SlideShare a Scribd company logo
กรอบการปฏิบัติงานแนบท้ายบันทึกสัญญาผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
           ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2554 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2554
                                         

จุดเน้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1

จุดเน้นที่ 1 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุมสาระหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 6
                                                 ่
        สภาพปัจจุบัน
        โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เปิดสอนในระดับ
อนุบาล 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจานวนนักเรียนทั้งหมด 233 คน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2554) มีอัตราการย้าย
ออกของข้าราชการครูสูง จึงทาให้ขาดความต่อเนื่องในการเรียนการสอน ส่งผลให้การสอบวัดระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางเรียนของนักเรียนในการสอบ NT , LAS ,ONET ปีการศึกษา 2553 มีระดับต่า
        รายละเอียดดังตาราง

       ตารางที่ 1.1 แสดงการเปรียบเทียบร้อยละผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปีการศึกษา
2552-2553 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายสาระการเรียนรู้ และเป้าหมายของโรงเรียนตามจุดเน้นของ สพป.สก.1
ประจาปีการศึกษา 2554

                                                 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
      วิชา                      ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3                 เป้าหมายโรงเรียน
                    ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 เพิ่ม / ลด ปีการศึกษา 2554       ร้อยละ
ภาษาไทย                  32.73            48.41        +15.68       54.41              ≥6
คณิตศาสตร์               29.85            60.32        +30.47       66.32              ≥6
วิทยาศาสตร์              28.79            46.83        +18.04       52.83              ≥6
การเขียน                 47.83            59.17        +11.34       65.17              ≥6
การอ่านออกเสียง          82.66            80.74         -1.92       86.74              ≥6
กาคิดคานวณ               16.52            53.96        +37.44       59.96              ≥6
       รวม               39.73            58.24        +18.51       64.24              ≥6
ตารางที่ 1.2 แสดงการเปรียบเทียบร้อยละผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปีการศึกษา
2552-2553 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายสาระการเรียนรู้ และเป้าหมายของโรงเรียนตามจุดเน้นของ สพป.สก.1
ประจาปีการศึกษา 2554

                                                     คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
                    วิชา               ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6           เป้าหมายโรงเรียน
                                ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2554          เพิ่มขึ้นร้อยละ
              การเขียน               58.75             64.75                   ≥6
              การอ่านออกเสียง        59.17             65.17                   ≥6
              กาคิดคานวณ             65.31             71.31                   ≥6
                     รวม             61.03             67.03                   ≥6


         ตารางที่ 1.3 แสดงผลค่าเฉลี่ย การประเมินคุณภาพนักเรียน ( LAS) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2,5 และ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามลาดับ ประจาปีการศึกษา 2552-2553 จาแนกรายสาระ เป้าหมายของโรงเรียนตาม
จุดเน้นของ สพป.สก.1 ประจาปีการศึกษา 2554

       ชั้น        สาระการเรียนรู้      ปี 2552    ปี 2553   เพิ่ม/ลด   เป้าหมายปี 2554    เพิ่มขึ้น
                  ภาษาไทย                51.60     44.04       -7.56         50.04           ≥6
ประถมศึกษาปีที่2 คณิตศาสตร์              48.40     50.00       +1.6            56            ≥6
                  รวม                    50.00     47.02       -2.98         53.02           ≥6
                  ภาษาไทย                36.27     40.30      +4.03           46.3           ≥6
                  คณิตศาสตร์             20.08     25.50      +5.42           31.5           ≥6
                  วิทยาศาสตร์            33.30     20.56      -12.74         26.56           ≥6
ประถมศึกษาปีที่5
                  สังคม                  24.64     40.50      +15.86          46.5           ≥6
                  ภาษาอังกฤษ                -      29.70          -           35.7           ≥6
                  รวม                    28.57     31.31      +2.74          37.31           ≥6
                  ภาษาไทย                38.37     33.33       -5.04         39.33           ≥6
                  คณิตศาสตร์             25.70     49.27      +23.57         55.27           ≥6
                  วิทยาศาสตร์            33.61     41.50      +7.89           47.5           ≥6
มัธยมศึกษาปีที่ 2
                  สังคม                  34.63     24.40      -10.23          30.4           ≥6
                  ภาษาอังกฤษ             35.46     26.55       -8.91         32.55           ≥6
                  รวม                    33.55     35.01      +1.46          41.01           ≥6
ตารางที่ 1.3 แสดงผลค่าเฉลี่ย การประเมินคุณภาพนักเรียน ( LAS) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2,5 และ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามลาดับ ประจาปีการศึกษา 2552-2553 จาแนกรายสาระ เป้าหมายของโรงเรียนตาม
จุดเน้นของ สพป.สก.1 ประจาปีการศึกษา 2554

                                                     คะแนนเฉลี่ย
     วิชา         ประถมศึกษาปีที่ 6         มัธยมศึกษาปีที่ 3    เป้าหมาย ป.6             เป้าหมาย ม. 3
                2552    2553 เพิ่ม/ลด     2552     2553 เพิ่ม/ลด     2554     เพิ่ม/ลด    2554      เพิ่ม/ลด
ภาษาไทย         34.64   24.50 -10.14      31.52    40.32  8.8        30.5       ≥6        46.32       ≥6
สังคม           27.84   36.29 8.45        32.92    37.92    5        42.29      ≥6        43.92        ≥6
ภาษาอังกฤษ      19.65   14.79    -4.86    18.44    11.04    -7.4     20.79      ≥6        17.04        ≥6
คณิตศาสตร์      20.00   22.21    2.21     22.00    22.40    0.4      28.21      ≥6        28.4         ≥6
วิทยาศาสตร์     27.02   30.13    3.11     24.15    23.30   -0.85     36.13      ≥6        29.3         ≥6
สุขศึกษา        52.52   44.64    -7.88    53.44    72.00   18.56     50.64      ≥6         78          ≥6
ศิลปะ           33.20   30.71    -2.49    25.31    27.00    1.69     36.71      ≥6         33          ≥6
การงาน          39.47   45.71    6.24     23.03    44.80   21.77     51.71      ≥6        50.8         ≥6
      รวม       31.79   31.12    -0.67    28.85    34.85     6       37.12      ≥6        40.85        ≥6


       ปัญหา
               1. อัตราการย้ายของข้าราชการครูสูง ทาให้ขาดความต่อเนื่องในการจัดการเรียนการสอน
               2. ขาดความเข้าใจในตัวผู้เรียน ถึงสภาพปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาส่วนตัวของผู้เรียน
               3. ปัจจัยสภาพแวดล้อมด้านสังคมและอารมณ์ของผู้เรียน สภาพแวดล้อมของครอบครัว
                  เด็กที่มาจากครอบครัวที่พ่อแม่เข้มงวดมากไป หรือปล่อยปละหย่อนยาน ไม่ฝึกให้เด็กมี
                  วินัยในตัวเอง ครอบครัวที่หย่าร้าง, พ่อแม่แยกกันอยู่หรือพ่อแม่ไปทางานต่างถิ่น ไม่มี
                  ความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกๆ มีปญหาทางเศรษฐกิจมาก
                                              ั
               4. สภาพแวดล้อมที่โรงเรียน เช่นสภาพการจัดชั้นเรียน บรรยากาศในชั้นเรียน ไม่มีความ
                  พร้อมมากนัก หน้าร้อนอากาศร้อนทาให้นักเรียนมีความอึดอัด ไม่อยากนั่งในห้องเรียน
                  ขาดความสนใจในการเรียน
               5. ปัญหาสภาพแวดล้อมด้านทัศนคติของชุมชนและสังคม ทัศนคติของครูอาจารย์, ชุมชน
                  และสังคมต่อโรงเรียน ศึกษาได้จากจานวนนักเรียนที่ย้ายออกระหว่างปีการศึกษา
               6. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าเกือบทุกรายวิชา
               7. นักเรียนอ่านหนังสือไม่ออก จึงทาให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียนในรายวิชาอื่นๆ
               8. นักเรียนขาดทักษะในการคิดคานวณ
วิธีดาเนินการในการแก้ปัญหา
         1. ปรับปรุงบ้านพักครู ระบบสวัสดิการ ส่งเสริมกิจกรรมที่สานสัมพันธ์กับชุมชน
              เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความรักความศรัทธาในโรงเรียนและชุมชน
         2. ศึกษาปัญหาของนักเรียนด้วยการใช้ข้อมูลจากระบบดูแลนักเรียน เพื่อให้มีความเข้าใจ
             เกี่ยวกับสภาพผู้เรียน และสามารถช่วยเหลือผู้เรียนได้ตรงกับความต้องการ
         3. จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมทั้งในโรงเรียนและห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนการสอน
             เช่น แก้ปัญหาเรื่องอากาศร้อน โดยการซ่อมบารุงพัดลมให้สามารถใช้งานได้ทุก
             ห้องเรียน บรรยากาศในการสอน เช่น เสริมสร้างแรงจูงใจให้เกิดแก่ผู้เรียน เสริมแรง
             บวกแก่ผู้เรียน
         4. เสริมสร้างงานประสานสัมพันธ์ชุมชน ประชาสัมพันธ์ชุมชน จัดทาวารสารกิจกรรม
             เผยแพร่กิจกรรมต่างๆที่โรงเรียนได้จัดทาขึ้นหรือร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
         5. ส่งเสริมให้บุคลากรจัดทาแบบฝึกเพิ่มเติมการเรียนรู้ แบบฝึกทักษะในรายวิชาที่ตนสอน
         6. จัดทาคลังข้อสอบ และฝึกให้นักเรียนทาข้อสอบ Onet Las และ NT เพื่อให้ผู้เรียนฝึก
             วิเคราะห์ข้อสอบที่ได้มาตรฐานจากสานักงานทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
         7. จัดทาแบบฝึกอ่าน ฝึกสะกดคา แบบฝึกเขียน เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่อ่านหนังสือไม่
             ออก อ่านหนังสือไม่คล่อง อันเป็นผลให้การเรียนในรายวิชาอื่นๆมีปัญหาตามไปด้วย
         8. จัดทาแบบฝึกทักษะการคานวณเพื่อให้นักเรียนใช้ฝึกทักษะการคานวณในคาบกิจกรรม
             ซ่อมเสริม
         9. ใช้สื่อการเรียนรู้แบบ ICT เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน โดย
             ผู้เรียนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ทุกห้องเรียน ห้องสมุดและห้องปฏิบัติการต่างๆ

