูล เชน ตรวจสอบ Security ,Recovery
ขอดีของระบบฐานขอมูล
         ขอดีของระบบฐานขอมูลเมื่อเปรียบเทียบกับ แฟมขอมูล
1. การคนหาขอมูลที่มีจํานวนมากและซับซอน ไดรวดเร็ว
2. มีขนาดเล็กกวา
3. ไมมีขอมูลซ้ําซอน (Redundancy)
4. ปองกันขอมูลขัดแยง (Inconsistency) ได
5. บังคับใหเกิดมาตราฐานได
6. ใชขอมูลรวมกันได
7. มีระบบรักษาความปลอดภัย (Security) เชน กําหนดสิทธิ์ ในการใชงานของผูใช



โครงสรางขอมูล (Data Structure)




1. Field



2. Record




3. Table
ระบบฐานขอมูลในงานสารสนเทศ

1. กลุมผูที่เกี่ยวของกับระบบฐานขอมูล
           1.1 ผูผลิตฐานขอมูล : สมาคม องคกร บริษัท หนวยงานราชการ ฯลฯ ที่สรางฐานขอมูลขึ้นเพื่อขายเอง
                   หรือเพื่อใหผูอื่นนําไปขายตอ เชน
                        มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เชน RECON (Remote Console) ของ NASA
                        Information Bank ของ New York Times
                        MEDLINE ของหองสมุดแพทยแหงอเมริกัน (ULM)
           1.2 ผูขายสารสนเทศ (Information Broker) : ขายฐานขอมูลที่ซื้อมาจากผูผลิตฐานขอมูล หรือสราง
                   ขึ้นมาเองก็ได
                        2.1 Dialog Corporation : ขายฐานขอมูล 650 กวาฐานครอบคลุมสาขาวิชาตาง ๆ เชน
                             วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บริหารธุรกิจ สังคมศาสตร มนุษยศาสตร
                        2.2 ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (Technical Information Access Center :
                             TIAC) เริ่มตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2532 ใหบริการสารสนเทศวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ
                             งานวิจัยสาขาพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ โลหะและวัสดุอิเล็กทรอนิกสและ
                             คอมพิ ว เตอร เทคโนโลยี ส ารสนเทศ นโยบายวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี
                             ศูน ยบ ริ การสารสนเทศทางเทคโนโลยี เปน ผูริ เ ริ่ม กิ จ การขายข อ มูล เปน แห ง แรกใน
                             ประเทศไทย โดยบอกรับขอมูล Dialog และฐานขอมูลอื่น ๆ อีกประมาณ 2-3 ฐาน และ
                             ในปจจุบันก็ไดสรางฐานขอมูลขึ้นมาใหบริการเองอีกดวย ยกตัวอยางเชน ฐานขอมูล
                             วิทยานิพนธไทย
                        2.3 สํานักคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตัวอยางขอมูลที่ใหบริการเปน
                             ขอมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการสงออก
                        2.4 เครือขายของหนังสือพิมพ The Nation ใหบริการขายขาวที่จะวางแผงในวันพรุงนี้
                        2.5 ศูนยขอมูลมติชน ใหบริการคนหาจากขอมูลขาวสารและภาพขาวจากหนังสือพิมพทุก
                             ฉบับในเมืองไทยนิตยสาร และสิ่งพิมพอื่น ๆ มีบริการสําเนาภาพและเชาตนฉบับภาพขาว
                             เหตุการณสําคัญ สถานที่ บุคคล พรอมทั้งมีบริการตัดเก็บขาวจากหนังสือพิมพและ
                             วารสารสงถึงผูใชทุกวัน โดยบริการผานระบบคอมพิวเตอรออนไลน
           1.3 ผูใชบริการ : ไดแก หองสมุด ศูนยสารสนเทศ ที่เปนหนวยงานที่ใหบริการสารสนเทศแกสมาชิก
                   หรืออาจจะจายเงินเปนครั้ง ๆ เพื่อนําขอมูลเหลานี้มาใชในองคการ ซึ่งอาจจะเปนมหาวิทยาลัย
                   บริษัท หนวยงานตาง ๆ
ชนิดของฐานขอมูลในหองสมุด