เป้าหมาย
       นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 6 ทุกกลุมสาระ
                                                                     ่
จุดเน้นที่ 2 ลดอัตราการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2,3 ขึ้นไป อ่านออก
เขียนได้ทุกคนและส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้

          สภาพปัจจุบัน
          จากผลการสอนวัดคุณภาพ ผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปีการศึกษา 2552-2553 ทา
ให้ทราบว่านักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2- 3 รวมถึงระดับชั้นประถมศึกษาอื่นมีอัตราการอ่านออก
เสียงอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เรื่องการเขียนอยู่ในเกณฑ์ต่า ดังตารางที่ 2.1
          ตารางที่ 2.1 แสดงค่าเฉลี่ยของการสอบวัดผลผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปี
การศึกษา 2552-2553 ในเรื่องการเขียนและการอ่าน

                                               คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
                   วิชา                       ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
                                 ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553       เพิ่ม / ลด
            การเขียน                  47.83             59.17           +11.34
            การอ่านออกเสียง           82.66             80.74            -1.92

       ปัญหา
               1. ผู้เรียนขาดความเอาใจใส่ในการเรียนการ ขาดความเข้าในเนื้อหาที่อ่านและเขียน
               2. นักเรียนมีปัญหาด้านการเรียนรู้ เครียดกังวล ไม่มีความมั่นใจในตนเอง
               3. ขาดความเอาใจใส่จากผู้ปกครองในการฝึกอ่าน ฝึกเขียน ทาให้เมื่อกลับถึงบ้านผู้เรียน
                  มักไม่สนใจแบบฝึกที่ครูมอบหมายให้
               4. เนื้อในแบบเรียนมีความยากเกินไป ไม่เหมาะกับเด็กที่พื้นฐานทางครอบครัวที่ผู้ปกครอง
                  มีการดารงชีพแบบหาเช้ากินค่า หรือหย่าร้าง อพยพอยู่บ่อยๆเพราะผู้ปกครองไม่มีเวลา
                  ดูแลเอาใจใส่

       วิธีการดาเนินการในการแก้ปัญหา
               1. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนศึกษาข้อมูลของผู้เรียน สภาพปัญหาทางกายภาพและทางจิตใจของ
                    ผู้เรียน โดยใช้ข้อมูลจากระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้ทราบถึงปัญหาการขาด
                    ความเอาใจใส่ในการเรียน
               2. ส่งเสริมครูผู้สอนให้สอนโดยใช้แรงจูงใจ การเสริมแรงนางบวกแก่ผู้เรียน ลด ละ เลิก
                    อัตราการดุ ว่ากล่าวตักเตือนที่อาจจะทาให้ผู้เรียนเกิดความเครียด ความกังวล และความ
                    อับอาย ซึ่งจะจะนามาสู่พฤติกรรมการต่อต้าน เช่นการ ว่ากล่าวต่อหน้าเพื่อนๆน้องๆ
                    หน้าเสาธง การทาโทษหน้าเสาธง
3. การทาวิจัยในชั้นเรียน โดยการนานักเรียนที่มีปัญหาด้านทักษะในการเขียนและการอ่าน
                   มาเป็นกรณีศึกษาในการแก้ปัญหา
                4. ส่งเสริมความเข้าใจกับผู้ปกครอง ให้ความเอาใจใส่แก่บุตรหลาน เมื่อกลับถึงบ้าน โดย
                   แนะนาถึงผลเสีย ของการขาดความดูแลเอาใจใส่ต่อบุตรหลาน
                5. ใช้สื่อ ICT เพื่อส่งเสริม สร้างแรงกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น อยากรู้อยาก
                   เห็น และอยากเรียน
                6. นากิจกรรมส่งเสริมการอ่านมาใช้ในการเรียนการสอน เช่น กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก
                   กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต กิจกรรมรักการอ่าน
                7. สร้างแบบฝึกอ่าน สะกดคาอย่างง่าย เพื่อให้เหมาะสาหรับเด็กที่มีปัญหาด้านการอ่าน
                   และเขียน
                8. นาแบบเรียนภาษาไทยปีพุทธศักราช 2521 มาใช้ในการฝึกอ่าน ซึ่งเนื้อหาในบทเรียน
                   เหล่านี้มีเนื้อหาที่ต่อเนื่อง ใช้ภาษาที่อ่านง่าย

        เป้าหมาย
        เพิ่มอัตราการอ่านเขียนได้ของนักเรียนให้มากกว่าร้อยละ 90 ของนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่
1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
จุดเน้นที่ 3 เพิ่มศักยภาพด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และด้าน
เทคโนโลยี

        สภาพปัจจุบัน
        จากปัญหาด้านอัตราการย้ายกลับภูมิลาเนาของครูผู้สอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
ภาษาอังกฤษ ทาให้ขาดความต่อเนื่องในการเรียนการสอน ส่งผลให้ผลการสอบระดับชาติ NT,ONET อยู่ใน
เกณฑ์ต่า ทาให้โรงเรียนตะหนักถึงปัญหาด้านเพิ่มศักยภาพด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้านคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ เป็นอย่างมาก
        ปัญหาด้านเทคโนโลยี เดิมโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์
เทคโนโลยี สื่อการสอนต่างๆ ปัจจุบันโรงเรียนได้รับการจัดสรรสื่อการเรียนรู้จากมูลนิธิวังไกลกังวล
โครงการคอมพิวเตอร์ (SP2) ทาให้มีอุปกรณ์ต่างๆ เพิ่มขึ้น แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ
        ปัญหาด้านการสอน ครูผู้สอนยังขาดการนาเทคโนโลยี มาใช้ในการเรียนการสอน

       ปัญหา
               1. มีการย้ายของบุคลากรสายงานสอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
                  บ่อยครั้ง
               2. ผู้เรียนมีอคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี
                  เพราะคิดว่ายากเกินไป
               3. อุปกรณ์สื่อการสอนยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ
               4. ครูผู้สอนขาดการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน

       วิธีการดาเนินการในการแก้ปัญหา
               1. เสริมสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
                    เทคโนโลยี โดยการการสร้างแรงจูงใจให้เกิดแก่ผู้เรียน รวมทั้งเสริมแรงในทางบวก
                    เพื่อให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดี เปิดใจพร้อมที่จะรับรู้และรับฟัง
               2. จัดหาอุปกรณ์เทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
                    และภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี เพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย และสนุกไปกับการ
                    เรียนการสอน
               3. อบรม ส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนสามารถใช้เทคโนยีเพื่อการเรียนการสอน
               4. จัดหาสื่อการเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย เหมาะสมและตรงกับระดับชั้นนั้นๆเพื่อ
                    เพิ่มศักยภาพในการเรียนของผู้เรียน
               5. ส่งเสริมให้ผู้เรียน ทากิจกรรม ชมเชย ให้รางวัลเมื่อผู้เรียนมีศักยภาพในด้านดังกล่าว
                    เช่น เมื่อได้รับรางวัลเกี่ยวกับการแข่งขันวิชาการระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นต้น
               6. ใช้กิจกรรมซ่อมเสริมเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการเรียนรู้
เป้าหมาย
ผู้เรียนมีศักยภาพด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี
ซึ่งผลของการเพิ่มศักยภาพ วัดได้จากผลการสอบระดับชาติมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนมีความสานึกรักชาติไทยและน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ดารงชีวิตและขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ

          สภาพปัจจุบัน
          โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา จัดการเรียนการสอนโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยจะเห็นได้จากได้รับ
รางวัลเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ยุวเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด โรงเรียนเรียนต้นแบบยุวเกษตรกร
          ร่วมส่งเสริมความสานึกรักชาติไทย ผ่านกิจกรรมหน้าเสาธง มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เช่นวัน
ภาษาไทย วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย สภานักเรียน เป็นต้น
          ดาเนินกิจกรรม ยุวเกษตรกรในโรงเรียนเพื่อส่งเสริมให้มีความรู้ทักษะการปฏิบัติในการประกอบ
อาชีพ นาความรู้ที่ทางโรงเรียนจัดให้นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสามารถเป็นตัวอย่างให้แก่
ชุมชนและสังคมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดีและเพื่อเตรียมวัสดุประกอบอาหารที่สะอาด
ปลอดภัยจากสารพิษสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันสาหรับนักเรียน เป็นต้น

       ปัญหา
               1. นักเรียนขาดความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมส่งเสริมความเป็นไทย เช่น กิจกรรม
                  เคารพธงชาติหน้าเสาธง กิจกรรมวันภาษาไทย เป็นต้น
               2. นักเรียนไม่ให้ความสาคัญกับกระบวนประชาธิปไตย
               3. นักเรียนขาดทักษะ และไม่เห็นความสาคัญของการอยู่แบบพอเพียง

       วิธีดาเนินการแก้ไขปัญหา
                 1. ส่งเสริมให้นักเรียนเห็นความสาคัญของกิจกรรมหน้าเสาธง ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม
                    ให้ผู้เรียนมีความรักในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
                 2. ส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย ด้วยการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สภานักเรียน
                    ให้มีบทบาทหน้าที่ที่เป็นไปตามกระบวนการประชาธิปไตย
                 3. ส่งเสริมให้คณะกรรมการนักเรียนมีบทบาทมากขึ้นในการควบคุม กากับดูแล พัฒนา
                    และมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียนเช่น ระเบียบวินัย ความสะอาด เป็นต้น
                 4. ส่งเสริม ทาความเข้าใจและเพิ่มทักษะในการอยู่แบบพอเพียงให้แก่ผู้เรียน เช่น โครง
                    ออมวันละ 1 บาท โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้

       เป้าหมาย
              ผู้เรียนมีความสานึกรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ร่วมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็น
       ไทย เห็นความสาคัญของประชาธิปไตยและดารงชีวิตอยู่แบบพอเพียง มีทักษะการดารงชีวิตแบบ
       พอเพียงผ่านการออม และกิจกรรมทางเกษตร
จุดเน้นที่ 5 ส่งเสริมและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน

              สภาพทั่วไป
              โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยจัดทาข้อมูลช่วยนักเรียนเป็น
       ประจาทุกปี แต่ยังการดูแลเข้าถึงนักเรียนยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร อีกทั้งข้อมูลที่จัดเก็บยังไม่สามารถ
       นาไปใช้กับงานส่วนอื่นๆได้ เช่น งานทะเบียน งานประจาชั้น

               ปัญหา
               1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
               2. ข้อมูลที่ใช้ในปีก่อนหน้าไม่สามารถนามาใช้ในปีถัดไปได้
               3. บุคลากรไม่สามารถนาส่งข้อมูลที่ได้ทาการสารวจในปีนั้นๆส่งต่อไปยังปีถัดไปได้
               4. ขาดการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ
               5. บุคลากรขาดความเข้าใจและขาดความตระหนักเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

               วิธีดาเนินการแก้ปัญหา
               1. ควบคุม ติดตาม ส่งเสริม ให้บุคลากรเร่งรัดทาความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลให้ครบ
                    ทุกคน
               2. พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้มีระบบ สามารถนาข้อมูล
                    ไปใช้ในปีถัดไปได้
               3. แนะนา ขยายผลเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้จากการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลว่า ข้อมูลดังกล่าว
                    เป็นข้อมูลหลักที่จะทาให้ทราบถึงสภาพปัญหา และจะทาให้แก้ปัญหาต่างๆของผู้เรียน
                    ได้อย่างครอบคลุม
               4. สร้างความตระหนักให้บุคลากรให้เห็นความสาคัญเป็นอย่างมากของระบบดูแล
                    ช่วยเหลือนักเรียน

                  เป้าหมาย
                  ครูและบุคลากรรู้จักนักเรียนทุกคนและสามารถนาข้อมูลนักเรียนมาวิเคราะห์และช่วยเหลือ
นักเรียน ทั้งในด้านการเรียน และสภาพร่ายกาย จิตใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จุดเน้นที่ 6 ส่งเสริมระบบการช่วยเหลือครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้ามั่นคงใน
วิชาชีพและเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

            สภาพปัจจุบัน
                     ครูที่ปฏิบัติงานสอนในโรงเรียนมหาธิคุณวิทยาทุกคน ปฏิบัติงานได้อย่างเต็ม
ความสามารถ แต่ยังขาดประสบการณ์ในงานที่ได้รับมอบหมายอื่นนอกเหนือจากภาระงานสอนซึ่งเป็นงานที่
ขาดไม่ได้

               ปัญหา
                       1.   ครูมีความชานาญในภาระงานที่ได้รับมอบหมายน้อย
                       2.   ขาดการจัดเก็บเอกสารทางการศึกษาที่เป็นระบบแบบแผน
                       3.   ขาดการนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้เพื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน
                       4.   มีอัตราการย้ายสูง

               วิธีการดาเนินแก้ไขปัญหา
                       1. ดาเนินงานโครงการศึกษาดูงาน เพื่อนาระบบแบบแผน ที่มีประโยชน์กลับมา
                           ปรับปรุง พัฒนาภาระงานของตน
                       2. อบรมศึกษาดูงานเกี่ยวกับงานสารบรรณ เพื่อที่จะทาให้บุคลากรสามารถจัดเก็บ
                           ภาระงานของตนอย่างเป็นระบบ
                       3. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนเพื่อให้บุคลากร สามารถนาข้อมูล
                           สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในปีถัดไปได้
                       4. ส่งเสริมสวัสดิการ สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรมีความศรัทธา รักท้องถิ่น
                       5. จัดหางบประมาณเพื่อให้ครูและบุคลากร ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร พัฒนา
                           ตนเองทั้งการศึกษาต่อ การอบรมสัมมนา การศึกษาดูงาน

               เป้าหมาย
                      1.    ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาในสาขาวิชาชีพที่ถนัด ตามความสนใจ
                      2.    สามารถจัดเก็บเอกสารได้อย่างเป็นระบบ
                      3.    นาระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอน
                      4.    มีแรงจูงในในการทางาน โดยไม่มีความกังวลต้องกลับภูมิลาเนา
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาโรงเรียนคู่ขนานของโรงเรียนดีทุกประเภท (โรงเรียนสู่มาตรฐานสากล, โรงเรียน
ในฝันและโรงเรียนดีประจาตาบล) เพื่อสร้างสถานศึกษายุคใหม่ที่สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง

          สภาพปัจจุบัน
                โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา เป็นโรงเรียนที่เคยเป็นโรงเรียนต้นแบบ เช่น โรงเรียนต้นแบบยุว
เกษตรกร โรงเรียนต้นแบบวิถีพุทธ โรงเรียนต้นแบบห้องสมุดมีชีวิต ปัจจุบันเป็นโรงเรียนขยายโอกาสทาง
การศึกษา มีนักเรียน 233 คน ผู้บริหาร 1 คน ครู 14 คน ขาดครู 1 คน เปิดทาการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1
ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

       ปัญหา
               1. ชุมชนและเขตพื้นที่บริการบางส่วน ขาดความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
                  เนื่องจากอัตราการย้ายออกออกนักเรียน
               2. ขาดความต่อเนื่องในการจัดการศึกษา เนื่องจากอัตราการย้ายกลับภูมิลาเนาของครูสูง
               3. ใช้สื่อ ICT เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนน้อย

       วิธีการดาเนินการแก้ไขปัญหา
               1. พัฒนาปรับปรุงโรงเรียนตามจุดเน้นของสานักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษา
                    สระแก้วเขต 1 จุดเน้นที่ 1-11
               2. พัฒนาปรับปรุงโรงเรียนตามข้อแนะนาของการประเมินของ สมศ.รอบที่ 2
               3. พัฒนาปรับปรุงโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนดีประจาตาบล
               4. พัฒนาปรับปรุงระบบ ICT เพื่อการเรียนการสอน
               5. ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อ ICT และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

       เป้าหมาย
              1. เป็นโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับ
                 โรงเรียนดีประจาตาบล
              2. เป็นโรงเรียนที่สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ ICT และเทคโนโลยีเพื่อการสอน
                 ได้
จุดเน้นที่ 8 จัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศพฤติกรรมการบริหารและการจัดการเรียนการสอน เพื่อใช้
ในการเฝ้าระวังและติดตามคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาเป็นรายโรงเรียน

         สภาพทั่วไป
                โรงเรียนมหาธิคุณวิทยามีการนาสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการเรียนการสอนมา
ใช้งาน

         ปัญหา
               ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียน
         การสอนที่ไม่เป็นระบบ

         วิธีการดาเนินการแก้ปัญหา
                 จัดทาข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและการเรียนการสอนให้เป็นระบบและเป็นปัจจุบัน

         เป้าหมาย
                โรงเรียนมีข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและการเรียนการสอนเป็นระบบและเป็นปัจจุบัน
จุดเน้นที่ 9 ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและผ่าน
การรับรองมาตรฐาน จากการประเมินคุณภาพภายนอก

       สภาพปัจจุบัน
             โรงเรียนมีการจัดทาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ผ่านการประเมิน สมศ.รอบที่ 2

       ปัญหา
               1. ครูขาดความรู้ความเข้าใจและความตระหนักถึงผลของการประกันคุณภาพภายใน
               2. มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ไม่เข้มแข็ง

       วิธีดาเนินการในการแก้ปัญหา
                1. สร้างความตระหนัก ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในและ
                    ประกันคุณภาพภายนอก
                2. สร้างระบบประกันคุณภาพภายในให้เข้มแข็งและให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ
                    ภายนอก

       เป้าหมาย
              1. มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง สอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอก
              2. ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานจากการประเมินคุณภาพภายนอก
จุดเน้นที่ 10 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการขององค์คณะบุคคล เครือข่ายสถานศึกษาและผู้
มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานเชิงรุก

        สภาพปัจจุบัน
        โรงเรี ย นมหาธิ คุ ณ วิท ยา มี ก ารด าเนิน งานที่ เกี่ ย วข้อ งกั บองค์ คณะบุ คคลที่ มี ส่ว นร่ วมในการจั ด
การศึกษาของโรงเรียน คือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในส่วนของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนจะมีบทบาท
ร่วมในการดาเนินงานของโรงเรียนทุกขั้นตอน เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนจะเน้นที่ความร่วมมือในการดูแล
นักเรียนทั้งด้าน ความประพฤติ และสุขภาพอนามัย ส่วนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีบทบาทในการ
ส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียน เช่น กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมวันลอยกระทง เป็นต้น ในการ
ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เชิงรุก ได้ดาเนินการในหลายรูปแบบ ทั้งการ
ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายของโรงเรียนและหมู่บ้านในเขตบริการ การจัดทาวารสาร การจัดแสดงผล
งานต่อสาธารณชน และการประชาสัมพันธ์ผ่านการประชุมผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

         ปัญหา
         1. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้น ฐานของโรงเรียนและเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่จะ
เสนอความคิ ด เห็ น น้ อ ย มั ก จะบอกว่ า ยกให้ โ รงเรี ย นเป็ น ผู้ ด าเนิ น การเลย โดยให้ เ หตุ ผ ลว่ า คณะครู มี
ความสามารถ มีความรู้มากกว่าเขา และสิ่งที่โรงเรียนทาดีและเป็นที่พอใจอยู่แล้ว แต่อยากให้โรงเรียนรายงาน
ผล การทางานให้ทราบอย่างต่อเนื่อง
         2. การจัดท าวารสารเผยแพร่ผลงานของโรงเรียนทุกสิ้นเดือนไม่สามารถออกได้ตามกาหนดเวลา
เพราะครูมีภาระงานมาก ไม่ว่าจะเป็นทั้งงานสอนและงานอื่นๆนอกเหนือจากงานสอน ทาให้ข่าวสารที่จะ
ประชาสัมพันธ์ในบางเดือนเกิดความล่าช้า
         3. โรงเรียนขาดการประสานงานกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง อันเป็นสาเหตุจากการที่โรงเรียนมีครูย้าย
บ่อย ผู้ปกครอง และชุมชน จึงไม่ค่อยมีความสนิทสนม คุ้นเคยกับครูเท่าที่ควร