        1. ฐานขอมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Database) เปนฐานขอมูลที่บันทึกรายละเอียดทาง
           บรรณานุกรมของหนังสือ เชน ชื่อหนังสือหรือวารสาร ชื่อผูแตง สถานที่พิมพ ปที่พิมพ เลขหนา
           หรือจํานวนหนา และหัวเรื่อง โดยใชคอมพิวเตอรบันทึกและเรียกใชขอมูล
        2. ฐานขอมูลที่ไมใชฐานขอมูลบรรณานุกรม (Non-bibliographic Database) ยกตัวอยางเชน
           2.1 ขอมูลที่อยูในรูปของขอเท็จจริง (Factual Database) เชน ขอมูลตัวเลขทางสถิติ สูตร
               แผนผัง มาตรา ตวงวัด ซอฟแวร ขอมูลทางเศรษฐศาสตร กฎหมาย ฯลฯ
           2.2 ขอมูลนามานุกรม (Directories Database) เชน สมุดโทรศัพท
           2.3 ขอมูลรูปภาพ (Pictorial Database)

การเลือกใชบริการของระบบฐานขอมูลออนไลนในหองสมุด

        1. ขอบเขตที่ฐานขอมูลครอบคลุม ขนาดของฐานขอมูล และรายละเอียดของขอมูล
        2. ความถูกตองของขอมูลที่ไดรบ          ั
        3. คา ใช จ ายที่ จ ะต อ งเสี ย เช น เงิ น ที่ ตอ งจ า ยต อ หนึ่ ง ฐานข อ มู ล หรื อ ต อ หนึ่ง บทความ และดู ก าร
           เปลี่ยนแปลงของราคาวามีความถี่มากนอยแคไหน
        4. รายละเอียดของแตละเรคอรด (Record) วาใหขอมูลมากนอยแคไหน โดยดูวามีบทคัดยอหรือ
           เอกสารฉบับเต็มหรือไม
        5. ความถี่ในการปรับปรุงฐานขอมูล
        6. การจัดทําดัชนีวาเปนแบบ Natural Language หรือแบบ Control Language เพราะการทําแบบ
           Control Language ทําใหการคนทําไดตรงกับที่ตองการมากกวา

ประโยชนของระบบฐานขอมูลออนไลน
       1. ประหยัดเวลาในการคนหา ไดขอมูลครบถวน และไดขอมูลจากสื่อหลายประเภท เชนหนังสือพิมพ
           วารสาร รายงานการประชุม โดยมีความผิดพลาดต่ํากวาการคนดวยมือ
       2. ผูคนไดขอมูลในรูปแบบบรรณานุกรม บทคัดยอ หรือเอกสารฉบับเต็ม
       3. ผลการคนจะอยูในรูปแบบที่เปนมาตรฐาน และสามารถคัดเลือกเรื่องที่ตองการและไมตองการได
       4. ใหบริการผูใชไดหลายคนในเวลาเดียวกัน
       5. ไดขอมูลที่ทันสมัยกวาขอมูลที่เปนรูปเลม
       6. ไดขอมูลจากหลายแหลงโดยไมตองเสียเวลาเดินทาง
       7. สารสนเทศบางรายชื่อออกมาในลักษณะขอมูลอิเลคโทรนิกสมากกวาเปนรูปเลม ตองคนผาน
           ระบบฐานขอมูลเทานั้น
Relational Database Management System (RDBMS)
         คื อ โปรแกรมที่ อ นุ ญ าตให ผู ใ ช ส ร า งระบบฐานข อ มู ล โดยใช โ ครงสร า งแบบสั ม พั น ธ (Relational
Structure)
ตัวอยาง
         - MySQL
         - Microsoft Access
         - Microsoft SQL Server
         - ORACLE

Primary Key

          ฟลดที่ใชในการแยกแยะ (Identify) ขอมูลของแตละเรคอรดออกจากกัน โดยจะตองมีคุณสมบัติ 2 อยาง
คือ
          1. คาตองไมซ้ํากัน (Unique)
          2. ไมมีเรคอรดใดที่ฟลดนี้วาง (Not Null)




Foreign Key

          ฟลดที่เปนฟลดสําเนาของฟลด Primary Key ที่ปรากฏในที่อื่น และทําหนาที่เชื่อมขอมูลระหวางตาราง
2 ตาราง




ความสัมพันธระหวางตาราง มี 2 แบบ
        one-to-one
        one-to-many
Compound Key

         คือ Foreign Key ที่ประกอบไปดวย ฟลดที่มากกวา 1 ฟลด




Relational integrity

        คือคุณสมบัติที่ทําใหขอมูลเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
                              
คุณสมบัตินี้สามารถกําหนดเพิ่มเติมได เพื่อปอนกันไมใชเกิดขอมูลขัดแยง โดยปองกันไมใหเกิดขอมูลกําพราขึ้น
ในระบบ
        โดยคุณสมบัตินี้จะมี 2 แบบคือ
        1. Cascade Update
        2. Cascade Delete




ที่มา : http://mail.cm.edu/~thanapun/doc336/Database.doc

More Related Content

What's hot

Lesson1 3 database
Lesson1 3 databaseLesson1 3 database
Lesson1 3 database
Samorn Tara
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
ABELE Snvip
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
Beauso English
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Watuka Wannarun
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
skiats
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
พัน พัน
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
sunisa3112
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
chanoot29
 

What's hot (18)

Lesson1 3 database
Lesson1 3 databaseLesson1 3 database
Lesson1 3 database
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 

Viewers also liked (7)

Study: CSR In West Africa
Study: CSR In West AfricaStudy: CSR In West Africa
Study: CSR In West Africa
 
ข้อสอบ ONET-Eng-Feb54
ข้อสอบ ONET-Eng-Feb54ข้อสอบ ONET-Eng-Feb54
ข้อสอบ ONET-Eng-Feb54
 
Oficina crie futuros rosário abril-2010 aecid
Oficina crie futuros rosário   abril-2010 aecidOficina crie futuros rosário   abril-2010 aecid
Oficina crie futuros rosário abril-2010 aecid
 
M6eng2553
M6eng2553M6eng2553
M6eng2553
 
Manual lista correo
Manual lista correoManual lista correo
Manual lista correo
 
Buena Publicidad de la Iglesia de Singapur
Buena Publicidad de la Iglesia de SingapurBuena Publicidad de la Iglesia de Singapur
Buena Publicidad de la Iglesia de Singapur
 
O-net part.Thai
O-net part.ThaiO-net part.Thai
O-net part.Thai
 

Similar to Database

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Isareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ปิยะดนัย วิเคียน
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
Hitsuji12
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
xsitezaa
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5
Ben Benben
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
jobasketball
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
jobasketball
 

Similar to Database (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5
งานคอม Pwp ณัฐพงษ์ ม.5
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 

More from paween

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
paween
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
paween
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16
paween
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2
paween
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
paween
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
paween
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
paween
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
paween
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
paween
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
paween
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
paween
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
paween
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utq
paween
 

More from paween (19)