         วิธีการดาเนินการแก้ไขปัญหา
         1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้มากขึ้นโดยเฉพาะคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของโรงเรียน และเครือข่ายผู้ปกครองโดยการรายงานผลการดาเนินงานให้ชุมชนได้ทราบถึงข่าวสารและความ
เคลื่อนไหวของโรงเรียนให้มากที่สุด พร้อมทั้งการเชิญให้เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้
ชุม ชนมี ความเข้ า ใจในระบบการท างานของโรงเรียน ทราบความก้ าวหน้าในการพั ฒนาโรงเรีย น อย่ าง
ต่อเนื่องและรู้สึกเป็นเจ้าของโรงเรียนร่วมกัน
         2. ประสานกับหน่วยงานในชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น เช่น งานวันเด็ก
แห่งชาติ งานลอยกระทง เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพั นธ์ระหว่างครู นัก เรีย น ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น อีกทั้งในการจัดการเรียนการสอน ควรให้ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้มี
ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียนอีกด้วย ซึ่งจะเป็น
การสร้างความตระหนักในการสานึกรักบ้านเกิดของนักเรียนอีกทางหนึ่ง
         3. ประชาสัมพันธ์ผลงานเชิงรุกหลากหลายช่องทาง ได้แก่
                  1. การประชาสัมพันธ์โดยการแจ้งผ่านนักเรียน
                  2. การประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นการประชุ ม ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทั้ ง การประชุ ม คณะกรรมการ
สถานศึกษา การประชุมผู้ปกครองนักเรียน
                  3. การประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายของโรงเรียนและของหมู่บ้าน ทุกหมู่ใน เขตบริการ
                  4. การประชาสัมพันธ์โดยการจัดทาวารสารเผยแพร่ผลการดาเนินงานเดิมทาเป็น วารสารเล็ก
ๆ เผยแพร่เดือนละครั้งและทาอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ
                  5. ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน

        เป้าหมาย
        1. คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนให้ความร่วมมือกับโรงเรียนมากขึ้นโดย เฉพาะ
การระดมทรัพ ยากร เนื่อ งจากการประชาสั มพั นธ์ อย่ า งต่อเนื่องและหลากหลาย รูป แบบ ทาให้ทราบว่ า
โรงเรียนมีการดาเนินงานจริงและเกิดการพัฒนาอย่างเห็นได้ ชัด จึงให้ความช่วยเหลื ออย่างเต็มที่ และมีการ
เสนอความคิดเห็นมากขึ้น
        2. โรงเรียนและชุมชนมีการประสานงานกันอย่างต่อเนื่อง และเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น
อย่างสม่าเสมอ อีกทั้ง ครู และผู้ปกครองนักเรียนรู้จักกันเพิ่มมากขึ้น
        3. การประชาสัมพันธ์ผลงานเชิงรุกอย่างหลากหลายช่องทาง ทาให้ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องทราบผลการ
ดาเนินงานของโรงเรียน ส่งผลให้เกิดความเข้าใจและความรู้สึกที่ ดีต่อการดาเนินงานของโรงเรี ยน ต่อคณะครู
และผู้บริหารโรงเรียน
จุดเน้นที่ 11 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสิ่งแวดล้อม และอานวยความสะดวกด้านที่อยู่อาศัย
(บ้านพักครู) และสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของครูและนักเรียน
         สภาพปัจจุบัน
         1. ด้านสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน
         โรงเรียนมหาธิคุณวิทยาโดยทั่วไปมีความสะอาดร่มรื่น ด้วยร่มเงาของไม้ยืนต้นที่หลากหลายชนิด
ภายในโรงเรียนเป็นถนนลูกรัง มีอาคารเรียนจานวน 4 อาคาร และอาคารเอนกประสงค์จานวน 1 อาคาร รั้ว
โรงเรียนยังไม่มีการสร้างให้มั่นคงถาวร
         2. ด้านที่อยู่อาศัยของครู
         โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา มีบ้านพักครูจานวน 3 หลัง มีคณะครูพักอาศัยในบ้านพักครู รวม 8 คน สภาพ
ภายในทรุดโทรมแต่ยังใช้พักอาศัยได้
         3. ด้านสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์)
         โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา มีส้วมทั้งหมด 5 หลัง หลังที่ 1 ขนาด 4 ที่ หลังที่ 2 ขนาด 4 ที่ หลังที่ 3 ขนาด
4 ที่ และหลังที่ 5 ขนาด 4 ที่ ซึ่งส้วมทุกหลังได้รับการดูแลให้สะอาดและยังอยู่ในสภาพใช้การได้ดี จานวน
ส้วมเพียงพอกับจานวนนักเรียน

        ปัญหา
        1. รั้วของโรงเรียนยังไม่ได้สร้างให้มั่นคงถาวรทาให้ไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของบุคลากร
และทรัพย์สินของทางราชการ อีกทั้งทาให้ภูมิทัศน์ของโรงเรียนดูไม่สวยงาม ไม่เป็นระเบียบ
        2. ถนนที่เป็นถนนลูกรัง ทาให้การสัญจรไม่สะดวก เกิดฝุ่นในฤดูแล้ง เกิดน้าท่วมขังเป็นโคลนตมใน
ฤดูฝนและทาความสะอาดได้ยาก
        3. บ้านพักครูจานวนไม่เพียงพอ ครูต้องพักอาศัยอยู่รวมกัน ห้องน้าห้องส้วมค่อนข้างทรุดโทรม ทาให้
ไม่สะดวก และไม่มีความสุขจากการพักอาศัยเท่าที่ควร
        4. ด้านสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) โรงเรียนมีจานวนส้วมเพียงพอกับจานวนนักเรียน และมีสภาพใช้
การได้ดีทุกหลัง แต่ยังคงต้องพัฒนาเรื่องความสะอาดต่อไปอย่างต่อเนื่อง

        วิธีการดาเนินการแก้ไขปัญหา
        1. ระดมทรัพยากรจากชุมชนในการสร้างรั้วโรงเรียนเสร็จเรียบร้อยทุกด้าน และระดมทรัพยากรจาก
ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการซ่อมแซมและปรับภูมิทัศน์
        2. ระดมทรัพยากรจากชุมชนในการสร้างถนนทางเข้าโรงเรียน
        3. ของบประมาณ จากทางราชการในการซ่อมแซมบ้านพักครูและสร้างบ้านพักครูเพิ่มเติม
        4. ระดมทรัพยากรจากชุมชนในการซ่อมแซมบ้านพักครูและสร้าง บ้านพักครูเพิ่มเติม
        5. มอบหมายคณะครูรับผิดชอบดูแลบริหารจัดการห้องส้วมแต่ละห้องให้สะอาดเรียบร้อยอยู่เสมอ
โดยวิธีการ
                - ออกมาตรการ/ข้อปฏิบัติการใช้ห้องส้วม
- จัดนักเรียนดูแลรักษาความสะอาดประจาวัน
                 - จัดนักเรียนเป็นผู้ตรวจความสะอาดของห้องส้วม การ ปิด-เปิดน้าและไฟฟ้า
                 - จัดหาวัสดุในท้องถิ่นใช้ดับกลิ่นในห้องส้วม
                 - จัดหาอุปกรณ์ทาความสะอาดให้เพียงพอ
        6. จัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์ทาความสะอาดส้วมสัปดาห์ละ 1 วัน โดยให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีทาความ
สะอาดส้วม วิธีการใช้ส้วมที่สะอาดและถูกสุขลักษณะ แก่ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตลอดถึงชุมชน
        7. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ส้วม โดยบูรณาการในกลุ่มสาระต่าง ๆ และจัดกิจกรรมส่งเสริมภายใน
โรงเรียน เพื่อสร้างลักษณะนิสัยให้เกิดขึ้นกับนักเรียนในการดูแลทาความสะอาดส้วม ดูแลทาความสะอาด
ตนเองหลังการใช้ส้วม เป็นต้น

           เป้าหมาย
           1.นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส้วมสุขสันต์ ร้อยละ 100
           2.โรงเรียนมีห้องส้วมสุขสันต์ สะอาด และถูกสุขลักษณะ
           3.ห้องส้วมโรงเรียนมีความหลากหลายและส่งเสริมบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
           4.โรงเรียนมีส้วมได้มาตรฐานใน 3 เรื่อง คือ สะอาด (Healthy) เพียงพอ (Accessibility) และปลอดภัย
(Safety)
           5.นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมอย่างถูกสุขลักษณะ
           6.นักเรียน ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดและดาเนินโครงการส้วมสุขสันต์

More Related Content

What's hot

รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54
รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54
รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54tassanee chaicharoen
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1pooming
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...
SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...
SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...
Somchart Phaeumnart
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
kroodarunee samerpak
 
O net 53
O net 53O net 53
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริงหน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริงkrusoon1103
 

What's hot (8)

รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54
รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54
รายงาน11จุดเน้น ภาค1 ปี54
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...
SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...
SAR2560 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนแม่สะเรียง บริพัตรศึกษา ปีก...
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
Sar pakmaiwittayanukul-school-2559
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริงหน่วยที่ 06 จำนวนจริง
หน่วยที่ 06 จำนวนจริง
 

Similar to 11

ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
Nate Sadayu
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...
การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...
การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...
สรวิชญ์ สินสวาท
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55tassanee chaicharoen
 