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utq
 

Database

  • 1. ใบความรู ฐานขอมูล (Database) ฐานขอมูล (Database) คือ ขอมูลที่นํามารวบรวมไวในที่เดียวกัน ดวยวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่ง เชน พจนานุกรม สมุดโทรศัพท ระบบฐานขอมูล (Database System) คือ ระบบการบันทึกฐานขอมูล โดยใชคอมพิวเตอร สวนประกอบของระบบฐานขอมูล 1. Hardware 2. Software 3. Data 4. Users ชนิดของระบบฐานขอมูล แบงชนิดของระบบฐานขอมูลเชิงตรรกะ (Logical Structure) มี 4 ชนิด 1. โครงสรางแบบลําดับ (List Structure) เปนฐานขอมูลที่เรคอรดในแฟมขอมูลหนึ่งเชื่อมโยงกัน หรือเชื่อม กับแฟมขอมูลอื่นๆ โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) เชื่อมโยง จากเรคอรดหนึ่งไปยังเรคอรดถัดไป 2. โครงสรางแบบลําดับขั้น (Hierarchical Data Structure) เปนฐานขอมูลที่มีฟลดตางๆ แบงเปนลําดับขั้น (Level) เหมือนกับตนได ในการหาขอมูลจะเริ่มจากฟลดชั้นบนสุด โดยอาศัยตัวชี้ (Pointer) หรือรหัสที่ เครื่องหรือระบบสามารถโยงหาฟลดชั้นอื่น ๆ ได
  • 2. 3. โครงสรางแบบเครือขาย (Network Structure) เปนฐานขอมูลที่ใหฟลดในลําดับขั้นตางๆ เชื่อมโยงกันหมด ทําใหการสืบคนขอมูลทําไดรวดเร็ว แตก็ตองการหนวยความจําภายในเครื่องคอมพิวเตอรเปนจํานวนมาก 4. โครงสรางแบบสัมพันธ (Relational Structure) เปนชนิดของฐานขอมูลที่ฐานขอมูลสวนใหญนิยมใช โดย ขอมูลจะถูกเก็บในลักษณะแบบตาราง (Table) 2 มิติ ซึ่งมีความสัมพันธในเชิงแถว (Row) และ คอลัมน (Column) แตละแถวคือเรคอรด (Record) และแตละคอลัมนคือฟลด (Field) โดยจะมีชื่อกํากับบอกเอาไว Field Field Field Record งานของระบบฐานขอมูล 1. บันทึกขอมูล 2. แทรกขอมูล 3. ดึงขอมูล 4. แกไขขอมูล 5. ลบขอมูล 6. ยายฐานขอมูล คุณสมบัติของฐานขอมูล 1. Data definition : ทําการนิยามโครงสรางฐานขอมูล บอกรูปแบบของขอมูล เชน เปนตัวเลยหรือวาเปน ตัวหนังสือ หรือเปนวันที่ 2. Data manipulation : การนําขอมูลมาใชงาน เชน Retrieve Insert Delete Update 3. Data Control : ควบคุมการใชงานฐานขอมูล เชน ตรวจสอบ Security ,Recovery
  • 3. ขอดีของระบบฐานขอมูล ขอดีของระบบฐานขอมูลเมื่อเปรียบเทียบกับ แฟมขอมูล 1. การคนหาขอมูลที่มีจํานวนมากและซับซอน ไดรวดเร็ว 2. มีขนาดเล็กกวา 3. ไมมีขอมูลซ้ําซอน (Redundancy) 4. ปองกันขอมูลขัดแยง (Inconsistency) ได 5. บังคับใหเกิดมาตราฐานได 6. ใชขอมูลรวมกันได 7. มีระบบรักษาความปลอดภัย (Security) เชน กําหนดสิทธิ์ ในการใชงานของผูใช โครงสรางขอมูล (Data Structure) 1. Field 2. Record 3. Table