04 15กค56 2สารสนเทศ 56-2
04 15กค56 2สารสนเทศ 56-204 15กค56 2สารสนเทศ 56-2
04 15กค56 2สารสนเทศ 56-2Nadeewittaya School
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-editkruchaily
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
Sircom Smarnbua
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
Sircom Smarnbua
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
Wichai Likitponrak
 
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa SchoolSar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Somchart Phaeumnart
 

Similar to 11 (20)

ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 1
 
Focus 1-55
Focus 1-55Focus 1-55
Focus 1-55
 
รวมบท
รวมบทรวมบท
รวมบท
 
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
นำเสนอโรงเรียนวัดบ้านม่อน 2559
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
นำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสามนำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสาม
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...
การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...
การค้นคว้าอิสระเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการบริหารสถานศึกษา ในโรงเรี...
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
 
04 15กค56 2สารสนเทศ 56-2
04 15กค56 2สารสนเทศ 56-204 15กค56 2สารสนเทศ 56-2
04 15กค56 2สารสนเทศ 56-2
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-edit
 
ผล O net 54
ผล O net 54ผล O net 54
ผล O net 54
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
 
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 6 เทอม 1
 
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa SchoolSar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
Sar 2559 Maesariang Boripat Suksa School
 

More from โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา

จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...
จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...
จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
จุดเน้นที่  6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...จุดเน้นที่  6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
จุดเน้นที่ 6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ  จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่  8จุดเน้นที่  8

More from โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา (20)

รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
 
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
 
จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...
จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...
จุดเน้นที่ 8 บริหารจัดการสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการประชา...
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
 
จุดเน้นที่ 6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
จุดเน้นที่  6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...จุดเน้นที่  6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
จุดเน้นที่ 6 ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนระดับห้องเรียนตามมาตรฐานห้...
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
 
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ  จุดเน้นที่  2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
จุดเน้นที่ 2 จัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ
 
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 8
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 4
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 9
 
จุดเน้นที่ 9
จุดเน้นที่  9จุดเน้นที่  9
จุดเน้นที่ 9
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่  8จุดเน้นที่  8
จุดเน้นที่ 8
 

Recently uploaded

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

11

  • 1. กรอบการปฏิบัติงานแนบท้ายบันทึกสัญญาผลการปฏิบัติงานของโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2554 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2554  จุดเน้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 จุดเน้นที่ 1 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุมสาระหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 6 ่ สภาพปัจจุบัน โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เปิดสอนในระดับ อนุบาล 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจานวนนักเรียนทั้งหมด 233 คน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2554) มีอัตราการย้าย ออกของข้าราชการครูสูง จึงทาให้ขาดความต่อเนื่องในการเรียนการสอน ส่งผลให้การสอบวัดระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางเรียนของนักเรียนในการสอบ NT , LAS ,ONET ปีการศึกษา 2553 มีระดับต่า รายละเอียดดังตาราง ตารางที่ 1.1 แสดงการเปรียบเทียบร้อยละผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปีการศึกษา 2552-2553 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายสาระการเรียนรู้ และเป้าหมายของโรงเรียนตามจุดเน้นของ สพป.สก.1 ประจาปีการศึกษา 2554 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ วิชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป้าหมายโรงเรียน ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 เพิ่ม / ลด ปีการศึกษา 2554 ร้อยละ ภาษาไทย 32.73 48.41 +15.68 54.41 ≥6 คณิตศาสตร์ 29.85 60.32 +30.47 66.32 ≥6 วิทยาศาสตร์ 28.79 46.83 +18.04 52.83 ≥6 การเขียน 47.83 59.17 +11.34 65.17 ≥6 การอ่านออกเสียง 82.66 80.74 -1.92 86.74 ≥6 กาคิดคานวณ 16.52 53.96 +37.44 59.96 ≥6 รวม 39.73 58.24 +18.51 64.24 ≥6
  • 2. ตารางที่ 1.2 แสดงการเปรียบเทียบร้อยละผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปีการศึกษา 2552-2553 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายสาระการเรียนรู้ และเป้าหมายของโรงเรียนตามจุดเน้นของ สพป.สก.1 ประจาปีการศึกษา 2554 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ วิชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป้าหมายโรงเรียน ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ การเขียน 58.75 64.75 ≥6 การอ่านออกเสียง 59.17 65.17 ≥6 กาคิดคานวณ 65.31 71.31 ≥6 รวม 61.03 67.03 ≥6 ตารางที่ 1.3 แสดงผลค่าเฉลี่ย การประเมินคุณภาพนักเรียน ( LAS) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2,5 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามลาดับ ประจาปีการศึกษา 2552-2553 จาแนกรายสาระ เป้าหมายของโรงเรียนตาม จุดเน้นของ สพป.สก.1 ประจาปีการศึกษา 2554 ชั้น สาระการเรียนรู้ ปี 2552 ปี 2553 เพิ่ม/ลด เป้าหมายปี 2554 เพิ่มขึ้น ภาษาไทย 51.60 44.04 -7.56 50.04 ≥6 ประถมศึกษาปีที่2 คณิตศาสตร์ 48.40 50.00 +1.6 56 ≥6 รวม 50.00 47.02 -2.98 53.02 ≥6 ภาษาไทย 36.27 40.30 +4.03 46.3 ≥6 คณิตศาสตร์ 20.08 25.50 +5.42 31.5 ≥6 วิทยาศาสตร์ 33.30 20.56 -12.74 26.56 ≥6 ประถมศึกษาปีที่5 สังคม 24.64 40.50 +15.86 46.5 ≥6 ภาษาอังกฤษ - 29.70 - 35.7 ≥6 รวม 28.57 31.31 +2.74 37.31 ≥6 ภาษาไทย 38.37 33.33 -5.04 39.33 ≥6 คณิตศาสตร์ 25.70 49.27 +23.57 55.27 ≥6 วิทยาศาสตร์ 33.61 41.50 +7.89 47.5 ≥6 มัธยมศึกษาปีที่ 2 สังคม 34.63 24.40 -10.23 30.4 ≥6 ภาษาอังกฤษ 35.46 26.55 -8.91 32.55 ≥6 รวม 33.55 35.01 +1.46 41.01 ≥6
  • 3. ตารางที่ 1.3 แสดงผลค่าเฉลี่ย การประเมินคุณภาพนักเรียน ( LAS) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2,5 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามลาดับ ประจาปีการศึกษา 2552-2553 จาแนกรายสาระ เป้าหมายของโรงเรียนตาม จุดเน้นของ สพป.สก.1 ประจาปีการศึกษา 2554 คะแนนเฉลี่ย วิชา ประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 เป้าหมาย ป.6 เป้าหมาย ม. 3 2552 2553 เพิ่ม/ลด 2552 2553 เพิ่ม/ลด 2554 เพิ่ม/ลด 2554 เพิ่ม/ลด ภาษาไทย 34.64 24.50 -10.14 31.52 40.32 8.8 30.5 ≥6 46.32 ≥6 สังคม 27.84 36.29 8.45 32.92 37.92 5 42.29 ≥6 43.92 ≥6 ภาษาอังกฤษ 19.65 14.79 -4.86 18.44 11.04 -7.4 20.79 ≥6 17.04 ≥6 คณิตศาสตร์ 20.00 22.21 2.21 22.00 22.40 0.4 28.21 ≥6 28.4 ≥6 วิทยาศาสตร์ 27.02 30.13 3.11 24.15 23.30 -0.85 36.13 ≥6 29.3 ≥6 สุขศึกษา 52.52 44.64 -7.88 53.44 72.00 18.56 50.64 ≥6 78 ≥6 ศิลปะ 33.20 30.71 -2.49 25.31 27.00 1.69 36.71 ≥6 33 ≥6 การงาน 39.47 45.71 6.24 23.03 44.80 21.77 51.71 ≥6 50.8 ≥6 รวม 31.79 31.12 -0.67 28.85 34.85 6 37.12 ≥6 40.85 ≥6 ปัญหา 1. อัตราการย้ายของข้าราชการครูสูง ทาให้ขาดความต่อเนื่องในการจัดการเรียนการสอน 2. ขาดความเข้าใจในตัวผู้เรียน ถึงสภาพปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาส่วนตัวของผู้เรียน 3. ปัจจัยสภาพแวดล้อมด้านสังคมและอารมณ์ของผู้เรียน สภาพแวดล้อมของครอบครัว เด็กที่มาจากครอบครัวที่พ่อแม่เข้มงวดมากไป หรือปล่อยปละหย่อนยาน ไม่ฝึกให้เด็กมี วินัยในตัวเอง ครอบครัวที่หย่าร้าง, พ่อแม่แยกกันอยู่หรือพ่อแม่ไปทางานต่างถิ่น ไม่มี ความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกๆ มีปญหาทางเศรษฐกิจมาก ั 4. สภาพแวดล้อมที่โรงเรียน เช่นสภาพการจัดชั้นเรียน บรรยากาศในชั้นเรียน ไม่มีความ พร้อมมากนัก หน้าร้อนอากาศร้อนทาให้นักเรียนมีความอึดอัด ไม่อยากนั่งในห้องเรียน ขาดความสนใจในการเรียน 5. ปัญหาสภาพแวดล้อมด้านทัศนคติของชุมชนและสังคม ทัศนคติของครูอาจารย์, ชุมชน และสังคมต่อโรงเรียน ศึกษาได้จากจานวนนักเรียนที่ย้ายออกระหว่างปีการศึกษา 6. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าเกือบทุกรายวิชา 7. นักเรียนอ่านหนังสือไม่ออก จึงทาให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียนในรายวิชาอื่นๆ 8. นักเรียนขาดทักษะในการคิดคานวณ
  • 4. วิธีดาเนินการในการแก้ปัญหา 1. ปรับปรุงบ้านพักครู ระบบสวัสดิการ ส่งเสริมกิจกรรมที่สานสัมพันธ์กับชุมชน เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเกิดความรักความศรัทธาในโรงเรียนและชุมชน 2. ศึกษาปัญหาของนักเรียนด้วยการใช้ข้อมูลจากระบบดูแลนักเรียน เพื่อให้มีความเข้าใจ เกี่ยวกับสภาพผู้เรียน และสามารถช่วยเหลือผู้เรียนได้ตรงกับความต้องการ 3. จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมทั้งในโรงเรียนและห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนการสอน เช่น แก้ปัญหาเรื่องอากาศร้อน โดยการซ่อมบารุงพัดลมให้สามารถใช้งานได้ทุก ห้องเรียน บรรยากาศในการสอน เช่น เสริมสร้างแรงจูงใจให้เกิดแก่ผู้เรียน เสริมแรง บวกแก่ผู้เรียน 4. เสริมสร้างงานประสานสัมพันธ์ชุมชน ประชาสัมพันธ์ชุมชน จัดทาวารสารกิจกรรม เผยแพร่กิจกรรมต่างๆที่โรงเรียนได้จัดทาขึ้นหรือร่วมมือกับหน่วยงานอื่น 5. ส่งเสริมให้บุคลากรจัดทาแบบฝึกเพิ่มเติมการเรียนรู้ แบบฝึกทักษะในรายวิชาที่ตนสอน 6. จัดทาคลังข้อสอบ และฝึกให้นักเรียนทาข้อสอบ Onet Las และ NT เพื่อให้ผู้เรียนฝึก วิเคราะห์ข้อสอบที่ได้มาตรฐานจากสานักงานทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 7. จัดทาแบบฝึกอ่าน ฝึกสะกดคา แบบฝึกเขียน เพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่อ่านหนังสือไม่ ออก อ่านหนังสือไม่คล่อง อันเป็นผลให้การเรียนในรายวิชาอื่นๆมีปัญหาตามไปด้วย 8. จัดทาแบบฝึกทักษะการคานวณเพื่อให้นักเรียนใช้ฝึกทักษะการคานวณในคาบกิจกรรม ซ่อมเสริม 9. ใช้สื่อการเรียนรู้แบบ ICT เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน โดย ผู้เรียนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ทุกห้องเรียน ห้องสมุดและห้องปฏิบัติการต่างๆ เป้าหมาย นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 6 ทุกกลุมสาระ ่
  • 5. จุดเน้นที่ 2 ลดอัตราการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2,3 ขึ้นไป อ่านออก เขียนได้ทุกคนและส่งเสริมการอ่านเพื่อการเรียนรู้ สภาพปัจจุบัน จากผลการสอนวัดคุณภาพ ผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปีการศึกษา 2552-2553 ทา ให้ทราบว่านักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2- 3 รวมถึงระดับชั้นประถมศึกษาอื่นมีอัตราการอ่านออก เสียงอยู่ในเกณฑ์ดี แต่เรื่องการเขียนอยู่ในเกณฑ์ต่า ดังตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 แสดงค่าเฉลี่ยของการสอบวัดผลผลการประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน(NT) ปี การศึกษา 2552-2553 ในเรื่องการเขียนและการอ่าน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ วิชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2552 ปีการศึกษา 2553 เพิ่ม / ลด การเขียน 47.83 59.17 +11.34 การอ่านออกเสียง 82.66 80.74 -1.92 ปัญหา 1. ผู้เรียนขาดความเอาใจใส่ในการเรียนการ ขาดความเข้าในเนื้อหาที่อ่านและเขียน 2. นักเรียนมีปัญหาด้านการเรียนรู้ เครียดกังวล ไม่มีความมั่นใจในตนเอง 3. ขาดความเอาใจใส่จากผู้ปกครองในการฝึกอ่าน ฝึกเขียน ทาให้เมื่อกลับถึงบ้านผู้เรียน มักไม่สนใจแบบฝึกที่ครูมอบหมายให้ 4. เนื้อในแบบเรียนมีความยากเกินไป ไม่เหมาะกับเด็กที่พื้นฐานทางครอบครัวที่ผู้ปกครอง มีการดารงชีพแบบหาเช้ากินค่า หรือหย่าร้าง อพยพอยู่บ่อยๆเพราะผู้ปกครองไม่มีเวลา ดูแลเอาใจใส่ วิธีการดาเนินการในการแก้ปัญหา 1. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนศึกษาข้อมูลของผู้เรียน สภาพปัญหาทางกายภาพและทางจิตใจของ ผู้เรียน โดยใช้ข้อมูลจากระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อให้ทราบถึงปัญหาการขาด ความเอาใจใส่ในการเรียน 2. ส่งเสริมครูผู้สอนให้สอนโดยใช้แรงจูงใจ การเสริมแรงนางบวกแก่ผู้เรียน ลด ละ เลิก อัตราการดุ ว่ากล่าวตักเตือนที่อาจจะทาให้ผู้เรียนเกิดความเครียด ความกังวล และความ อับอาย ซึ่งจะจะนามาสู่พฤติกรรมการต่อต้าน เช่นการ ว่ากล่าวต่อหน้าเพื่อนๆน้องๆ หน้าเสาธง การทาโทษหน้าเสาธง
  • 6. 3. การทาวิจัยในชั้นเรียน โดยการนานักเรียนที่มีปัญหาด้านทักษะในการเขียนและการอ่าน มาเป็นกรณีศึกษาในการแก้ปัญหา 4. ส่งเสริมความเข้าใจกับผู้ปกครอง ให้ความเอาใจใส่แก่บุตรหลาน เมื่อกลับถึงบ้าน โดย แนะนาถึงผลเสีย ของการขาดความดูแลเอาใจใส่ต่อบุตรหลาน 5. ใช้สื่อ ICT เพื่อส่งเสริม สร้างแรงกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น อยากรู้อยาก เห็น และอยากเรียน 6. นากิจกรรมส่งเสริมการอ่านมาใช้ในการเรียนการสอน เช่น กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต กิจกรรมรักการอ่าน 7. สร้างแบบฝึกอ่าน สะกดคาอย่างง่าย เพื่อให้เหมาะสาหรับเด็กที่มีปัญหาด้านการอ่าน และเขียน 8. นาแบบเรียนภาษาไทยปีพุทธศักราช 2521 มาใช้ในการฝึกอ่าน ซึ่งเนื้อหาในบทเรียน เหล่านี้มีเนื้อหาที่ต่อเนื่อง ใช้ภาษาที่อ่านง่าย เป้าหมาย เพิ่มอัตราการอ่านเขียนได้ของนักเรียนให้มากกว่าร้อยละ 90 ของนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