  • 4. ระบบฐานขอมูลในงานสารสนเทศ 1. กลุมผูที่เกี่ยวของกับระบบฐานขอมูล 1.1 ผูผลิตฐานขอมูล : สมาคม องคกร บริษัท หนวยงานราชการ ฯลฯ ที่สรางฐานขอมูลขึ้นเพื่อขายเอง หรือเพื่อใหผูอื่นนําไปขายตอ เชน มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา เชน RECON (Remote Console) ของ NASA Information Bank ของ New York Times MEDLINE ของหองสมุดแพทยแหงอเมริกัน (ULM) 1.2 ผูขายสารสนเทศ (Information Broker) : ขายฐานขอมูลที่ซื้อมาจากผูผลิตฐานขอมูล หรือสราง ขึ้นมาเองก็ได 2.1 Dialog Corporation : ขายฐานขอมูล 650 กวาฐานครอบคลุมสาขาวิชาตาง ๆ เชน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี บริหารธุรกิจ สังคมศาสตร มนุษยศาสตร 2.2 ศูนยบริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (Technical Information Access Center : TIAC) เริ่มตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2532 ใหบริการสารสนเทศวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ งานวิจัยสาขาพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ โลหะและวัสดุอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิ ว เตอร เทคโนโลยี ส ารสนเทศ นโยบายวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ศูน ยบ ริ การสารสนเทศทางเทคโนโลยี เปน ผูริ เ ริ่ม กิ จ การขายข อ มูล เปน แห ง แรกใน ประเทศไทย โดยบอกรับขอมูล Dialog และฐานขอมูลอื่น ๆ อีกประมาณ 2-3 ฐาน และ ในปจจุบันก็ไดสรางฐานขอมูลขึ้นมาใหบริการเองอีกดวย ยกตัวอยางเชน ฐานขอมูล วิทยานิพนธไทย 2.3 สํานักคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตัวอยางขอมูลที่ใหบริการเปน ขอมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการสงออก 2.4 เครือขายของหนังสือพิมพ The Nation ใหบริการขายขาวที่จะวางแผงในวันพรุงนี้ 2.5 ศูนยขอมูลมติชน ใหบริการคนหาจากขอมูลขาวสารและภาพขาวจากหนังสือพิมพทุก ฉบับในเมืองไทยนิตยสาร และสิ่งพิมพอื่น ๆ มีบริการสําเนาภาพและเชาตนฉบับภาพขาว เหตุการณสําคัญ สถานที่ บุคคล พรอมทั้งมีบริการตัดเก็บขาวจากหนังสือพิมพและ วารสารสงถึงผูใชทุกวัน โดยบริการผานระบบคอมพิวเตอรออนไลน 1.3 ผูใชบริการ : ไดแก หองสมุด ศูนยสารสนเทศ ที่เปนหนวยงานที่ใหบริการสารสนเทศแกสมาชิก หรืออาจจะจายเงินเปนครั้ง ๆ เพื่อนําขอมูลเหลานี้มาใชในองคการ ซึ่งอาจจะเปนมหาวิทยาลัย บริษัท หนวยงานตาง ๆ
  • 5. ชนิดของฐานขอมูลในหองสมุด 1. ฐานขอมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Database) เปนฐานขอมูลที่บันทึกรายละเอียดทาง บรรณานุกรมของหนังสือ เชน ชื่อหนังสือหรือวารสาร ชื่อผูแตง สถานที่พิมพ ปที่พิมพ เลขหนา หรือจํานวนหนา และหัวเรื่อง โดยใชคอมพิวเตอรบันทึกและเรียกใชขอมูล 2. ฐานขอมูลที่ไมใชฐานขอมูลบรรณานุกรม (Non-bibliographic Database) ยกตัวอยางเชน 2.1 