  • 7. จุดเน้นที่ 3 เพิ่มศักยภาพด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และด้าน เทคโนโลยี สภาพปัจจุบัน จากปัญหาด้านอัตราการย้ายกลับภูมิลาเนาของครูผู้สอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ ทาให้ขาดความต่อเนื่องในการเรียนการสอน ส่งผลให้ผลการสอบระดับชาติ NT,ONET อยู่ใน เกณฑ์ต่า ทาให้โรงเรียนตะหนักถึงปัญหาด้านเพิ่มศักยภาพด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็นอย่างมาก ปัญหาด้านเทคโนโลยี เดิมโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ เทคโนโลยี สื่อการสอนต่างๆ ปัจจุบันโรงเรียนได้รับการจัดสรรสื่อการเรียนรู้จากมูลนิธิวังไกลกังวล โครงการคอมพิวเตอร์ (SP2) ทาให้มีอุปกรณ์ต่างๆ เพิ่มขึ้น แต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ ปัญหาด้านการสอน ครูผู้สอนยังขาดการนาเทคโนโลยี มาใช้ในการเรียนการสอน ปัญหา 1. มีการย้ายของบุคลากรสายงานสอนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ บ่อยครั้ง 2. ผู้เรียนมีอคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี เพราะคิดว่ายากเกินไป 3. อุปกรณ์สื่อการสอนยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ 4. ครูผู้สอนขาดการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน วิธีการดาเนินการในการแก้ปัญหา 1. เสริมสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี โดยการการสร้างแรงจูงใจให้เกิดแก่ผู้เรียน รวมทั้งเสริมแรงในทางบวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดี เปิดใจพร้อมที่จะรับรู้และรับฟัง 2. จัดหาอุปกรณ์เทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี เพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย และสนุกไปกับการ เรียนการสอน 3. อบรม ส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนสามารถใช้เทคโนยีเพื่อการเรียนการสอน 4. จัดหาสื่อการเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย เหมาะสมและตรงกับระดับชั้นนั้นๆเพื่อ เพิ่มศักยภาพในการเรียนของผู้เรียน 5. ส่งเสริมให้ผู้เรียน ทากิจกรรม ชมเชย ให้รางวัลเมื่อผู้เรียนมีศักยภาพในด้านดังกล่าว เช่น เมื่อได้รับรางวัลเกี่ยวกับการแข่งขันวิชาการระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นต้น 6. ใช้กิจกรรมซ่อมเสริมเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการเรียนรู้
  • 8. เป้าหมาย ผู้เรียนมีศักยภาพด้านภาษาเพื่อการสื่อสาร ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี ซึ่งผลของการเพิ่มศักยภาพ วัดได้จากผลการสอบระดับชาติมีค่าเฉลี่ยสูงขึ้น
  • 9. จุดเน้นที่ 4 พัฒนาสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนมีความสานึกรักชาติไทยและน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ ดารงชีวิตและขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ สภาพปัจจุบัน โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา จัดการเรียนการสอนโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยจะเห็นได้จากได้รับ รางวัลเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ยุวเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด โรงเรียนเรียนต้นแบบยุวเกษตรกร ร่วมส่งเสริมความสานึกรักชาติไทย ผ่านกิจกรรมหน้าเสาธง มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เช่นวัน ภาษาไทย วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย สภานักเรียน เป็นต้น ดาเนินกิจกรรม ยุวเกษตรกรในโรงเรียนเพื่อส่งเสริมให้มีความรู้ทักษะการปฏิบัติในการประกอบ อาชีพ นาความรู้ที่ทางโรงเรียนจัดให้นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งสามารถเป็นตัวอย่างให้แก่ ชุมชนและสังคมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดีและเพื่อเตรียมวัสดุประกอบอาหารที่สะอาด ปลอดภัยจากสารพิษสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันสาหรับนักเรียน เป็นต้น ปัญหา 1. นักเรียนขาดความกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมส่งเสริมความเป็นไทย เช่น กิจกรรม เคารพธงชาติหน้าเสาธง กิจกรรมวันภาษาไทย เป็นต้น 2. นักเรียนไม่ให้ความสาคัญกับกระบวนประชาธิปไตย 3. นักเรียนขาดทักษะ และไม่เห็นความสาคัญของการอยู่แบบพอเพียง วิธีดาเนินการแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมให้นักเรียนเห็นความสาคัญของกิจกรรมหน้าเสาธง ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีความรักในชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย ด้วยการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้สภานักเรียน ให้มีบทบาทหน้าที่ที่เป็นไปตามกระบวนการประชาธิปไตย 3. ส่งเสริมให้คณะกรรมการนักเรียนมีบทบาทมากขึ้นในการควบคุม กากับดูแล พัฒนา และมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียนเช่น ระเบียบวินัย ความสะอาด เป็นต้น 4. ส่งเสริม ทาความเข้าใจและเพิ่มทักษะในการอยู่แบบพอเพียงให้แก่ผู้เรียน เช่น โครง ออมวันละ 1 บาท โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ เป้าหมาย ผู้เรียนมีความสานึกรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ร่วมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็น ไทย เห็นความสาคัญของประชาธิปไตยและดารงชีวิตอยู่แบบพอเพียง มีทักษะการดารงชีวิตแบบ พอเพียงผ่านการออม และกิจกรรมทางเกษตร
  • 10. จุดเน้นที่ 5 ส่งเสริมและพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน สภาพทั่วไป โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยจัดทาข้อมูลช่วยนักเรียนเป็น ประจาทุกปี แต่ยังการดูแลเข้าถึงนักเรียนยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร อีกทั้งข้อมูลที่จัดเก็บยังไม่สามารถ นาไปใช้กับงานส่วนอื่นๆได้ เช่น งานทะเบียน งานประจาชั้น ปัญหา 1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ 2. ข้อมูลที่ใช้ในปีก่อนหน้าไม่สามารถนามาใช้ในปีถัดไปได้ 3. บุคลากรไม่สามารถนาส่งข้อมูลที่ได้ทาการสารวจในปีนั้นๆส่งต่อไปยังปีถัดไปได้ 4. ขาดการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบ 5. บุคลากรขาดความเข้าใจและขาดความตระหนักเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน วิธีดาเนินการแก้ปัญหา 1. ควบคุม ติดตาม ส่งเสริม ให้บุคลากรเร่งรัดทาความรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลให้ครบ ทุกคน 2. พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้มีระบบ สามารถนาข้อมูล ไปใช้ในปีถัดไปได้ 3. แนะนา ขยายผลเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้จากการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลว่า ข้อมูลดังกล่าว เป็นข้อมูลหลักที่จะทาให้ทราบถึงสภาพปัญหา และจะทาให้แก้ปัญหาต่างๆของผู้เรียน ได้อย่างครอบคลุม 4. สร้างความตระหนักให้บุคลากรให้เห็นความสาคัญเป็นอย่างมากของระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน เป้าหมาย ครูและบุคลากรรู้จักนักเรียนทุกคนและสามารถนาข้อมูลนักเรียนมาวิเคราะห์และช่วยเหลือ นักเรียน ทั้งในด้านการเรียน และสภาพร่ายกาย จิตใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 11. จุดเน้นที่ 6 ส่งเสริมระบบการช่วยเหลือครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความก้าวหน้ามั่นคงใน วิชาชีพและเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน สภาพปัจจุบัน ครูที่ปฏิบัติงานสอนในโรงเรียนมหาธิคุณวิทยาทุกคน ปฏิบัติงานได้อย่างเต็ม ความสามารถ แต่ยังขาดประสบการณ์ในงานที่ได้รับมอบหมายอื่นนอกเหนือจากภาระงานสอนซึ่งเป็นงานที่ ขาดไม่ได้ ปัญหา 1. ครูมีความชานาญในภาระงานที่ได้รับมอบหมายน้อย 2. ขาดการจัดเก็บเอกสารทางการศึกษาที่เป็นระบบแบบแผน 3. ขาดการนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้เพื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน 4. มีอัตราการย้ายสูง วิธีการดาเนินแก้ไขปัญหา 1. ดาเนินงานโครงการศึกษาดูงาน เพื่อนาระบบแบบแผน ที่มีประโยชน์กลับมา ปรับปรุง พัฒนาภาระงานของตน 2. อบรมศึกษาดูงานเกี่ยวกับงานสารบรรณ เพื่อที่จะทาให้บุคลากรสามารถจัดเก็บ ภาระงานของตนอย่างเป็นระบบ 3. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนเพื่อให้บุคลากร สามารถนาข้อมูล สารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในปีถัดไปได้ 4. ส่งเสริมสวัสดิการ สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรมีความศรัทธา รักท้องถิ่น 5. จัดหางบประมาณเพื่อให้ครูและบุคลากร ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร พัฒนา ตนเองทั้งการศึกษาต่อ การอบรมสัมมนา การศึกษาดูงาน เป้าหมาย 1. ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาในสาขาวิชาชีพที่ถนัด ตามความสนใจ 2. สามารถจัดเก็บเอกสารได้อย่างเป็นระบบ 3. นาระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอน 4. มีแรงจูงในในการทางาน โดยไม่มีความกังวลต้องกลับภูมิลาเนา
  • 12. จุดเน้นที่ 7 พัฒนาโรงเรียนคู่ขนานของโรงเรียนดีทุกประเภท (โรงเรียนสู่มาตรฐานสากล, โรงเรียน ในฝันและโรงเรียนดีประจาตาบล) เพื่อสร้างสถานศึกษายุคใหม่ที่สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่สอง สภาพปัจจุบัน โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา เป็นโรงเรียนที่เคยเป็นโรงเรียนต้นแบบ เช่น โรงเรียนต้นแบบยุว เกษตรกร โรงเรียนต้นแบบวิถีพุทธ โรงเรียนต้นแบบห้องสมุดมีชีวิต ปัจจุบันเป็นโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา มีนักเรียน 233 คน ผู้บริหาร 1 คน ครู 14 คน ขาดครู 1 คน เปิดทาการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปัญหา 1. ชุมชนและเขตพื้นที่บริการบางส่วน ขาดความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เนื่องจากอัตราการย้ายออกออกนักเรียน 2. ขาดความต่อเนื่องในการจัดการศึกษา เนื่องจากอัตราการย้ายกลับภูมิลาเนาของครูสูง 3. ใช้สื่อ ICT เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนน้อย วิธีการดาเนินการแก้ไขปัญหา 1. พัฒนาปรับปรุงโรงเรียนตามจุดเน้นของสานักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษา สระแก้วเขต 1 จุดเน้นที่ 1-11 2. พัฒนาปรับปรุงโรงเรียนตามข้อแนะนาของการประเมินของ สมศ.รอบที่ 2 3. พัฒนาปรับปรุงโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนดีประจาตาบล 4. พัฒนาปรับปรุงระบบ ICT เพื่อการเรียนการสอน 5. ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อ ICT และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน เป้าหมาย 1. เป็นโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับ โรงเรียนดีประจาตาบล 2. เป็นโรงเรียนที่สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ ICT และเทคโนโลยีเพื่อการสอน ได้
  • 13. จุดเน้นที่ 8 จัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศพฤติกรรมการบริหารและการจัดการเรียนการสอน เพื่อใช้ ในการเฝ้าระวังและติดตามคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาเป็นรายโรงเรียน สภาพทั่วไป โรงเรียนมหาธิคุณวิทยามีการนาสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการเรียนการสอนมา ใช้งาน ปัญหา ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียน การสอนที่ไม่เป็นระบบ วิธีการดาเนินการแก้ปัญหา จัดทาข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและการเรียนการสอนให้เป็นระบบและเป็นปัจจุบัน เป้าหมาย โรงเรียนมีข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและการเรียนการสอนเป็นระบบและเป็นปัจจุบัน
  • 14. จุดเน้นที่ 9 ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและผ่าน การรับรองมาตรฐาน จากการประเมินคุณภาพภายนอก สภาพปัจจุบัน โรงเรียนมีการจัดทาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ผ่านการประเมิน สมศ.รอบที่ 2 ปัญหา 1. ครูขาดความรู้ความเข้าใจและความตระหนักถึงผลของการประกันคุณภาพภายใน 2. มีระบบประกันคุณภาพภายในที่ไม่เข้มแข็ง วิธีดาเนินการในการแก้ปัญหา 1. สร้างความตระหนัก ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในและ ประกันคุณภาพภายนอก 2. สร้างระบบประกันคุณภาพภายในให้เข้มแข็งและให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพ ภายนอก เป้าหมาย 1. มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง สอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอก 2. ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานจากการประเมินคุณภาพภายนอก
  • 15. จุดเน้นที่ 10 ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารจัดการขององค์คณะบุคคล เครือข่ายสถานศึกษาและผู้ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานเชิงรุก สภาพปัจจุบัน โรงเรี ย นมหาธิ คุ ณ วิท ยา มี ก ารด าเนิน งานที่ เกี่ ย วข้อ งกั บองค์ คณะบุ คคลที่ มี ส่ว นร่ วมในการจั ด การศึกษาของโรงเรียน คือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในส่วนของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนจะมีบทบาท ร่วมในการดาเนินงานของโรงเรียนทุกขั้นตอน เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนจะเน้นที่ความร่วมมือในการดูแล นักเรียนทั้งด้าน ความประพฤติ และสุขภาพอนามัย ส่วนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีบทบาทในการ ส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียน เช่น กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมวันลอยกระทง เป็นต้น ในการ ดาเนินกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เชิงรุก ได้ดาเนินการในหลายรูปแบบ ทั้งการ ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายของโรงเรียนและหมู่บ้านในเขตบริการ การจัดทาวารสาร การจัดแสดงผล งานต่อสาธารณชน และการประชาสัมพันธ์ผ่านการประชุมผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ปัญหา 1. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้น ฐานของโรงเรียนและเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่จะ เสนอความคิ ด เห็ น น้ อ ย มั ก จะบอกว่ า ยกให้ โ รงเรี ย นเป็ น ผู้ ด าเนิ น การเลย โดยให้ เ หตุ ผ ลว่ า คณะครู มี ความสามารถ มีความรู้มากกว่าเขา และสิ่งที่โรงเรียนทาดีและเป็นที่พอใจอยู่แล้ว แต่อยากให้โรงเรียนรายงาน ผล การทางานให้ทราบอย่างต่อเนื่อง 2. การจัดท าวารสารเผยแพร่ผลงานของโรงเรียนทุกสิ้นเดือนไม่สามารถออกได้ตามกาหนดเวลา เพราะครูมีภาระงานมาก ไม่ว่าจะเป็นทั้งงานสอนและงานอื่นๆนอกเหนือจากงานสอน ทาให้ข่าวสารที่จะ ประชาสัมพันธ์ในบางเดือนเกิดความล่าช้า 3. โรงเรียนขาดการประสานงานกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง อันเป็นสาเหตุจากการที่โรงเรียนมีครูย้าย บ่อย ผู้ปกครอง และชุมชน จึงไม่ค่อยมีความสนิทสนม คุ้นเคยกับครูเท่าที่ควร วิธีการดาเนินการแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้มากขึ้นโดยเฉพาะคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียน และเครือข่ายผู้ปกครองโดยการรายงานผลการดาเนินงานให้ชุมชนได้ทราบถึงข่าวสารและความ เคลื่อนไหวของโรงเรียนให้มากที่สุด พร้อมทั้งการเชิญให้เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ ชุม ชนมี ความเข้ า ใจในระบบการท างานของโรงเรียน ทราบความก้ าวหน้าในการพั ฒนาโรงเรีย น อย่ าง ต่อเนื่องและรู้สึกเป็นเจ้าของโรงเรียนร่วมกัน 2. ประสานกับหน่วยงานในชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น เช่น งานวันเด็ก แห่งชาติ งานลอยกระทง เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพั นธ์ระหว่างครู นัก เรีย น ผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษา และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น อีกทั้งในการจัดการเรียนการสอน ควรให้ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้มี
  • 16. ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียนอีกด้วย ซึ่งจะเป็น การสร้างความตระหนักในการสานึกรักบ้านเกิดของนักเรียนอีกทางหนึ่ง 3. ประชาสัมพันธ์ผลงานเชิงรุกหลากหลายช่องทาง ได้แก่ 1. การประชาสัมพันธ์โดยการแจ้งผ่านนักเรียน 2. การประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นการประชุ ม ผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทั้ ง การประชุ ม คณะกรรมการ สถานศึกษา การประชุมผู้ปกครองนักเรียน 3. การประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายของโรงเรียนและของหมู่บ้าน ทุกหมู่ใน เขตบริการ 4. การประชาสัมพันธ์โดยการจัดทาวารสารเผยแพร่ผลการดาเนินงานเดิมทาเป็น วารสารเล็ก ๆ เผยแพร่เดือนละครั้งและทาอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ 5. ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน เป้าหมาย 1. คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนให้ความร่วมมือกับโรงเรียนมากขึ้นโดย เฉพาะ การระดมทรัพ ยากร เนื่อ งจากการประชาสั มพั นธ์ อย่ า งต่อเนื่องและหลากหลาย รูป แบบ ทาให้ทราบว่ า โรงเรียนมีการดาเนินงานจริงและเกิดการพัฒนาอย่างเห็นได้ ชัด จึงให้ความช่วยเหลื ออย่างเต็มที่ และมีการ เสนอความคิดเห็นมากขึ้น 2. โรงเรียนและชุมชนมีการประสานงานกันอย่างต่อเนื่อง และเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น อย่างสม่าเสมอ อีกทั้ง ครู และผู้ปกครองนักเรียนรู้จักกันเพิ่มมากขึ้น 3. การประชาสัมพันธ์ผลงานเชิงรุกอย่างหลากหลายช่องทาง ทาให้ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องทราบผลการ ดาเนินงานของโรงเรียน ส่งผลให้เกิดความเข้าใจและความรู้สึกที่ ดีต่อการดาเนินงานของโรงเรี ยน ต่อคณะครู และผู้บริหารโรงเรียน
  • 17. จุดเน้นที่ 11 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสิ่งแวดล้อม และอานวยความสะดวกด้านที่อยู่อาศัย (บ้านพักครู) และสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของครูและนักเรียน สภาพปัจจุบัน 1. ด้านสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน โรงเรียนมหาธิคุณวิทยาโดยทั่วไปมีความสะอาดร่มรื่น ด้วยร่มเงาของไม้ยืนต้นที่หลากหลายชนิด ภายในโรงเรียนเป็นถนนลูกรัง มีอาคารเรียนจานวน 4 อาคาร และอาคารเอนกประสงค์จานวน 1 อาคาร รั้ว โรงเรียนยังไม่มีการสร้างให้มั่นคงถาวร 2. ด้านที่อยู่อาศัยของครู โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา มีบ้านพักครูจานวน 3 หลัง มีคณะครูพักอาศัยในบ้านพักครู รวม 8 คน สภาพ ภายในทรุดโทรมแต่ยังใช้พักอาศัยได้ 3. ด้านสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา มีส้วมทั้งหมด 5 หลัง หลังที่ 1 ขนาด 4 ที่ หลังที่ 2 ขนาด 4 ที่ หลังที่ 3 ขนาด 4 ที่ และหลังที่ 5 ขนาด 4 ที่ ซึ่งส้วมทุกหลังได้รับการดูแลให้สะอาดและยังอยู่ในสภาพใช้การได้ดี จานวน ส้วมเพียงพอกับจานวนนักเรียน ปัญหา 1. รั้วของโรงเรียนยังไม่ได้สร้างให้มั่นคงถาวรทาให้ไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของบุคลากร และทรัพย์สินของทางราชการ อีกทั้งทาให้ภูมิทัศน์ของโรงเรียนดูไม่สวยงาม ไม่เป็นระเบียบ 2. ถนนที่เป็นถนนลูกรัง ทาให้การสัญจรไม่สะดวก เกิดฝุ่นในฤดูแล้ง เกิดน้าท่วมขังเป็นโคลนตมใน ฤดูฝนและทาความสะอาดได้ยาก 3. บ้านพักครูจานวนไม่เพียงพอ ครูต้องพักอาศัยอยู่รวมกัน ห้องน้าห้องส้วมค่อนข้างทรุดโทรม ทาให้ ไม่สะดวก และไม่มีความสุขจากการพักอาศัยเท่าที่ควร 4. ด้านสุขอนามัย (ส้วมสุขสันต์) โรงเรียนมีจานวนส้วมเพียงพอกับจานวนนักเรียน และมีสภาพใช้ การได้ดีทุกหลัง แต่ยังคงต้องพัฒนาเรื่องความสะอาดต่อไปอย่างต่อเนื่อง วิธีการดาเนินการแก้ไขปัญหา 1. ระดมทรัพยากรจากชุมชนในการสร้างรั้วโรงเรียนเสร็จเรียบร้อยทุกด้าน และระดมทรัพยากรจาก ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการซ่อมแซมและปรับภูมิทัศน์ 2. ระดมทรัพยากรจากชุมชนในการสร้างถนนทางเข้าโรงเรียน 3. ของบประมาณ จากทางราชการในการซ่อมแซมบ้านพักครูและสร้างบ้านพักครูเพิ่มเติม 4. ระดมทรัพยากรจากชุมชนในการซ่อมแซมบ้านพักครูและสร้าง บ้านพักครูเพิ่มเติม 5. มอบหมายคณะครูรับผิดชอบดูแลบริหารจัดการห้องส้วมแต่ละห้องให้สะอาดเรียบร้อยอยู่เสมอ โดยวิธีการ - ออกมาตรการ/ข้อปฏิบัติการใช้ห้องส้วม
  • 18. - จัดนักเรียนดูแลรักษาความสะอาดประจาวัน - จัดนักเรียนเป็นผู้ตรวจความสะอาดของห้องส้วม การ ปิด-เปิดน้าและไฟฟ้า - จัดหาวัสดุในท้องถิ่นใช้ดับกลิ่นในห้องส้วม - จัดหาอุปกรณ์ทาความสะอาดให้เพียงพอ 6. จัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์ทาความสะอาดส้วมสัปดาห์ละ 1 วัน โดยให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีทาความ สะอาดส้วม วิธีการใช้ส้วมที่สะอาดและถูกสุขลักษณะ แก่ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตลอดถึงชุมชน 7. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ส้วม โดยบูรณาการในกลุ่มสาระต่าง ๆ และจัดกิจกรรมส่งเสริมภายใน โรงเรียน เพื่อสร้างลักษณะนิสัยให้เกิดขึ้นกับนักเรียนในการดูแลทาความสะอาดส้วม ดูแลทาความสะอาด ตนเองหลังการใช้ส้วม เป็นต้น เป้าหมาย 1.นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส้วมสุขสันต์ ร้อยละ 100 2.โรงเรียนมีห้องส้วมสุขสันต์ สะอาด และถูกสุขลักษณะ 3.ห้องส้วมโรงเรียนมีความหลากหลายและส่งเสริมบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ 4.โรงเรียนมีส้วมได้มาตรฐานใน 3 เรื่อง คือ สะอาด (Healthy) เพียงพอ (Accessibility) และปลอดภัย (Safety) 5.นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ส้วมอย่างถูกสุขลักษณะ 6.นักเรียน ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดและดาเนินโครงการส้วมสุขสันต์