ขอมูลที่อยูในรูปของขอเท็จจริง (Factual Database) เชน ขอมูลตัวเลขทางสถิติ สูตร แผนผัง มาตรา ตวงวัด ซอฟแวร ขอมูลทางเศรษฐศาสตร กฎหมาย ฯลฯ 2.2 ขอมูลนามานุกรม (Directories Database) เชน สมุดโทรศัพท 2.3 ขอมูลรูปภาพ (Pictorial Database) การเลือกใชบริการของระบบฐานขอมูลออนไลนในหองสมุด 1. ขอบเขตที่ฐานขอมูลครอบคลุม ขนาดของฐานขอมูล และรายละเอียดของขอมูล 2. ความถูกตองของขอมูลที่ไดรบ ั 3. คา ใช จ ายที่ จ ะต อ งเสี ย เช น เงิ น ที่ ตอ งจ า ยต อ หนึ่ ง ฐานข อ มู ล หรื อ ต อ หนึ่ง บทความ และดู ก าร เปลี่ยนแปลงของราคาวามีความถี่มากนอยแคไหน 4. รายละเอียดของแตละเรคอรด (Record) วาใหขอมูลมากนอยแคไหน โดยดูวามีบทคัดยอหรือ เอกสารฉบับเต็มหรือไม 5. ความถี่ในการปรับปรุงฐานขอมูล 6. การจัดทําดัชนีวาเปนแบบ Natural Language หรือแบบ Control Language เพราะการทําแบบ Control Language ทําใหการคนทําไดตรงกับที่ตองการมากกวา ประโยชนของระบบฐานขอมูลออนไลน 1. ประหยัดเวลาในการคนหา ไดขอมูลครบถวน และไดขอมูลจากสื่อหลายประเภท เชนหนังสือพิมพ วารสาร รายงานการประชุม โดยมีความผิดพลาดต่ํากวาการคนดวยมือ 2. ผูคนไดขอมูลในรูปแบบบรรณานุกรม บทคัดยอ หรือเอกสารฉบับเต็ม 3. ผลการคนจะอยูในรูปแบบที่เปนมาตรฐาน และสามารถคัดเลือกเรื่องที่ตองการและไมตองการได 4. ใหบริการผูใชไดหลายคนในเวลาเดียวกัน 5. ไดขอมูลที่ทันสมัยกวาขอมูลที่เปนรูปเลม 6. ไดขอมูลจากหลายแหลงโดยไมตองเสียเวลาเดินทาง 7. สารสนเทศบางรายชื่อออกมาในลักษณะขอมูลอิเลคโทรนิกสมากกวาเปนรูปเลม ตองคนผาน ระบบฐานขอมูลเทานั้น
  • 6. Relational Database Management System (RDBMS) คื อ โปรแกรมที่ อ นุ ญ าตให ผู ใ ช ส ร า งระบบฐานข อ มู ล โดยใช โ ครงสร า งแบบสั ม พั น ธ (Relational Structure) ตัวอยาง - MySQL - Microsoft Access - Microsoft SQL Server - ORACLE Primary Key ฟลดที่ใชในการแยกแยะ (Identify) ขอมูลของแตละเรคอรดออกจากกัน โดยจะตองมีคุณสมบัติ 2 อยาง คือ 1. คาตองไมซ้ํากัน (Unique) 2. ไมมีเรคอรดใดที่ฟลดนี้วาง (Not Null) Foreign Key ฟลดที่เปนฟลดสําเนาของฟลด Primary Key ที่ปรากฏในที่อื่น และทําหนาที่เชื่อมขอมูลระหวางตาราง 2 ตาราง ความสัมพันธระหวางตาราง มี 2 แบบ one-to-one one-to-many
  • 7. Compound Key คือ Foreign Key ที่ประกอบไปดวย ฟลดที่มากกวา 1 ฟลด Relational integrity คือคุณสมบัติที่ทําใหขอมูลเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน  คุณสมบัตินี้สามารถกําหนดเพิ่มเติมได เพื่อปอนกันไมใชเกิดขอมูลขัดแยง โดยปองกันไมใหเกิดขอมูลกําพราขึ้น ในระบบ โดยคุณสมบัตินี้จะมี 2 แบบคือ 1. Cascade Update 2. Cascade Delete ที่มา : http://mail.cm.edu/~thanapun/doc336/Database.doc